Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือบริหารงานวิชาการ

คู่มือบริหารงานวิชาการ

Description: คู่มือบริหารงานวิชาการ

Search

Read the Text Version

คู่มือ ดา้ นการบรหิ ารวชิ าการ โรงเรียนอนบุ าลงาว(ภาณุนิยม) สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปางเขต 1 กระทรวงศกึ ษาธิการการบริหารงานวชิ าการ

แนวคดิ หลักในการบริหารวิชาการ การบริหารงานวิชาการเปน็ ภารกจิ ท่ีสาคัญของการบรหิ ารโรงเรียนตามทพี่ ระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2)พ.ศ.2545 ถอื เปน็ งานท่ีมคี วามสาคัญท่ีสุด เปน็ หัวใจของการจดั การศึกษา ซ่ึงทัง้ ผ้บู ริหาร โรงเรียน คณะครู และผมู้ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ย ต้องมีความรู้ความ เข้าใจ ให้ความสาคัญและ มีส่วนร่วมในการวางแผน กาหนดแนวทางปฏิบตั กิ ารประเมนิ ผล และการปรบั ปรุงแก้ไข อย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง มุ่งให้กระจายอานาจในการบริหารจดั การไปใหส้ ถานศึกษาให้มากท่ีสุด ดว้ ย เจตนารมณท์ ีจ่ ะใหส้ ถานศึกษาดาเนนิ การไดโ้ ดยอสิ ระ คล่องตวั รวดเร็ว สอดคล้องกับความตอ้ งการของผเู้ รยี น โรงเรยี น ชมุ ชน ท้องถิ่น และการมสี ่วนรว่ มจากผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสียทกุ ฝา่ ย ซึ่งจะเป็นปัจจยั สาคญั ทาให้ สถานศึกษามคี วามเข้มแข็งในการบรหิ ารและจัดการ สามารถพฒั นาหลกั สูตรและกระบวนการเรยี นรูต้ ลอดจน การวดั ผล ประเมนิ ผล รวมท้ังปจั จยั เก้ือหนุนการพัฒนาคุณภาพนักเรียน โรงเรยี น ชุมชน ทอ้ งถนิ่ ได้อยา่ งมี คุณภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้บริหารงานด้านวิชาการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว และ สอดคล้องกับความต้องการของ นกั เรยี น สถานศกึ ษา ชุมชน ท้องถิน่ 2. เพ่ือให้การบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรียนได้มาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคล้องกับระบบ ประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมินคุณภาพภายในเพ่ือพัฒนาตนเอง และ จากการประเมิน หน่วยงานภายนอก 3. เพอ่ื ให้โรงเรยี นพัฒนาหลักสูตร และ กระบวนการเรยี นรู้ ตลอดจนปัจจยั หนนุ การเรียนรู้ที่สนองต่อความ ต้องการของผูเ้ รียน ชุมชน และ ทอ้ งถิน่ โดยยึดผู้เรยี นเป็นสาคัญได้อยา่ งมคี ุณภาพ และ ประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้โรงเรียนได้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และ ของบุคคล ครอบครัว องค์กร หนว่ ยงาน และ สถาบันอื่นๆอย่างกว้างขวาง วิสัยทัศน์ โรงเรียนอนบุ าลงาว (ภาณนุ ิยม) เปน็ โรงเรยี นชั้นนาทางวชิ าการ สมู่ าตรฐานสากลสรา้ งคนเปน็ พลโลกด้วยครู มืออาชพี พันธกจิ 1. สร้างโอกาสการศึกษาให้นกั เรียนทกุ คนอยา่ งมีคุณภาพ 2. พัฒนาระบบการศึกษาให้มีคณุ ภาพและประสิทธภิ าพ 3. พัฒนาศกั ยภาพผเู้ รียนสูค่ วามเป็นเลิศ เชดิ ชูคุณธรรม มุ่งสมู่ าตรฐานสากล เปา้ หมาย 1. นักเรยี นทุกคนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคณุ ภาพตามหลกั สูตรโรงเรยี น 2. นักเรียนไดร้ บั การพฒั นาศักยภาพทางวชิ าการ และเพมิ่ ศกั ยภาพในการแข่งขันทกุ ระดบั 3. โรงเรยี นและผ้เู กยี่ วข้องมีส่วนรว่ มในการบริหารจัดการแบบมุ่งผลสมั ฤทธิ์ 4. พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รยี นสู่ความเป็นเลศิ เชดิ ชูคุณธรรม มงุ่ สู่มาตรฐานสากล พัฒนา ขอบข่ายและภารกจิ ผูร้ ับผิดชอบ 1. การพฒั นาหรือการดาเนนิ การเก่ยี วกบั การให้ความเห็นการพฒั นาสาระหลกั สูตรท้องถน่ิ

บทบาทและหน้าที่ 1. วเิ คราะห์กรอบสาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ ทส่ี านักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาจัดทาไว้ 2. วเิ คราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพอ่ื กาหนดจดุ เนน้ หรือประเด็นที่สถานศึกษาให้ ความสาคัญ 3. ศกึ ษา และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา และชุมชนเพื่อนามาเปน็ ข้อมลู จดั ทาสาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่ ของสถานศกึ ษาให้สมบูรณย์ ง่ิ ขนึ้ 4. จดั ทาสาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิน่ ของสถานศกึ ษา เพื่อนาไปจดั ทารายวชิ าพนื้ ฐานหรอื รายวิชาเพมิ่ เติมจดั ทาคาอธิบายรายวชิ า หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ เพ่ือจัดประสบการณ์ และจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้แกผ่ ู้เรียน ประเมินผล และปรับปรงุ 5. ผบู้ ริหารศึกษาอนุมัติ 2. การวางแผนงานด้านวิชาการ บทบาทและหน้าท่ี 1. วางแผนงานดา้ นวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกากับดูแล นเิ ทศและติดตามเกี่ยวกบั งานวิชาการ ได้แก่ การพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมินผล และการเทยี บ โอนผลการเรียน การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา การพัฒนาและใช้สอ่ื และเทคโนโลยี เพอื่ การศึกษา การพัฒนาและสง่ เสริมให้มีแหล่งเรียนร้กู ารวิจัยเพอ่ื พัฒนา คุณภาพการศึกษา และสง่ เสริม ชุมชนใหม้ ีความเข้มแข็งทางวิชาการ 2. ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาอนุมตั โิ ดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา 3. การจดั การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา บทบาทและหนา้ ท่ี 1. จดั ทาแผนการเรยี นร้ทู ุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2. จัดการเรียนการสอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนร้ทู ุกชว่ งชน้ั ตามแนวปฏบิ ตั ิการเรยี นรู้โดยเน้นผเู้ รยี นเป็น สาคัญ พฒั นาคุณธรรมนาความร้ตู ามหลักการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3. ใช้ส่อื การเรยี นการสอน และแหลง่ การเรียนรู้ 4. จัดกิจกรรมพฒั นาห้องสมุด ห้องปฏบิ ัติการต่างๆ ให้เอื้อต่อการเรยี นรู้ 5. สง่ เสริมการวจิ ัย และพฒั นาการเรียนการสอนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 6. ส่งเสริมการพฒั นาความเปน็ เลิศของนักเรยี น และช่วยเหลือนักเรียนพิการ ด้อยโอกาสและ มคี วามสามารถพิเศษ 4. การพฒั นาหลกั สูตรของสถานศึกษา บทบาทและหนา้ ที่ 1. จดั ทาหลักสูตรเป็นของตนเองโดยจัดให้มกี ารวิจยั และพฒั นาหลักสูตร ให้ทันกบั การเปลีย่ นแปลง ทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม จัดทาหลักสตู รท่มี ุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้เปน็ มนุษยท์ ่สี มบรู ณท์ งั้ รา่ งกาย จิตใจ สตปิ ญั ญา มคี วามรู้และคุณธรรม สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ได้อย่างมีความสุข จัดใหม้ ีวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาพ้นื ฐานของกระทรวงศึกษาธิการ 2. เพมิ่ เตมิ เน้อื หาสาระของรายวิชา ได้แก่ การศึกษาดา้ นศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กฬี า การศึกษาที่สง่ เสริม ความเป็นเลศิ ผบู้ กพรอ่ ง

3. เพิ่มเติมเนือ้ หาสาระของรายวชิ าท่สี อดคลอ้ งสภาพปัญหาความต้องการของผเู้ รยี น ผ้ปู กครอง ชุมชน สงั คม และอาเซ่ยี น 5. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ บทบาทและหน้าท่ี 1. จัดเนอ้ื หาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกบั ความสนใจ และความถนดั ของผูเ้ รยี นโดย คานึงถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล 2. ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การเผชญิ สถานการณ์ และการประยุกตค์ วามรู้มาใช้ เพ่ือป้องกันและแกไ้ ข ปัญหา 3. จัดกจิ กรรมให้ผ้เู รยี นได้เรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ฝกึ การปฏบิ ัติใหท้ าได้ คดิ เป็น ทาเปน็ รกั การอา่ น และเกิดการใฝร่ ้อู ย่างต่อเนื่อง 4. จัดการเรยี นการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ดา้ นตา่ งๆ อยา่ งไดส้ ัดสว่ นสมดลุ กนั รวมท้งั ปลูกฝัง คณุ ธรรม คา่ นิยมท่ดี งี ามและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกกล่มุ สาระ/วิชา 5. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ูส้ อนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดลอ้ ม สอื่ การเรียน และอานวยความสะดวก เพื่อใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ และมคี วามรอบรู้ รวมทงั้ สามารถใช้การวจิ ยั เป็นส่วนหนงึ่ ของกระบวนการเรยี นรู้ ทัง้ นี้ ผสู้ อนและผู้เรียนร้อู าจเรยี นรู้ไปพรอ้ มกนั จากสอื่ การเรยี นการสอน และแหล่งวทิ ยาการประเภทต่าง ๆ 6. จัดการเรียนรใู้ หเ้ กดิ ข้ึนได้ทกุ เวลา ทกุ สถานที่ มกี ารประสานความร่วมมือ กบั บิดามารดาและบคุ คลใน ชุมชนทกุ ฝา่ ย เพื่อรว่ มกนั พัฒนาผู้เรยี นตามศกั ยภาพ 7. ศกึ ษาค้นควา้ พฒั นารปู แบบหรอื การออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ที่ 6. การวดั ผล ประเมินผล และดาเนินการเทียบโอนเท่าผลการเรยี น บทบาทและหนา้ ท่ี 1. กาหนดระเบยี บการวดั และประเมินผลของสถานศกึ ษาตามหลกั สตู รสถานศึกษาโดยให้ สอดคลอ้ ง กับนโยบายระดบั ประเทศ 2. จัดทาเอกสารหลักฐานการศกึ ษาให้เป็นไปตามระเบยี บการวัด และประเมนิ ผลของสถานศึกษา 3. วดั ผล ประเมินผล เทยี บโอนประสบการณ์ ผลการเรียนและอนุมตั ผิ ลการเรยี น 4. จดั ให้มีการประเมินผลการเรียนทกุ ช่วงช้นั และจัดใหม้ ีการซอ่ มเสรมิ กรณีทีม่ ีผู้เรยี น ไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมนิ 5. ให้มกี ารพัฒนาเครื่องมือในการวัดและประเมนิ ผล 6. จัดระบบสารสนเทศดา้ นการวัดผลประเมนิ ผล และการเทยี บโอนผลการเรียนเพื่อใชใ้ นการอา้ งอิง ตรวจสอบ และใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาการเรยี นการสอน 7. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาอนมุ ัตผิ ลการประเมนิ การเรียนดา้ นตา่ งๆ รายปี รายภาคและตดั สินผลการเรยี นผ่าน ระดับชน้ั และจบการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 8. การเทยี บโอนผลการเรยี นเป็นอานาจของสถานศึกษา ท่ีจะแต่งตง้ั คณะกรรมการดาเนินการ เพือ่ กาหนดหลักเกณฑ์วธิ กี าร ไดแ้ ก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศกึ ษาท้ังในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั คณะกรรมการเทยี บโอนผลการเรยี น และเสนอคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร และวิชาการ พรอ้ มทงั้ ใหผ้ บู้ ริหาร สถานศึกษาอนุมัติการเทยี บโอน 7. การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา บทบาทและหน้าที่

1. กาหนดนโยบายและแนวทางการใช้ การวจิ ยั เป็นส่วนหนง่ึ ของกระบวนการเรียนรู้ และกระบวนการ ทางานของนักเรยี น ครู และผู้เก่ียวขอ้ งกบั การศกึ ษา 2. พฒั นาครู และนักเรียนให้มีความรเู้ ก่ยี วกบั การปฏิรูปการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการวจิ ยั เป็นสาคญั ในการ เรียนรทู้ ีซ่ ับซ้อนข้ึน ทาใหผ้ ูเ้ รียนได้ฝึกการคดิ การจัดการ การหาเหตผุ ลในการตอบปัญหา 3. พัฒนาคุณภาพการศึกษาดว้ ยกระบวนการวิจยั 4. รวบรวม และเผยแพร่ผลการวจิ ยั เพ่ือการเรียนรูแ้ ละพฒั นาคุณภาพการศึกษา รวมทัง้ สนบั สนนุ ให้ครูนา ผลการวจิ ยั มาใช้เพือ่ พฒั นาการเรียนรูแ้ ละพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 8. การพัฒนาและส่งเสรมิ ใหม้ ีแหล่งเรยี นรู้ บทบาทและหนา้ ท่ี 1. จดั ให้มีแหลง่ เรยี นรู้อย่างหลากหลาย ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้พอเพยี งเพื่อ สนบั สนนุ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองกับการจดั กระบวนการเรียนรู้ 2. จัดระบบแหลง่ การเรียนรูภ้ ายในโรงเรียนให้เอ้ือตอ่ การจดั การเรียนรู้ของผู้เรยี น เช่น พฒั นาห้องสมุดใหเ้ ปน็ แหล่งการเรยี นรู้ มุมหนังสอื ในห้องเรียน หอ้ งดนตรี ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องพยาบาล หอ้ งศนู ย์อาเซียน ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องสมุด เป็นต้น 3. จดั ระบบข้อมูลแหล่งการเรียนรูใ้ นท้องถ่ินให้เอ้อื ต่อการจดั การเรียนรู้ ของผ้เู รียน ของ สถานศึกษาของตนเอง 4. สง่ เสรมิ ให้ครแู ละผเู้ รียนไดใ้ ช้แหลง่ เรยี นรู้ ท้ังในและนอกสถานศกึ ษา เพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ และ นเิ ทศ กากบั ติดตาม ประเมินและปรบั ปรุงอย่างตอ่ เนื่อง 5. สง่ เสริมใหค้ รู และผู้เรียนใชแ้ หลง่ เรียนรู้ทง้ั ภายในและภายนอก 9. การนเิ ทศการศึกษา บทบาทและหน้าท่ี 1. สร้างความตระหนักใหแ้ กค่ รู และผ้เู ก่ยี วข้องใหเ้ ขา้ ใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเปน็ กระบวนการทางานรว่ มกนั ท่ใี ชเ้ หตผุ ลการนเิ ทศ เป็นการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทางานของแตล่ ะบุคคล ให้มีคุณภาพ การนเิ ทศเปน็ สว่ นหนงึ่ ของกระบวนการบริหาร เพ่ือให้ทกุ คนเกิดความเชื่อมน่ั วา่ ได้ปฏบิ ตั ิถกู ต้อง ก้าวหน้า และเกดิ ประโยชนส์ ูงสุดต่อผูเ้ รยี น และตัวครเู อง 2. จัดการนิเทศภายในสถานศึกษาใหม้ คี ุณภาพทวั่ ถึง และต่อเน่ืองเปน็ ระบบและ กระบวนการ 3. จัดระบบนเิ ทศภายในสถานศึกษาใหเ้ ชื่อมโยงกบั ระบบนิเทศการศึกษาของสานักงานเขต พื้นที่การศึกษา 10. การแนะแนว บทบาทและหนา้ ที่ 1. กาหนดนโยบายการจัดการศึกษาท่ีมกี ารแนะแนวเป็นองค์ประกอบสาคญั โดยให้ทุก คนในสถานศึกษาตระหนักถึงการมีสว่ นร่วมในกระบวนการแนะแนว และการดแู ลชว่ ยเหลอื 2. จัดระบบงานและโครงสร้างองค์กรแนะแนว และดูแลช่วยเหลือนักเรยี นของสถานศึกษาให้ ชดั เจน 3. สรา้ งความตระหนักให้ครูทกุ คนเห็นคุณค่าของการแนะแนว และดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น 4. สง่ เสรมิ และพัฒนาให้ครูได้รบั ความร้เู พม่ิ เติม เร่อื งจติ วทิ ยาและการแนะแนวและดูแล ชว่ ยเหลือนักเรียน เพ่ือใหส้ ามารถบูรณาการในการจัดการเรียนร้แู ละเชอ่ื มโยงสู่การดารงชวี ติ ประจาวนั

5. คดั เลอื กบคุ ลากรท่ีมคี วามรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพที่เหมาะสม ทาหน้าทคี่ รแู นะ แนว ครทู ป่ี รึกษา ครูประจาชน้ั และคณะอนุกรรมการแนะแนว 6. ดูแล กากบั นเิ ทศ ติดตามและสนบั สนุนการดาเนินงานแนะแนว และดูแลช่วยเหลอื นักเรียนอย่างเปน็ ระบบ 7. สง่ เสริมความรว่ มมือ และความเข้าใจอันดรี ะหวา่ งครู ผ้ปู กครอง และชมุ ชน 8. ประสานงานดา้ นการแนะแนวระหว่างสถานศกึ ษา องคก์ ร ภาครฐั และเอกชน บ้าน ศาสนสถาน ชุมชนในลักษณะเครือขา่ ยการแนะแนว 9. เชือ่ มโยงระบบแนะแนว และระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น 11. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศกึ ษา บทบาทและหน้าท่ี 1. กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. จัดทาแผนสถานศกึ ษาทม่ี ุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์/แผนยทุ ธศาสตร)์ 3. จดั ทาระบบบริหารและสารสนเทศ 4. ดาเนนิ การตามแผนพัฒนาสถานศกึ ษาในการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมสถานศกึ ษาต้อง สร้างระบบ การทางานทเ่ี ขม้ แข็งเนน้ การมสี ว่ นรว่ ม และวงจรการพฒั นาคุณภาพของเดมมิ่ง (Deming Cycle) หรอื ท่ีรจู้ ักกันว่าวงจร PDCA 5. ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศกึ ษาโดยการดาเนนิ การอยา่ งจริงจงั ต่อเนื่องด้วยการ สนบั สนนุ ให้ครู ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนรว่ ม 6. ประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานท่ีกาหนด เพื่อรองรับการ ประเมินคุณภาพภายนอก 7. จัดทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี (SAR) และสรุปรายงานประจาปี โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานเสนอต่อหน่วยงานตน้ สังกัด และเผยแพร่ต่อสาธารณชน 12. การสง่ เสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวชิ าการ บทบาทและหน้าที่ 1. จัดกระบวนการเรียนรรู้ ่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ เอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอืน่ 2. ส่งเสรมิ ความเข้มแข็งของชมุ ชน โดยการจัดกระบวนการเรยี นร้ภู ายในชมุ ชน 3. ส่งเสริมให้ชุมชนมกี ารจดั การศกึ ษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสารและ เลอื กสรรภูมิปญั ญา วทิ ยาการตา่ งๆ 4. พัฒนาชุมชนใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพปญั หา และความตอ้ งการรวมท้งั หาวธิ ีการสนบั สนนุ ให้มกี ารแลกเปล่ยี นประสบการณ์ระหวา่ งชุมชน 13. การประสานความรว่ มมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษา และองค์กรอน่ื บทบาทและหนา้ ท่ี

1. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเสรมิ สรา้ ง พัฒนาการของนักเรียนทุกด้าน รวมทัง้ สืบสานจารีตประเพณศี ิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน 2. เสริมสร้างความสมั พนั ธร์ ะหว่างสถานศึกษากับชมุ ชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรทั้ง ภาครัฐ และเอกชน เพ่ือใหส้ ถานศึกษาเปน็ แหลง่ วทิ ยาการของชมุ ชน เพ่ือใหส้ ถานศึกษาเป็นแหล่ง วทิ ยาการของชมุ ชน และมีสว่ นในการพัฒนาชุมชนและท้องถน่ิ 3. ให้บรกิ ารดา้ นวชิ าการที่สามารถเช่อื มโยงหรอื แลกเปล่ยี นข้อมูลขา่ วสารกบั แหล่งวชิ าการในท่ีอนื่ ๆ 4. จัดกจิ กรรมรว่ มกับชุมชนเพ่ือสง่ เสรมิ วฒั นธรรมการสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีกับศิษยเ์ ก่า การประชมุ ผูป้ กครองนักเรยี น การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั ชมุ ชน การร่วมกจิ กรรมกบั สถาบันการศึกษาอ่ืน เปน็ ตน้ 14. การส่งเสริมและสนบั สนุนงานวชิ าการแก่บุคคล ครอบครวั องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และ สถาบนั อืน่ ทจี่ ดั การศกึ ษา บทบาทและหน้าท่ี 1. ประชาสมั พนั ธส์ รา้ งความเข้าใจตอ่ บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชุมชน องคก์ ร ปกครอง สว่ นทอ้ งถิน่ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบัน สงั คมอืน่ ในเรอ่ื งเกย่ี วกบั สทิ ธใิ นการจัดการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานการศึกษา 2. จัดให้มีการสร้างความรคู้ วามเข้าใจ การเพิ่มความพร้อมให้กบั บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคก์ รชุมชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการและสถาบนั สังคมอ่นื ทีร่ ว่ มจดั การศกึ ษา 3. ร่วมกบั บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ เอกชน องค์กร เอกชนองค์กรวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอื่นทีร่ ่วมจดั การศกึ ษา และใช้ ทรัพยากรรว่ มกันให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ 4. สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้มีการจดั กิจกรรมการเรยี นรูร้ ะหวา่ งสถานศกึ ษากบั บุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สงั คมอื่น 5. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหบ้ ุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบนั ศาสนาสถานประกอบการและสถาบันสงั คมอน่ื ไดร้ ับความชว่ ยเหลอื ทางดา้ นวชิ าการตามความ เหมาะสมและจาเป็น 6. ส่งเสรมิ และพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ ทง้ั ดา้ นคณุ ภาพและปริมาณ เพอ่ื การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต อย่างมี ประสิทธิภาพ 15. การจัดทาระเบียบและแนวปฏิบตั เิ กี่ยวกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศึกษา บทบาทและหน้าที่ 1. ศกึ ษาและวเิ คราะห์ระเบียบ และแนวปฏบิ ัติเก่ียวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษาเพ่ือให้ ผู้ที่ เกยี่ วข้องรับรู้ และถือปฏิบัตเิ ปน็ แนวเดียวกนั 2. จดั ระเบียบ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา เพื่อให้ผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ ง รับรู้ และถือปฏบิ ตั เิ ปน็ แนวเดียวกนั 3. ตรวจสอบรา่ งระเบียบและแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกบั งานด้านวชิ าการของสถานศึกษา และแก้ไข ปรับปรงุ 4. นาระเบียบและแนวปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศึกษาไปสู่การปฏบิ ัติ 5. ตรวจสอบ และประเมินผล การใช้ระเบียบและแนวปฏบิ ตั ิเก่ยี วกบั งานด้านวิชาการของ สถานศกึ ษาและนาไปแกไ้ ขปรบั ปรงุ ให้เหมาะสมตอ่ ไป 16. การคัดเลือกหนังสือ แบบเรยี นเพ่ือใชใ้ นสถานศกึ ษา บทบาทและหน้าท่ี

1. ศกึ ษา วเิ คราะห์ คัดเลือกหนังสือเรยี น กล่มุ สาระการเรียนรู้ต่างๆ ท่ีมีคณุ ภาพสอดคล้องกับหลักสตู ร สถานศกึ ษา เพื่อเป็นหนงั สือแบบเรยี นใช้ในการจัดการเรยี นการสอน 2. จัดทาหนังสอื เรยี น หนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ หนงั สอื อา่ นประกอบ แบบฝกึ หัด ใบงาน ใบความรู้ เพอื่ ใชป้ ระกอบการเรียนการสอน 3. ตรวจพจิ ารณาคุณภาพ หนังสือเรยี นเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ แบบฝกึ หดั ใบงาน ใบความรู้ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน 17. การพัฒนา และใช้สือ่ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา บทบาทและหนา้ ที่ 1. จัดให้มีการร่วมกันกาหนดนโยบาย วางแผนในเรอ่ื งการจัดหาและพัฒนาสื่อการเรยี นรู้ และ เทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา 2. พฒั นาบุคลากรใสถานศึกษาในเร่ืองเกยี่ วกับการพัฒนาส่อื การเรียนรู้ และเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา พร้อมทงั้ ให้มีการจัดต้งั เครือข่ายทางวชิ าการ ชมรมวิชาการเพ่ือเป็นแหลง่ การเรียนรู3้ . 3. พัฒนาและใช้ สอื่ และเทคโนโลยีทางการศึกษา โดยมุง่ เน้นการพัฒนาสือ่ และเทคโนโลยีทางการศึกษาท่ีให้ข้อเท็จจรงิ เพอื่ สรา้ งองค์ ความรู้ใหม่ๆเกิดขึ้น โดยเฉพาะหาแหล่งสือ่ ท่ีเสริมการจัด การศกึ ษาของสถานศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพ 3. พัฒนาหอ้ งสมุดของสถานศึกษา ให้เป็นแหล่งการเรยี นรู้ของสถานศึกษา และชุมชน 4. นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในการจดั หา ผลติ ใช้และพฒั นาส่ือ และ เทคโนโลยที างการศึกษา ดา้ นบรหิ ารวชิ าการ 1. หัวหน้างานบรหิ ารวิชาการ ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีหัวหนา้ กลุ่มการบริหารวิชาการ มหี นา้ ที่ ดแู ล กากับ ติดตาม กลั่นกรองอานวยความสะดวก ให้คาแนะนา ปรึกษาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานในกลุ่มการบริหาร วิชาการตามขอบข่ายและภารกิจการบริหารวิชาการ ปฏิบัติหน้าท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดระบบบริหารองค์กร การ ประสานงานและให้บริการสนับสนุน ส่งเสริมให้ฝ่ายบริหารงานวิชาการต่างๆ ในโรงเรียนสามารถบริหารจัดการและ ดาเนินการตามบทบาทภารกิจ อานาจหน้าที่ด้วยความเรียบร้อยตลอดจนสนับสนุนและให้บริการข้อมูล ข่าวสาร เอกสาร สื่อ อุปกรณ์ทางการศึกษา และทรัพยากรท่ีใช้ในการจัดการศึกษาแก่เจ้าหน้าที่ของแต่ละฝ่ายงานเพื่อให้ฝ่าย บริหารจัดการไดอ้ ย่างสะดวกคลอ่ งตัว มีคณุ ภาพและเกิดประสิทธภิ าพ 2. หัวหน้าวิชาการสายชั้น ปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยหัวหน้ากลุ่มการบริหารวิชาการ มีหน้าที่ช่วยหัวหน้ากลุ่ม การบริหารวิชาการ ในการปฏิบัติงานตามภารกิจของงานบริหารงานวิชาการและหน้าที่อ่ืนๆที่หัวหน้ากลุ่มบริหาร วชิ าการมอบหมายปฏิบัติหน้าท่ีแทนในกรณหี ัวหน้าบริหารงานวชิ าการไม่สามารถปฏิบัตหิ น้าที่ได้ ขอบข่ายงานบรหิ ารวิชาการ มีดงั น้ี 1. การพัฒนาหรอื การดาเนนิ งานเกย่ี วกับการใหค้ วามเหน็ การพฒั นาสาระหลกั สูตรทอ้ งถิ่น หนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดงั นี้ 1) วเิ คราะหก์ รอบสาระการเรียนรทู้ ้องถ่นิ ทสี่ านกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาจัดทาไว้ 2) วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือกาหนดจุดเน้นหรือประเด็นที่สถานศึกษาหรือกลุ่มเครือข่าย สถานศึกษาให้ความสาคญั 3) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชุมชนเพ่ือนามาเป็นข้อมูลจดั ทาสาระ การเรียนรทู้ ้องถนิ่ ของสถานศกึ ษาใหส้ มบูรณ์ย่ิงข้นึ

4) จัดทาสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินของสถานศึกษาเพ่ือนาไปจัดทารายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชา เพิ่มเติมจัดทาคาอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจัดประสบการณ์และกิจกรรมการเรียน การสอนใหแ้ กผ่ ู้เรยี นประเมนิ ผลและปรับปรงุ 5) ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาอนมุ ัติ 2. การวางแผนงานดา้ นวิชาการ หนา้ ที่รบั ผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดังนี้ 1) วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกากับ ดูแล นิเทศและติดตามเกี่ยวกับงาน วิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมินผล และการเทียบ โอนผลการเรียนการประกนั คุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพฒั นาและใชส้ ือ่ และเทคโนโลยีเพ่อื การศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมใหม้ ีแหล่งเรยี นรู้การวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการส่งเสริมชมุ ชนให้มีความเข้มแข็ง ทางวชิ าการ 2) ผบู้ ริหารสถานศึกษาอนุมตั ิโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 3. การจดั การเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา หนา้ ที่รบั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดงั นี้ 1) จัดทาแผนการเรยี นรทู้ ุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้โดยความรว่ มมือของเครือขา่ ย สถานศึกษา 2) จดั การเรียนการสอนทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกช่วงชนั้ ตามแนวปฏริ ูปการเรยี นรูโ้ ดยเน้นผเู้ รียน เป็นสาคัญ บูรณาการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เพ่ือคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนพัฒนาคุณธรรมนาความรู้ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) ใช้สอื่ การเรยี นการสอนและแหล่งการเรยี นรู้ 4) จัดกจิ กรรมพฒั นาห้องสมดุ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ ให้เอ้อื ต่อการเรียนรู้ 5) สง่ เสรมิ การวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 6) ส่งเสริมการพัฒนาความเป็นเลิศของนักเรียนและช่วยเหลือนักเรียนพิการด้อยโอกาสและมี ความสามารถพเิ ศษ 4. การพัฒนาหลกั สูตรของสถานศกึ ษา หน้าทรี่ บั ผิดชอบปฏิบัติงานดังนี้ 1 จัดทาหลกั สตู รสถานศกึ ษาเปน็ ของตนเอง 1.1 จัดให้มีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรขึ้นใช้เองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงทางด้าน เศรษฐกิจและสงั คมและเปน็ ตน้ แบบใหก้ ับโรงเรยี นอ่นื 1.2 จัดทาหลักสูตรที่มุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา มีความรแู้ ละคุณธรรม สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ย่างมีความสุข 1.3 จัดให้มีวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานของ กระทรวงศึกษาธกิ าร 1.4 เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาให้สูงและลึกซ้ึงมากข้ึนสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ การศึกษาด้านศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา อาชีวศึกษา การศึกษาที่ส่งเสริมความเป็นเลิศ ผู้บกพร่อง พิการ และการศึกษาทางเลือก 1.5 เพ่ิมเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาที่สอดคล้องสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ผูป้ กครอง ชุมชน สงั คม และโลก 2) สถานศกึ ษาสามารถจดั ทาหลกั สตู รการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การสอนและอ่ืนๆให้เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายพิเศษ โดยความร่วมมือของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและเครือข่าย สถานศึกษา

3) คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐานให้ความเหน็ ชอบหลักสตู รสถานศกึ ษา 4) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให้สานักงานเขต พนื้ ทีก่ ารศกึ ษารบั ทราบ 5. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ หน้าท่ีรับผิดชอบปฏิบัติงานดังนี้ 1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล 2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา 3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รัก การอ่านและเกิดการใฝร่ ้อู ย่างต่อเน่ือง 4) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมท้ัง ปลกู ฝงั คุณธรรม คา่ นยิ มทีด่ ีงานและคณุ ลกั ษณะอันพงึ่ ประสงค์ไวใ้ นทุกวชิ า 5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวยความ สะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ท้ังน้ี ผูส้ อนและผเู้ รยี นอาจเรียนร้ไู ปพรอ้ มกันจากสอ่ื การเรยี นการสอน และแหลง่ วทิ ยาการประเภทตา่ งๆ 6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลาทุกสถานท่ีมีการประสานความร่วมมือ กับบิดามารดาและ บคุ คลในชมุ ชนทุกฝา่ ย เพอื่ รว่ มกนั พัฒนาผเู้ รยี นตามศักยภาพ 6. การวัดผล ประเมินผลและดาเนินการเทยี บโอนผลการเรียน หน้าท่รี บั ผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดังนี้ 1) กาหนดระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยสอดคล้อง กับนโยบายระดบั ประเทศ 2) จดั ทาเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาให้เปน็ ไปตามระเบียบการวัดและประเมนิ ผลของสถานศึกษา 3) วัดผล ประเมินผล เทียบโอนประสบการณ์ผลการเรยี นและอนมุ ตั ผิ ลการเรยี น 4) จัดให้มีการประเมินผลการเรียนทกุ ช่วงชั้นและจัดให้มีการซอ่ มเสริมกรณีท่ีมีผู้เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ การประเมิน 5) จดั ใหม้ ีการพัฒนาเครือ่ งมอื ในการวัดและประเมินผล 6) จัดระบบสารสนเทศดา้ นการวดั ผลประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียนเพือ่ ใช้ในการอ้างอิง ตรวจสอบและใช้ประโยชน์ในการพัฒนาการเรยี นการสอน 7) ผ้บู ริหารสถานศึกษาอนุมตั ิผลการประเมินการเรียนด้านต่างๆ รายปี/รายภาคและตัดสินผลการ เรียนการผ่านชว่ งชัน้ และจบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 8) การเทียบโอนผลการเรียนเป็นอานาจของสถานศึกษาที่จะแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินการเพื่อ กาหนดหลักเกณฑ์วิธีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษา ท้ังในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพร้อมทั้งให้ผู้บริหาร สถานศกึ ษาอนุมัติการเทยี บโอน 7. การวจิ ยั เพ่อื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา หน้าท่ีรับผิดชอบปฏิบัติงานดังน้ี

1) กาหนดนโยบายและแนวทางการใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการทางานของนักเรียน ครู และผู้เก่ียวขอ้ งกบั การศกึ ษา 2) พัฒนาครูและนักเรียนให้มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยเป็น สาคัญในการเรยี นรู้ท่ีซบั ซอ้ นขน้ึ ทาใหผ้ ู้เรยี นได้ฝึกการคิด การจัดการ การหาเหตุผล ในการตอบปัญหา การผสมผสาน ความรแู้ บบสหวิทยาการและการเรยี นรใู้ นปญั หาที่ตนสนใจ 3) พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาดว้ ยกระบวนการวจิ ยั 4) รวบรวม และเผยแพร่ผลการวิจัยเพ่ือการเรียนรแู้ ละพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งสนับสนุน ใหค้ รูนาผลการวจิ ัยมาใช้ เพอื่ พัฒนาการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 8. การพัฒนาและส่งเสรมิ ใหม้ ีแหล่งเรยี นรู้ หนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบปฏบิ ัตงิ านดงั นี้ 1) จัดให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาให้พอเพียงเพ่ือ สนบั สนนุ การแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองกับการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 2) จัดระบบแหล่งการเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น พัฒนา ห้องสมุดหมวดวิชา ห้องสมุดเคลื่อนท่ี มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องพิพิธภัณฑ์ ห้องมัลติมีเดีย ห้องคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต ศูนย์วิชาการ ศูนย์วิทยบริการ Resource Center สวนสุขภาพ สวนวรรณคดี สวนหนังสือ สวนธรรมะ เป็นต้น 3) จัดระบบข้อมูลแหลง่ การเรียนร้ใู นท้องถ่ินให้เอ้ือต่อการจดั การเรยี นรูข้ องผูเ้ รียนของสถานศกึ ษา ของตนเอง เช่น จัดเส้นทาง/แผนที่ และระบบการเช่ือมโยงเครือข่ายห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดสถาบันการศึกษา พิพธิ ภณั ฑ์ พพิ ธิ ภณั ฑ์วิทยาศาสตร์ ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ฯลฯ 4) ส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้และ นเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมิน และปรบั ปรุงอย่างต่อเนอ่ื ง 9. การนเิ ทศการศึกษา หน้าที่รบั ผดิ ชอบปฏิบัติงานดังนี้ 1) สร้างความตระหนักให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้องให้เข้าใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเป็น กระบวนการทางานร่วมกันท่ีใช้เหตุผลการนิเทศเป็นการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทางานของแต่ละบุคคลให้มีคุณภาพ การนิเทศเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหาร เพ่ือให้ทุกคนเกิดความเช่ือม่ันว่า ได้ปฏิบัติถูกต้อง ก้าวหน้า และเกิด ประโยชนส์ งู สดุ ต่อผูเ้ รยี นและตัวครูเอง 2) จดั การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษาให้มีคุณภาพท่ัวถงึ และต่อเนอ่ื งเปน็ ระบบและกระบวนการ 3) จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้เช่ือมโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษา 10. การแนะแนวการศกึ ษา มหี น้าท่รี บั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดังนี้ 1) กาหนดนโยบายการจัดการศึกษาที่มีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสาคัญ โดยให้ทุกคนใน สถานศึกษาตระหนกั ถงึ การมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการแนะแนวและการดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น 2) จัดระบบงานและโครงสร้างองคก์ รแนะนาและดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น 3 สรา้ งความตระหนกั ให้ครทู ุกคนเหน็ คุณค่าของการแนะแนวและดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน 4) ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูได้รับความรู้เพิ่มเติมในเรื่องจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแล ชว่ ยเหลอื นักเรียนเพ่อื ใหส้ ามารถ บรู ณาการ ในการจดั การเรยี นรแู้ ละเชื่อมโยง สู่การดารงชีวติ ประจาวัน

5) คัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพที่เหมาะสม ทาหน้าที่ครูแนะแนวครูท่ี ปรกึ ษา ครปู ระจาชัน้ และคณะอนกุ รรมการแนะแนว 6) ดูแล กากับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดาเนินงานแนะแนวและดูแลช่วยเหลือนักเรียน อย่างเป็นระบบ 7) ส่งเสริมความร่วมมือและความเขา้ ใจอันดีระหวา่ งครู ผู้ปกครองและชุมชน 8) ประสานงานด้านการแนะแนว ระหว่างสถานศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชน บ้าน ศาสน- สถาน ชุมชน ในลกั ษณะเครอื ข่ายการแนะแนว 9) เชอื่ มโยงระบบแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน 11. การพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา มหี นา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบัติงานดงั นี้ 1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาเพิ่มเติมของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานมาตรฐานสานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาและความต้องการของชุมชน 2) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ โดยจัดโครงสร้างการบริหารท่ีเอ้ือต่อการพัฒนางานและการ สร้างระบบประกันคุณภาพภายในจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ข้อมูล มีความสมบูรณ์เรียกใช้ง่าย สะดวก รวดเรว็ ปรบั ปรุงใหเ้ ป็นปจั จุบนั อยเู่ สมอ 3) จัดทาแผนสถานศึกษาทมี่ งุ่ เนน้ คณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยุทธ์/แผนยทุ ธศาสตร)์ 4) ดาเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมสถานศึกษาต้องสร้าง ระบบการทางานที่เข้มแขง็ เน้นการมีส่วนร่วม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมมง่ิ (Deming Cycle) หรอื ที่รู้จัก กันวา่ วงจร PDCA 5) ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยดาเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่องด้วยการสนับสนุน ใหค้ รู ผู้ปกครองและชมุ ชนเข้ามามีสว่ นรว่ ม 6) ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานที่กาหนดเพ่ือรองรับการประเมิน คุณภาพภายนอก 7) จัดทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี (SAR) และสรุปรายงานประจาปี โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐานเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั และเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน 12. การส่งเสรมิ ชุมชนให้มีความเขม้ แขง็ ทางวิชาการ มหี นา้ ที่รับผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังนี้ 1) จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถนิ่ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอนื่ 2) ส่งเสรมิ ความเขม้ แขง็ ของชุมชนโดยการจัดกระบวนการเรยี นร้ภู ายในชมุ ชน 3) ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรมมีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสารและรู้จัก เลือกสรรภมู ปิ ัญญาและวทิ ยาการต่างๆ 4) พัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการรวมท้ังหาวิธีการสนับสนุนให้มีการ แลกเปล่ยี นประสบการณร์ ะหว่างชุมชน 13. การประสานความรว่ มมือในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศึกษาและองค์กรอ่นื มีหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั นี้

1) ระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถ่ินเพื่อเสริมสร้าง พฒั นาการของนักเรยี นทุกดา้ นรวมท้ังสบื สานจารีตประเพณีศลิ ปวัฒนธรรมของท้องถนิ่ 2) เสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหว่างสถานศึกษากบั ชมุ ชน ตลอดจนประสานงานกับองคก์ รทั้งภาครัฐ และเอกชน เพ่ือให้สถานศกึ ษาเปน็ แหลง่ วิทยาการของชุมชนและมสี ว่ นในการพฒั นาชุมชนและท้องถน่ิ 3) ให้บริการด้านวิชาการท่ีสามารถเช่ือมโยงหรือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารกับแหล่งวิชาการ ในท่อี น่ื ๆ 4) จัดกิจกรรมร่วมชุมชน เพอื่ สง่ เสรมิ วฒั นธรรมการสร้างความสัมพนั ธอ์ ันดีกับศิษย์เก่าการประชุม ผ้ปู กครองนกั เรยี น การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกับชุมชน การร่วมกิจกรรมกับสถานบันการศกึ ษาอน่ื เปน็ ต้น 14. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และ สถาบันอื่นทีจ่ ัดการศึกษา มหี น้าทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดงั นี้ 1) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนในเรอื่ งเก่ียวกับ สิทธิในการจดั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 2) จัดให้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ การเพ่ิมความพร้อมให้กับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอ่ืนที่ ร่วมจดั การศกึ ษา 3) ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กร- เอกชน องค์วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นร่วมกันจัดการศึกษาและใช้ทรัพยากร รว่ มกนั ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดแกผ่ เู้ รียน 4) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร-วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน ประกอบการณ์ และสถาบนั สงั คมอืน่ 5) ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการณ์ และสถาบันสังคมอื่น ได้รับความช่วยเหลือ ทางดา้ นวชิ าการตามความเหมาะสมและจาเปน็ 6) ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ท้ังด้านคุณภาพและปริมาณเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 15. การจัดทาระเบียบและแนวปฏบิ ัติเก่ียวกบั งานด้านวชิ าการของสถานศึกษา มีหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังน้ี 1) ศึกษาและวิเคาระห์ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้ที่ เกยี่ วข้องทกุ รายรบั ร้แู ละถือปฏบิ ัตเิ ปน็ แนวเดยี วกนั 2) จัดทาร่างระเบียบและแนวปฏิบัติเก่ียวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ท่ีเก่ียวข้อง ทุกฝา่ ยรบั รแู้ ละถอื ปฏบิ ัติเป็นแนวเดยี วกนั 3) ตรวจสอบร่างระเบียบและแนวปฏิบัติเก่ียวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษาและแก้ไข ปรบั ปรงุ 4) นาระเบียบและแนวปฏบิ ตั เิ ก่ียวกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 5) ตรวจสอบและประเมินผลการใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของ สถานศึกษาและนาไปแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสมต่อไป

16. การคดั เลอื กหนงั สอื แบบเรยี นเพอ่ื ใช้ในสถานศกึ ษา มหี น้าที่รับผิดชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้ 1) ศึกษา วิเคาระห์ คัดเลือกหนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ท่ีมีคุณภาพสอดคล้องกลับ หลกั สตู รสถานศึกษาเพอื่ เป็นหนังสอื แบบเรียนเพ่ือใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน 2) จดั ทาหนงั สือเรยี น หนังสือเสรมิ ประสบการณ์ หนงั สืออ่านประกอบ แบบฝึกหดั ใบงาน ใบความรเู้ พ่ือใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน 3) ตรวจพิจารณาคุณภาพหนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านประกอบ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบความรเู้ พอ่ื ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน 17. การพัฒนาและใชส้ ื่อและเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา มหี นา้ ทีร่ ับผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดงั น้ี 1) จัดให้มีการร่วมกันกาหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจัดหาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาของสถานศกึ ษา 2) พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาในเรื่องเก่ียวกับการพัฒนาส่ือการเรียนรู้และเทคโนโลยี เพ่ือ การศกึ ษา พร้อมทง้ั ใหม้ ีการจดั ตง้ั เครือขา่ ยทางวิชาการ ชมรมวิชาการเพ่อื เปน็ แหลง่ เรียนรูข้ องสถานศกึ ษา 3) พัฒนาและใช้ส่ือและเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยมุ่งเน้นการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการ ศกึ ษาที่ให้ข้อเท็จจริงเพอ่ื สร้างองค์ความรูใ้ หมๆ่ เกิดข้ึน โดยเฉพาะหาแหล่งสอ่ื ท่ีเสริมการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ให้มปี ระสทิ ธิภาพ 4) พฒั นาห้องสมุดของสถานศกึ ษาให้เป็นแหล่งการเรยี นรู้ของสถานศึกษาและชุมชน 5) นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบัตงิ านของบุคลากรในการจัดหา ผลิตใช้และพัฒนาส่อื และ เทคโนโลยที างการศกึ ษา 18. การรับนักเรียน หนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดังนี้ 1) ให้สถานศึกษาประสานงานการดาเนินการแบ่งเขตพื้นที่บริการการศึกษาร่วมกัน และเสนอ ขอ้ ตกลงใหเ้ ขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาเห็นชอบ 2) กาหนดแผนการรับนักเรยี นของสถานศึกษา โดยประสานงานกบั เขตพนื้ ที่การศึกษา 3) ดาเนนิ การรบั นกั เรยี นตามท่ีแผนกาหนด 4) ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ชุมชน ในการติดตามช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาในการ เข้าเรียน 5) ประเมนิ ผลและรายงานผลรับเดก็ เข้าเรยี นใหเ้ ขตพ้ืนท่กี ารศึกษาทราบ 19. การจดั ทาสามะโนนกั เรยี น มหี นา้ ท่ีรบั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดังนี้ 1) ประสานงานกับชุมชนและท้องถิ่นในการสารวจข้อมูล จานวนนักเรียนที่จะเข้ารับบริการ ทางการศกึ ษาในเขตบริการของสถานศกึ ษา 2) จัดทาสามะโนผู้เรยี นทจ่ี ะเขา้ รบั บริการทางการศึกษาของสถานศึกษา 3) จดั ระบบข้อมูลสารสนเทศจากสามะโนผเู้ รียนให้เขตพน้ื ที่การศกึ ษารบั ทราบ 20. การทัศนศกึ ษา มหี นา้ ทีร่ ับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังนี้ 1) วางแผนการนานกั เรยี นไปทศั นศกึ ษานอกสถานศึกษา 2) ดาเนนิ การนานกั เรยี นไปทัศนศึกษานอกสถานศกึ ษา ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการท่กี าหนด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook