คำนำ ระบบสุริยะ โดยมแี รงบนั ดำลใจจำกกำรได้ไปดูรำยกำรโทรทศั น์รำยกำร หนึ่ง ซ่ึงเป็ นรำยกำรทเี่ กย่ี วกบั ระบบสุริยะ และทำให้ดฉิ ันสนใจเกยี่ วกบั ระบบสุริยะ จึงนำมำศึกษำค้นคว้ำเพอ่ื เป็ นประโยชน์แก่ผู้อนื่ และเป็ น ควำมรู้เพม่ิ เตมิ ให้กบั ตนเอง ในรำยงำนเล่มนีป้ ระกอบด้วย ระบบสุริยะ กำรสำรวจยุคแรก กำรสำรวจด้วยยำนอวกำศ กำเนิดและววิ ฒั นำกำรของ ระบบสุริยะ และเนือ้ หำสำระควำมรู้เกยี่ วกบั ดวงดำวต่ำงๆ จดั ทำโดย ด.ช.หัสธชัย ปัญญำดี ด.ช.ปิ ยบุตร จนั ทร์ยอด
สารบญั 1 2 คำนำ 3 สำรบัญ 4 ดำวพธุ 5 ดำวศุกร์ (Venus) 6 โลก (Earth) 7 ดำวองั คำร (Mars) 8 ดำวพฤหัสบดี (Jupiter) 9 ดำวเสำร์ (Saturn) 10 ดำวยูเรนัส (Uranus) 11 ดวงอำทิตย์ ดำวพลูโต
ดาวพธุ ดำวพธุ เป็นดาวเคราะห์ที่อยใู่ กลด้ วงอาทิตยม์ ากที่สุด และเป็นดาว เคราะห์ที่เลก็ ท่ีสุดในระบบสุริยะ ใชเ้ วลาโคจรรอบดวงอาทิตย์ 87.969 วนั ดาวพธุ มกั ปรากฏใกล้ หรืออยภู่ ายใตแ้ สงจา้ ของดวงอาทิตยท์ าให้ สงั เกตเห็นไดย้ ากท่ีสุด ดาวพธุ ไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพยี งลาเดียวที่เคยสารวจดาวพธุ ในระยะใกลค้ ือยานมาริเนอร์ 10เม่ือปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974- 1975) และสามารถทาแผนท่ีพ้นื ผวิ ดาวพธุ ไดเ้ พยี ง 40-45% เท่าน้นั ดาวพธุ มีสภาพพ้นื ผวิ ขรุขระเนื่องจากการพงุ่ ชนของอุกกาบาต ไม่ มีดวงจนั ทร์เป็นบริวารและไม่มีแรงโนม้ ถ่วงมากพอท่ีจะสร้างช้นั บรรยากาศ ดาวพธุ มีแกนกลางเป็นเหลก็ ขนาดใหญท่ าใหเ้ กิด สนามแม่เหลก็ ความเขม้ ประมาณ 1 เปอร์เซ็นตข์ องสนามแม่เหลก็ โลก ลอ้ มรอบดาวพธุ ไว้ ช่ือละตินของดาวพธุ (Mercury) มาจากคาเตม็ วา่ Mercurius เทพนา สารของพระเจา้ สญั ลกั ษณ์แทนดาวพธุ คือ ☿ เป็นรูปคทาของเทพเจา้ เมอคิวรี ก่อนศตวรรษท่ี 5 ดาวพธุ มีสองช่ือ คือ เฮอร์เมส เม่ือปรากฏใน เวลาหวั ค่า และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเชา้ มืด เช่ือวา่ พที าโกรัสเป็น คนแรกที่ระบุวา่ ท้งั สองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกนั
ดาวศกุ ร์ ดำวศุกร์ (องั กฤษ: Venus) เป็นดาวเคราะห์ที่อยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดบั ท่ี 2 ดาวศุกร์มีเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางเป็น 3 เท่าของดวงจนั ทร์ และ มีขนาดใหญ่กวา่ ดาวพธุ และดาวองั คาร 2 เท่าตวั ช่ือละตินของดาวศุกร์ (Venus) มาจากเทพแี ห่ง ความรักของโรมนั ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์หิน มีขนาดใกลเ้ คียงกบั โลก บางคร้ังเรียกวา่ \"นอ้ งสาว\" ของโลก แมว้ า่ วงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวง จะเป็นวงรี วงโคจรของดาวศุกร์จดั วา่ เกือบเป็นวงกลม มีความเย้อื งศนู ยก์ ลาง (ความรี) นอ้ ยท่ีสุด สาหรับวตั ถใุ นธรรมชาติ ดาวศุกร์เป็นวตั ถุทอ้ งฟ้ าที่สวา่ งที่สุดเป็นลาดบั ท่ี 3 รองจากดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์ เน่ืองจากดาวศุกร์มีวงโคจรใกลด้ วงอาทิตย์ มากกวา่ โลก จึงมีมุมห่างจากดวงอาทิตยไ์ ม่เกิน 47.8° มองเห็นไดเ้ ฉพาะในเวลา เชา้ มืดหรือหวั ค่าเท่าน้นั ขณะปรากฏในทอ้ งฟ้ าเวลาหวั ค่าทางทิศตะวนั ตก เรียกวา่ \"ดาวประจาเมือง\" และเมื่อปรากฏในทอ้ งฟ้ าเวลาเชา้ มืดทางทิศ ตะวนั ออก เรียกวา่ \"ดาวประกายพรึก\" หรือ \"ดาวรุ่ง\" ชาวบาบิโลนโบราณรู้จกั ดาวศุกร์มาต้งั แต่ราว 1,600 ปี ก่อนคริสตกาล แต่ เช่ือวา่ ดว้ ยความสวา่ งสุกใสของดาวศุกร์ น่าจะเป็นท่ีรู้จกั มาก่อนหนา้ น้นั นาน แลว้ นบั ต้งั แต่ยคุ ก่อนประวตั ิศาสตร์ สญั ลกั ษณ์แทนดาวศุกร์ คือ ♀
โลก โลก (องั กฤษ: Earth) เป็นดาวเคราะห์ลาดบั ท่ีสามจากดวงอาทิตย์ และเป็น วตั ถทุ างดาราศาสตร์เพยี งหน่ึงเดียวท่ีทราบวา่ มีส่ิงมีชีวิต จากการวดั อายดุ ว้ ย กมั มนั ตรังสีและแหล่งหลกั ฐานอ่ืนไดค้ วามวา่ โลกกาเนิดเมื่อประมาณ 4,500 ลา้ นปี ก่อน[24][25][26] โลกมีอนั ตรกิริยะเชิงโนม้ ถว่ งกบั วตั ถุอ่ืนในอวกาศ โดยเฉพาะดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์ ซ่ึงเป็นดาวบริวารถาวรหน่ึงเดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทิตยใ์ ชเ้ วลา 365.26 วนั เรียกวา่ ปี ซ่ึงระหวา่ งน้นั โลก โคจรรอบแกนตวั เองประมาณ 366.26 รอบ[n 4] แกนหมุนของโลกเอียงทาใหเ้ กิดฤดูกาลต่าง ๆ บนผวิ โลก[27] อนั ตรกิริยา ความโนม้ ถ่วงระหวา่ งโลกกบั ดวงจนั ทร์ก่อใหเ้ กิดน้าข้ึนลงมหาสมุทร ทาให้ การหมุนบนแกนของโลกมีเสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลก [28] โลกเป็นดาวเคราะห์ท่ีมีความหนาแน่นสูงสุดในระบบสุริยะและใหญ่สุดใน ดาวเคราะห์คลา้ ยโลก 4 ดวง ธรณีภาคของโลกแบ่งออกไดเ้ ป็นหลาย ๆ ส่วน เรียกวา่ แผน่ ธรณีภาค ซ่ึง ยา้ ยท่ีตดั ผา่ นพ้ืนผิวตลอดเวลาหลายลา้ นปี ร้อยละ 71 ของพ้ืนผิวโลกปกคลมุ ดว้ ยน้า ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นมหาสมุทร[29] อีกร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผน่ ดิน ประกอบดว้ ยทวีปและเกาะซ่ึงมีทะเลสาบ แม่น้าและแหลง่ น้าอื่นจานวนมาก กอปรเป็นอุทกภาค บริเวณข้วั โลกท้งั สองปกคลุมดว้ ยน้าแขง็ เป็นส่วนใหญ่ ไดแ้ ก่แผน่ น้าแขง็ แอนตาร์กติก และน้าแขง็ ทะเลของแพน้าแขง็ ข้วั โลก บริเวณ ภายในของโลกยงั คงมีความเคลื่อนไหวโดยมีแก่นช้นั ในซ่ึงเป็นเหลก็ ในสถานะ
ของแขง็ มีแก่นเหลวช้นั นอกซ่ึงกาเนิดสนามแม่เหลก็ และช้นั แมนเทิลพาความ ร้อนท่ีขบั เคลื่อนการแปรสณั ฐานแผน่ ธรณีภาค ภายในพนั ลา้ นปี แรก[30] สิ่งมีชีวิตปรากฏข้ึนในมหาสมุทรและเร่ิมส่ง ผลกระทบต่อช้นั บรรยากาศและผิวดาว เก้ือหนุนใหเ้ กิดการแพร่ขยายของ ส่ิงมีชีวิตท่ีใชอ้ อกซิเจนเช่นเดียวกบั ส่ิงมีชีวติ ที่ไม่ใชอ้ อกซิเจน หลกั ฐาน ธรณีวทิ ยาบางส่วนช้ีวา่ ชีวติ อาจกาเนิดข้ึนเร็วสุด 4.1 พนั ลา้ นปี ก่อน นบั แต่น้นั ตาแหน่งของโลกในระบบสุริยะ คุณสมบตั ิทางกายภาพของโลก และ ประวตั ิศาสตร์ธรณีวิทยาของโลกประกอบกนั ทาใหส้ ิ่งมีชีวติ วิวฒั นาการและ แพร่พนั ธุ์ได[้ 31][32] ในประวตั ิศาสตร์ของโลก ความหลากหลายทางชีวภาพผา่ น ระยะการขยายยาวนาน แต่ถกู ขดั จงั หวะบางคร้ังดว้ ยการสูญพนั ธุ์คร้ังใหญ่ [33] กวา่ ร้อยละ 99 ของสปี ชีส์ท้งั หมดท่ีเคยอยอู่ าศยั บนโลกน้นั สูญพนั ธุ์ไปแลว้ [34][35] ประมาณการจานวนสปี ชีส์บนโลกปัจจุบนั มีหลากหลาย[36][37][38] และสปี ชีส์ส่วนใหญ่ยงั ไม่มีผอู้ ธิบาย[39] มนุษยก์ วา่ 7.6 ลา้ นคนอาศยั อยบู่ นโลกและ อาศยั ชีวมณฑลและทรัพยากรธรรมชาติของโลกเพอ่ื การอยรู่ อด มนุษยพ์ ฒั นา สงั คมและวฒั นธรรมหลากหลาย ในทางการเมือง โลกมีรัฐเอกราชกวา่ 200 รัฐ
ดาวองั คาร ดำวองั คำร (องั กฤษ: Mars) เป็นดาวเคราะห์ลาดบั ท่ีสี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาว เคราะห์เลก็ ที่สุดอนั ดบั ที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพธุ ในภาษาองั กฤษได้ ช่ือตามเทพเจา้ แห่งสงครามของโรมนั มกั ไดร้ ับขนานนาม \"ดาวแดง\" เพราะมี ออกไซดข์ องเหลก็ ดาษด่ืนบนพ้ืนผวิ ทาใหม้ ีสีออกแดงเร่ือ[15] ดาวองั คารเป็น ดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลกั ษณะพ้นื ผวิ คลา้ ยคลึงกบั ท้งั หลมุ อกุ กาบาตบนดวงจนั ทร์ และภเู ขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพดิ น้าแขง็ ข้วั ดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตวั เองและวฏั จกั รฤดกู าลของดาว องั คารกม็ ีความคลา้ ยคลึงกบั โลกซ่ึงความเอียงก่อใหเ้ กิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาว องั คารเป็นที่ต้งั ของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวองั คารและสูงสุด อนั ดบั สองในระบบสุริยะเท่าที่มีการคน้ พบ และเป็นที่ต้งั ของเวลส์มาริเน ริส แคนยอนขนาดใหญ่อนั ดบั ตน้ ๆ ในระบบสุริยะ แอง่ บอเรียลิสท่ีราบเรียบ ในซีกเหนือของดาวปกคลมุ กวา่ ร้อยละ 40 ของพ้ืนที่ท้งั หมดและอาจเป็น ลกั ษณะการถกู อุกกาบาตชนคร้ังใหญ่[16][17] ดาวองั คารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซ่ึงต่างกม็ ีขนาดเลก็ และมีรูปร่างบิดเบ้ียว ท้งั ค่อู าจเป็น ดาวเคราะห์นอ้ ยที่ถกู จบั ไว[้18][19] คลา้ ยกบั ทรอยของดาวองั คาร เช่น 5261 ยเู รกา ก่อนหนา้ การบินผา่ นดาวองั คารที่สาเร็จคร้ังแรกของ มาริเนอร์ 4 เม่ือปี 1965 หลายคนคาดวา่ มีน้าในรูปของเหลวบนพ้นื ผวิ ดาวองั คาร แนวคิดน้ีอาศยั ผลต่างเป็นคาบที่สงั เกตไดข้ องรอยมืดและรอยสวา่ ง โดยเฉพาะในละติจูดข้วั ดาวซ่ึงดเู ป็นทะเลและทวีป บางคนแปลความรอยมืดริ้วลายขนานเป็นร่องทด น้าสาหรับน้าในรูปของเหลว ภายหลงั มีการอธิบายวา่ ภมู ิประเทศเส้นตรง
เหล่าน้นั เป็นภาพลวงตา แมว้ า่ หลกั ฐานทางธรณีวิทยาท่ีภารกิจไร้คนบงั คบั รวบรวมช้ีวา่ คร้ังหน่ึงดาวองั คารเคยมีน้าปริมาณมากปกคลุมบนพ้ืนผวิ ณ ช่วง ใดช่วงหน่ึงในระยะตน้ ๆ ของอาย[ุ 20] ในปี 2005 เรดาร์เผยวา่ มีน้าแขง็ น้า (water ice) ปริมาณมากข้วั ท้งั สองของดาว[21] และท่ีละติจดู กลาง[22][23] ยานสารวจ ภาคพ้ืนดาวองั คารสปิ ริต พบตวั อยา่ งสารประกอบเคมีที่มีโมเลกลุ น้าเม่ือเดือน มีนาคม 2007 ส่วนลงจอดฟี นิกซ์ พบตวั อยา่ งน้าแขง็ น้าโดยตรงในดินส่วนต้ืน ของดาวองั คารเมื่อวนั ที่ 31 กรกฎาคม 2008[24] มียานอวกาศท่ีกาลงั ปฏิบตั ิงานอยเู่ จด็ ลา หา้ ลาอยใู่ นวงโคจร ไดแ้ ก่ 2001 มาร์สโอดิสซี มาร์สเอก็ ซ์เพรส มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เมเวน็ และ มาร์สออร์บิเตอร์มิชชัน และสองลาบนพ้ืนผวิ ไดแ้ ก่ ยานสารวจภาคพ้ืนดาว องั คารออปพอร์ทูนิตี และยานมาร์สไซแอนซ์แลบอราทอรีคิวริออซิตี การ สงั เกตโดย มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เปิ ดเผยวา่ มีความเป็นไปไดท้ ่ีจะมี น้าไหลในช่วงเดือนที่ร้อนที่สุดบนดาวองั คาร[25] ในปี 2013 ยานคิวริออซิตี ของ นาซาคน้ พบวา่ ดินของดาวองั คารมีน้าเป็นองคป์ ระกอบระหวา่ งร้อยละ 1.5 ถึง 3 โดยมวล แมว้ า่ น้าน้นั จะติดอยกู่ บั สารประกอบอ่ืน ทาใหไ้ ม่สามารถเขา้ ถึงได้ โดยอิสระ[26] กาลงั มีการสืบคน้ เพ่ือประเมินศกั ยภาพความสามารถอยอู่ าศยั ไดใ้ นอดีต ของดาวองั คาร ตลอดจนความเป็นไปไดท้ ่ีจะมีสิ่งมีชีวิตหลงเหลืออยู่ มีการ สืบคน้ บริเวณน้นั โดยส่วนลงจอด ไวกิง โรเวอร์ สปิ ริต และออปพอร์ทูนิ ตี ส่วนลงจอดฟี นิกซ์ และโรเวอร์ คิวริออซิตี[27][28] มีการวางแผนภารกิจทางชีว ดาราศาสตร์ไวแ้ ลว้ ซ่ึงรวม มาร์ ส 2020 และเอก็ โซมาร์ สโรเวอร์ [29][30] ดาวองั คารสามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยตาเปล่าจากโลกโดยง่ายซ่ึงจะปรากฏ ใหเ้ ห็นเป็นสีออกแดง มีความส่องสวา่ งปรากฏไดถ้ ึง −2.91[6] ซ่ึงเป็นรองเพยี ง
ดาวพฤหสั บดี ดาวศุกร์ ดวงจนั ทร์ และดวงอาทิตย์ กลอ้ งโทรทรรศน์ ภาคพ้ืนดินโดยทวั่ ไปมีขีดจากดั การมองเห็นรายละเอียดของภูมิประเทศขนาด ประมาณ 300 กิโลเมตรเม่ือโลกและดาวองั คารเขา้ ใกลก้ นั มากท่ีสุดอนั เป็นผล จากบรรยากาศของโลก[
ดวงอาทิตย์ ดวงอำทิตย์เป็นดาวฤกษ์ ณ ใจกลางระบบสุริยะ เป็นพลาสมาร้อนทรง เกือบกลมสมบูรณ์ โดยมีการเคลื่อนที่พาซ่ึงผลิตสนามแม่เหลก็ ผา่ น กระบวนการไดนาโม ปัจจุบนั เป็นแหลง่ พลงั งานสาคญั ท่ีสุดสาหรับสิ่งมีชีวิต บนโลก มีเส้นผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ 1.39 ลา้ นกิโลเมตร ใหญ่กวา่ โลก 109 เท่า และมีมวลประมาณ 330,000 เท่าของโลก คิดเป็นประมาณร้อยละ 99.86 ของมวลท้งั หมดของระบบสุริยะ มวลประมาณสามในสี่ของดวงอาทิตยเ์ ป็น ไฮโดรเจน ส่วนท่ีเหลือเป็นฮีเลียมเป็นหลกั โดยมีปริมาณธาตุหนกั กวา่ เลก็ นอ้ ย รวมท้งั ออกซิเจน คาร์บอน นีออนและเหลก็ ดวงอาทิตยเ์ ป็นดาวฤกษล์ าดบั หลกั ระดบั จี (G2V) ตามการจดั ประเภทดาว ฤกษต์ ามระดบั สเปกตรัม โดยมกั ถูกเรียกอยา่ งไม่เป็นทางการวา่ \"ดาวแคระ เหลือง\" ดวงอาทิตยก์ ่อตวั ข้ึนเม่ือประมาณ 4.6 พนั ลา้ นปี ก่อน จากการยบุ ของ แรงโนม้ ถว่ ง (gravitational collapse) ของสสารภายในบริเวณกลุ่มเมฆโมเลกุล ขนาดใหญ่ สสารน้ีส่วนใหญ่รวมอดั แน่นอยทู่ ี่ใจกลาง ส่วนท่ีเหลือบีบตวั ลงลง เป็นแผน่ โคจรซ่ึงกลายมาเป็นระบบสุริยะ มวลใจกลางร้อนและหนาแน่นมาก จนเร่ิมเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิ วชนั่ ณ แก่นดาว ซ่ึงเชื่อวา่ เป็นกระบวนการเกิด ดาวฤกษส์ ่วนใหญ่ ดวงอาทิตยม์ ีอายมุ าไดป้ ระมาณคร่ึงอายขุ ยั แลว้ ไม่มีการเปล่ียนแปลงมาก นกั เป็นเวลากวา่ 4 พนั ลา้ นปี มาแลว้ และคาดวา่ จะอยใู่ นภาวะค่อนขา้ งเสถียรไป เช่นน้ีอีก 5 พนั ลา้ นปี ในแต่ละวินาที ปฏิกิริยาหลอมนิวเคลียส (ฟิ วชนั ) ของ ดวงอาทิตย์ สามารถเปลี่ยนไฮโดรเจนอะตอมปริมาณ 600 ลา้ นตนั ให้
กลายเป็นฮีเลียม และเปลี่ยนสสาร 4 ลา้ นตนั ใหเ้ ป็นพลงั งานจากปฏิกิริยา ดงั กล่าว กวา่ พลงั งานน้ีจะหนีออกจากแกนดวงอาทิตยม์ าสู่พ้ืนผิวได้ ตอ้ งใช้ เวลานานราว 10,000 ถึง 170,000 ปี ในอีกราว 5 พนั ลา้ นปี ขา้ งหนา้ เม่ือ ปฏิกิริยาฟิ วชนั ไฮโดรเจนในแก่นของดวงอาทิตยล์ ดลงถึงจุดที่ไม่อยใู่ นดุลย ภาพอทุ กสถิตต่อไป แก่นของดวงอาทิตยจ์ ะมีความหนาแน่นและอณุ หภูมิ เพิม่ ข้ึนส่วนช้นั นอกของดวงอาทิตยจ์ ะขยายออกจนสุดทา้ ยเป็นดาวยกั ษแ์ ดง มี การคานวณวา่ ดวงอาทิตยจ์ ะใหญ่พอกลืนวงโคจรปัจจุบนั ของดาวพธุ และดาว ศกุ ร์ และทาใหโ้ ลกอาศยั อยไู่ ม่ได้ มนุษยท์ ราบความสาคญั ของดวงอาทิตยท์ ี่มีโลกมาต้งั แต่สมยั ก่อน ประวตั ิศาสตร์ และบางวฒั นธรรมถือดวงอาทิตยเ์ ป็นเทวดา การหมุนของโลก และวงโคจรรอบดวงอาทิตยข์ องโลกเป็นรากฐานของปฏิทินสุริยคติ ซ่ึงเป็น ปฏิทินที่ใชก้ นั แพร่หลายในปัจจุบนั
พลูโต ดำวพลูโต (องั กฤษ: Pluto; ดชั นีดาวเคราะห์นอ้ ย: 134340 พลูโต) เป็นดาว เคราะห์แคระในแถบไคเปอร์ วงแหวนของวตั ถุพน้ ดาวเนปจูน[8] โดยเป็นวตั ถุ แถบไคเปอร์ชิ้นแรกท่ีถกู คน้ พบ มนั มีขนาดใหญ่ที่สุดและมีมวลมากท่ีสุดเป็น อนั ดบั สองในบรรดาดาวเคราะห์แคระท่ีรู้จกั ในระบบสุริยะ และยงั เป็นวตั ถุที่มี ขนาดใหญ่เป็นอนั ดบั ท่ี 9 และมวลมากเป็นอนั ดบั ท่ี 10 ในระบบสุริยะที่โคจร รอบดวงอาทิตย์ ดาวพลโู ตเป็นวตั ถุแถบไคเปอร์ที่ใหญ่ท่ีสุดโดยปริมาตร แต่มี มวลนอ้ ยกว่าอีริส ซ่ึงเป็นวตั ถุในแถบหินกระจาย ดาวพลโู ตมีลกั ษณะ เหมือนกบั วตั ถุอ่ืน ๆ ในบริเวณเดียวกนั กล่าวคือ ประกอบไปดว้ ยหินและ น้าแขง็ เป็นส่วนใหญ่[9] มีมวลและปริมาตรประมาณ 1 ใน 6 และ 1 ใน 3 ของ ดวงจนั ทร์ตามลาดบั วงโคจรของดาวพลโู ตมีความเย้อื งศนู ยก์ ลางมาก อยทู่ ่ี 30 ถึง 49 หน่วยดาราศาสตร์ (4.4 – 7.4 พนั ลา้ นกิโลเมตร) จากดวงอาทิตย์ หมายความวา่ เม่ือดาวพลโู ตอยใู่ นตาแหน่งท่ีใกลด้ วงอาทิตยม์ ากท่ีสุด มนั จะอยู่ ใกลก้ วา่ วงโคจรของดาวเนปจูนเสียอีก แต่เน่ืองดว้ ยการส่นั พอ้ งของวงโคจร ทา ใหด้ าวเคราะห์ท้งั สองดวงไม่สามารถโคจรมาชนกนั ได้ ในปี พ.ศ. 2557 ดาว พลโู ตมีระยะห่างจากดวงอาทิตยป์ ระมาณ 32.6 หน่วยดาราศาสตร์ แสงจากดวง อาทิตยใ์ ชเ้ วลาประมาณ 5.5 ชวั่ โมง ถึงจะไปถึงดาวพลโู ตที่ระยะทางเฉล่ีย (39.5 หน่วยดาราศาสตร์) ดาวพลโู ตถกู คน้ พบในปี พ.ศ. 2473 โดยไคลด์ ทอมบอ และถูกจดั ใหเ้ ป็น ดาวเคราะห์ดวงที่ 9 ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ สถานะการเป็นดาวเคราะห์ของมนั เริ่มเป็นท่ีสงสยั เมื่อมีการคน้ พบวตั ถุประเภทเดียวกนั จานวนมากซ่ึงถกู คน้ พบ
ในภายหลงั ในบริเวณแถบไคเปอร์ ความรู้ท่ีวา่ ดาวพลโู ตเป็นดาวเคราะห์หิน ขนาดใหญ่ที่เป็นน้าแขง็ เริ่มถกู คดั คา้ นจากนกั ดาราศาสตร์หลายคนที่เรียกร้อง ใหม้ ีการจดั สถานะของดาวพลโู ตใหม่ ในปี พ.ศ. 2548 มีการคน้ พบอีริส วตั ถุ ในแถบหินกระจาย ซ่ึงมีขนาดใหญ่กวา่ ดาวพลโู ต 27% ซ่ึงทาใหส้ หพนั ธ์ดารา ศาสตร์สากล (IAU) จดั การประชุมซ่ึงเกี่ยวกบั การต้งั \"นิยาม\" ของดาวเคราะห์ ข้ึนมาคร้ังแรก ในปี เดียวกนั หลงั สิ้นสุดการประชุม ดาวพลโู ตถกู ลดสถานะให้ เป็นกลุม่ \"ดาวเคราะห์แคระ\"[10] แต่ยงั มีนกั ดาราศาสตร์บางคนที่ยงั คงจดั ใหด้ าว พลโู ตเป็นดาวเคราะห์[11] ดาวพลโู ตมีดาวบริวารที่ทราบแลว้ 5 ดวง ไดแ้ ก่ แครอน (มีขนาดใหญ่ ที่สุด โดยมีเส้นผา่ นศูนยก์ ลางเป็นคร่ึงหน่ึงของดาวพลโู ต) สติกซ์ นิกซ์ เคอร์ เบอรอส และไฮดรา[12] บางคร้ังดาวพลโู ตและแครอนถูกจดั เป็นระบบดาว คู่ เนื่องจากจุดศนู ยก์ ลางมวลของวงโคจรไม่ไดอ้ ยใู่ นดาวดวงใดดวงหน่ึงเฉพาะ [13] ไอเอยยู งั ไม่มีการใหค้ านิยามของระบบดาวเคราะห์แคระคู่อยา่ งเป็นทางการ และแครอนกลายเป็นดาวบริวารของดาวพลโู ตอยา่ งเป็นทางการแลว้ [14] ใน เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2559 นกั ดาราศาสตร์ประกาศวา่ บริเวณสีน้าตาลแดงท่ีข้วั โลกของแครอนน้นั มีองคป์ ระกอบของโทลีน สารประกอบอินทรียข์ นาดใหญ่ ท่ีอาจเป็นตน้ กาเนิดของส่ิงมีชีวิต และผลิตไดจ้ ากมีเทน ไนโตรเจน และแก๊สท่ี เก่ียวขอ้ งซ่ึงปลอ่ ยออกมาจากช้นั บรรยากาศของดาวพลโู ต และเคลื่อนที่เป็น ระยะทางกวา่ 19,000 กิโลเมตร รอบดาวบริวาร[15] ในวนั ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ยานอวกาศนิวฮอไรซนั ส์กลายเป็นยาน อวกาศลาแรกที่บินผา่ นดาวพลโู ตสาเร็จ[16][17][18]ระหวา่ งเสน้ ทางนิวฮอไรซนั ส์ก็ ไดเ้ กบ็ ขอ้ มลู ต่าง ๆ เกี่ยวกบั ดาวพลโู ตและดาวบริวารของมนั ไปดว้ ย[8][19][20][21]
ดาวพฤหสั ดำวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ท่ีอยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดบั ที่ 5 และ เป็นดาวเคราะห์ท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ นอกจากดาวพฤหสั บดี ดาว เคราะห์แกส๊ ดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะไดแ้ ก่ ดาวเสาร์ ดาวยเู รนสั และดาว เนปจูน ชื่อละตินของดาวพฤหสั บดี (Jupiter) มาจากเทพเจา้ โรมนั สัญลกั ษณ์ แทนดาวพฤหสั บดี คือ ♃ เป็นสายฟ้ าของเทพเจา้ ซุส ดาวพฤหสั บดีมีมวลสูงกวา่ มวลของดาวเคราะห์อื่นรวมกนั ราว 2.5 เท่า ทา ใหศ้ นู ยร์ ะบบมวลระหวา่ งดาวพฤหสั บดีกบั ดวงอาทิตย์ อยเู่ หนือผวิ ดวงอาทิตย์ (1.068 เท่าของรัศมีดวงอาทิตย์ เม่ือวดั จากศนู ยก์ ลางดวงอาทิตย)์ ดาวพฤหสั บดี หนกั วา่ โลก 318 เท่า เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางยาวกวา่ โลก 11 เท่า และมีปริมาตรคิด เป็น 1,300 เท่าของโลก เชื่อกนั วา่ หากดาวพฤหสั บดีมีมวลมากกวา่ น้ีสัก 60-70 เท่า อาจเพียงพอท่ีจะใหเ้ กิดปฏิกิริยานิวเคลียร์จนกลายเป็นดาวฤกษไ์ ด้ ดาวพฤหสั บดีหมุนรอบตวั เองดว้ ยอตั ราเร็วสูงท่ีสุด เมื่อเทียบกบั ดาว เคราะห์ดวงอ่ืนในระบบสุริยะ ทาใหม้ ีรูปร่างแป้ นเมื่อดูผา่ นกลอ้ งโทรทรรศน์ นอกจากช้นั เมฆที่ห่อหุม้ ดาวพฤหสั บดี ร่องรอยท่ีเด่นชดั ท่ีสุดบนดาวพฤหสั บดี คือ จุดแดงใหญ่ ซ่ึงเป็นพายหุ มุนที่มีขนาดใหญ่กวา่ โลก โดยทว่ั ไป ดาวพฤหสั บดีเป็นวตั ถทุ ่ีสวา่ งที่สุดเป็นอนั ดบั ที่ 4 ในทอ้ งฟ้ า (รองจากดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และดาวศุกร์ อยา่ งไรกต็ าม บางคร้ังดาวองั คาร กป็ รากฏสวา่ งกวา่ ดาวพฤหสั บดี) จึงเป็นท่ีรู้จกั มาต้งั แต่ยคุ ก่อนประวตั ิศาสตร์ การคน้ พบดาวบริวารขนาดใหญ่ 4 ดวง ไดแ้ ก่ ไอโอ, ยโู รปา, แกนีมีด และคลั
ลิสโต โดยกาลิเลโอ กาลิเลอี เมื่อ ค.ศ. 1610 เป็นการคน้ พบวตั ถุที่ไม่ไดโ้ คจร รอบโลกเป็นคร้ังแรก นบั เป็นจุดที่สนบั สนุนทฤษฎีดวงอาทิตยเ์ ป็นศนู ยก์ ลางที่ เสนอโดยโคเปอร์นิคสั การออกมาสนบั สนุนทฤษฎีน้ีทาใหก้ าลิเลโอตอ้ งเผชิญ กบั การไต่สวน ดาวพฤหสั บดี หมุนรอบตวั เองใชเ้ วลา 10 ชว่ั โมง
ดาวเสาร์ ดำวเสำร์ (องั กฤษ: Saturn) เป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 6 จากดวง อาทิตย์ ถดั จากดาวพฤหสั บดี เป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่เป็นอนั ดบั 2 ของระบบสุริยะ รองจาก ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์เป็นดาวแก๊สยกั ษท์ ่ีมีรัศมีเฉลี่ย มากกวา่ โลกประมาณเกา้ เท่า[3][4] แมว้ า่ จะมีความหนาแน่นเป็นหน่ึงในแปด ของโลก แต่มวลของมนั มีมากกวา่ โลกถึง 95 เท่า[5][6][7] ดาวเสาร์ต้งั ชื่อตาม เทพโรมนั แห่งการเกษตร สญั ลกั ษณ์ทางดาราศาสตร์ของดาวเสาร์ (♄) แทน เคียวของเทพเจา้ ดาวเสาร์มีรูปร่างป่ องออกตามแนวเสน้ ศูนยส์ ูตร ท่ีเรียกวา่ ทรงกลมแป้ น (oblate spheroid) เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางตามแนวข้วั ส้ันกวา่ ตามแนว เส้นศนู ยส์ ูตรเกือบ 10% เป็นผลจากการหมุนรอบตวั เองอยา่ งรวดเร็ว ดาว เคราะห์ดวงอ่ืนๆ กม็ ีลกั ษณะเป็นทรงกลมแป้ นเช่นกนั แต่ไม่มากเท่าดาวเสาร์ ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะ ท่ีมีความหนาแน่นเฉลี่ย นอ้ ยกวา่ น้า (0.70 กรัม/ลกู บาศกเ์ ซนติเมตร) อยา่ งไรกต็ าม บรรยากาศช้นั บนของดาวเสาร์มีความหนาแน่นนอ้ ยกวา่ น้ี ขณะท่ีที่แกนมีความหนาแน่น มากกว่าน้า วงแหวนของดาวเสาร์ประกอบไปดว้ ย เศษหินและน้าแขง็ ขนาดเลก็ เรียงตวั อยใู่ นระนาบเดียวกนั และวงแหวนของดาวเสาร์กป็ ระกอบไปดว้ ย วง แหวนยอ่ ยๆมากมาย ความจริงแลว้ วงแหวนดาวเสาร์น้นั บางมาก โดยมีความ หนาเฉลี่ยเพยี ง 500 กิโลเมตรเท่าน้นั แต่เศษวตั ถุในวงแหวนมีความสามารถ ในการสะทอ้ นแสงดี และกวา้ งกวา่ 80,000 กิโลเมตร จึงสามารถสงั เกตได้ จากโลกของเราไดไ้ ม่ดีนกั
ดาวยเู รนสั ดำวยูเรนัส (ภาษาองั กฤษ:Uranus ยเู รนสั หรือ มฤตยู) เป็นดาว เคราะห์ท่ีอยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดบั ท่ี 7 ในระบบสุริยะ จดั เป็นดาว เคราะห์แก๊ส มีเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 50,724 กิโลเมตร นบั ไดว้ า่ มีขนาดใหญ่ เป็นอนั ดบั ท่ี3 ในระบบสุริยะของเรา ยเู รนสั ถกู ต้งั ช่ือตามเทพเจา้ ยเู รนสั (Ouranos) ของกรีก สัญลกั ษณ์แทนดาวยเู รนสั คือ หรือ (ส่วน ใหญ่ใชใ้ นดาราศาสตร์) ช่ือไทยของยเู รนสั คือ ดำวมฤตยู ผคู้ น้ พบดาวยเู รนสั คือ เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล(Sir William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781) ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) นกั ดาราศาสตร์จากหอดูดาว ไคเปอร์แอร์บอร์น (James L. Elliot, Edward W. Dunham, and Douglas J. Mink using the Kuiper Airborne Observatory) คน้ พบวา่ ดาวยเู รนสั มี วง แหวนจางๆโดยรอบ และเรากไ็ ดเ้ ห็นรายละเอียด ของดาวยเู รนสั พร้อมท้งั วงแหวน และดวง จนั ทร์บริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เม่ือยานวอยเอเจอร์ 2 (Voyager 2) เคล่ือนผา่ น
แหลงอา้ งอิง ระบบสุริยะ (องั กฤษ: Solar System) ประกอบดว้ ยดวงอาทิตยแ์ ละวตั ถุอื่น ๆ ท่ีโคจรรอบดวงอาทิตยเ์ น่ืองจากแรงโนม้ ถ่วง ไดแ้ ก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกบั ดวงจนั ทร์บริวารท่ีคน้ พบแลว้ 166 ดวง[5] ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกบั ดวงจนั ทร์ บริวารที่คน้ พบแลว้ 4 ดวง กบั วตั ถขุ นาดเลก็ อื่น ๆ อีกนบั ลา้ นชิ้น ซ่ึง รวมถึง ดาวเคราะห์นอ้ ย วตั ถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเกด็ ดาว และฝ่ นุ ระหวา่ งดาวเคราะห์ โดยทว่ั ไปแลว้ จะแบ่งยา่ นต่าง ๆ ของระบบสุริยะ นบั จากดวงอาทิตย์ ออกมาดงั น้ีคือ ดาวเคราะห์ช้นั ในจานวน 4 ดวง แถบดาวเคราะห์นอ้ ย ดาว เคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจานวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซ่ึงประกอบดว้ ย วตั ถทุ ่ีเยน็ จดั เป็นน้าแขง็ พน้ จากแถบไคเปอร์ออกไปเป็นเขตแถบจาน กระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีท่ีซ่ึงลมสุริยะสิ้นกาลงั ลง เน่ืองจากมวลสารระหวา่ งดวงดาว) และพน้ ไปจากน้นั คือยา่ นของเมฆออร์ต กระแสพลาสมาท่ีไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผต่ วั ไปทวั่ ระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ข้ึนในสสารระหวา่ งดาวเรียกกนั วา่ เฮลิโอส เฟี ยร์ ซ่ึงขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย ดาวเคราะห์ช้นั เอกท้งั 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลาดบั จากใกลด้ วงอาทิตย์ ท่ีสุดออกไป มีดงั น้ีคือ ดาวพธุ ดาวศุกร์ โลก ดาวองั คาร ดาวพฤหสั บดี ดาว เสาร์ ดาวยเู รนสั และดาวเนปจูน นบั ถึงกลางปี ค.ศ. 2008 วตั ถุขนาดยอ่ มกว่าดาวเคราะห์จานวน 5 ดวง ไดร้ ับการจดั ระดบั ใหเ้ ป็นดาวเคราะห์แคระ ไดแ้ ก่ ซีรีสในแถบดาวเคราะห์นอ้ ย
กบั วตั ถอุ ีก 4 ดวงที่โคจรรอบดวงอาทิตยอ์ ยใู่ นยา่ นพน้ ดาวเนปจนู คือ ดาว พลโู ต (ซ่ึงเดิมเคยถกู จดั ระดบั ไวเ้ ป็นดาวเคราะห์) เฮาเมอา มาคีมาคี และ อีรีส มีดาวเคราะห์ 6 ดวงและดาวเคราะห์แคระ 3 ดวงที่มีดาวบริวารโคจรอยู่ รอบ ๆ เราเรียกดาวบริวารเหลา่ น้ีวา่ \"ดวงจนั ทร์\" ตามอยา่ งดวงจนั ทร์ของโลก นอกจากน้ีดาวเคราะห์ช้นั นอกยงั มีวงแหวนดาวเคราะห์อยรู่ อบตวั อนั ประกอบดว้ ยเศษฝ่ นุ และอนุภาคขนาดเลก็ สาหรับคาวา่ ระบบดาวเคราะห์ ใชเ้ มื่อกล่าวถึงระบบดาวโดยทว่ั ไปท่ีมี วตั ถุต่าง ๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ คาวา่ \"ระบบสุริยะ\" ควรใชเ้ ฉพาะกบั ระบบดาว เคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิก และไม่ควรเรียกวา่ \"ระบบสุริยจกั รวาล\" อยา่ งท่ี เรียกกนั ติดปาก เนื่องจากไม่เก่ียวขอ้ งกบั คาวา่ \"จกั รวาล\" ตามนยั ท่ีใชใ้ น ปัจจุบนั
จดั ทาโดย ด.ช.หสั ธชยั ปัญญาดี ด.ช.ปิ ยบุตร จนั ทร์ยอด เลขที่6-16 เสนอ วชิ ำ กำรสร้ำงหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ โรงเรียนแจ้ห่มวทิ ยำ อ.แจ้ห่ม จ.ลำปำง สำนักงำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศึกษำมัธยมศึกษำเขต 35 ภำคเรียนท่ี 2 ปี กำรศึกษำ 2563
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: