เอกสารประกอบการเรยี น วชิ า หอ้ งสมุด 1 รหสั วิชา ท20205 มัธยมศึกษาชั้นปที ี่ 3 ครูอคั รพล ดรี อบ โรงเรียนโคกยางวิทยา สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 33 (สุรนิ ทร์)
หน่วยที่ 2 วสั ดุสารนิเทศในหอ้ งสมดุ
ตอนที่ 1 วสั ดสุ ารนิเทศ วสั ดสุ ารนเิ ทศหรือทรัพยากรสารสนเทศ คอื วัสดุทห่ี อ้ งสมุดจัดหามาเพื่อให้บริการความรู้ ข่าวสารแก่ผู้ใช้ในรปู แบบของ วสั ดตุ พี มิ พ์ เชน่ หนงั สือ วารสาร หนังสอื พมิ พ์ และสิ่งพมิ พ์อ่ืนๆ รูปแบบของ วสั ดุไมต่ ีพิมพ์ เชน่ วีดิทัศน์ วีดิโอซดี ี โทรทัศน์ และรูปแบบวสั ดุสารสนเทศอิเล็กทรอนกิ ส์ เช่น อินเตอรเ์ น็ต เป็นต้น วสั ดุสารนิเทศแบ่งเปน็ 3 ประเภท คือ 1. วสั ดตุ ีพิมพ์ ( Printed Materials) ได้แก่ สง่ิ พิมพ์ทั้งหลายท่ีใชเ้ ป็นส่ือความรู้ระหว่าง ผ้เู ขยี นกับผูอ้ ่าน อนั ประกอบดว้ ยความรู้ สาระ และความบันเทงิ (อำไพวรรณ ทัพเปน็ ไทย 2549: 42) 1. หนงั สอื ( Book) คือ สิ่งพิมพท์ ่เี ย็บรวมเป็นรูปเลม่ คงทนถาวร มคี วามหนา พอประมาณ อาจเป็นปกอ่อนหรือปกแข็งก็ได้ มกี ารเรียบเรียงไว้ตามหลักสากล หนงั สือเปน็ ส่ิงพิมพ์ทเี่ กดิ จาก ความคดิ สตปิ ญั ญา ความรู้ และประสบการณข์ องมนุษย์ แบง่ ออกตามลกั ษณะเนื้อหาและการใช้งานเป็น ประเภทต่างๆดังน้ี 1. หนงั สอื สารคดี ( Nonfiction Book) เปน็ หนังสือมงุ่ ให้ความรู้และ สาระแก่ผู้อา่ น ได้แก่ หนงั สอื ตำราวชิ าการ หนงั สอื อา้ งองิ หนังสอื อา่ นประกอบ หนังสอื ความรู้ทว่ั ไป 2. หนงั สือบันเทิงคดี ( Fiction Book) เปน็ หนงั สือที่มหี นงั สือหามงุ่ ให้ความบนั เทิงแก่ผู้อ่าน เขยี นขนึ้ มาจากประสบการณ์หรือจินตนาการของผู้เขยี น โดยอาศยั เคา้ เรื่องจากความ เปน็ จรงิ จากเรอ่ื งของบุคคลในสังคม ซ่ึงผอู้ า่ นจะได้รับความเพลดิ เพลิน ได้รบั ขอ้ คดิ คติชวี ิตที่ผเู้ ขียนสอดแทรก เอาไว้ในเรื่องด้วย ได้แก่นวนิยาย หนงั สือสำหรบั เดก็ เรอื่ งสน้ั บทละคร บทร้อยกรองต่างๆ 1.2 ส่ิงพิมพ์ต่อเนอื่ ง (Serials ) ได้แก่ 1.2.1 หนงั สอื พมิ พร์ ายวันเป็นสงิ่ พิมพ์ท่ีมีกำหนดออกเป็นประจำทุกวนั 1.2.2 วารสาร นิตยสาร 1.2.3 หนงั สือรายปี 1.3 จุลสาร (Pamplets) 1.4 กฤตภาค (Clippings)
วสั ดไุ ม่ตีพมิ พ์ 2. วสั ดไุ ม่ตีพิมพ์ (Nonprinted Materials) หรอื เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ โสตทัศนวัสดหุ มายถงึ ส่ือความรู้ ทง้ั หลายที่อยู่ในรปู ของเสียงและภาพ ทำให้เกิดการเรยี นร้ไู ด้เร็ว เข้าใจง่ายและชดั เจน ได้แก่ โสตทศั นวสั ดชุ นิด ตา่ งๆ ซ่ึงห้องสมุดแต่ละแห่งอาจมีไวใ้ ห้บรกิ ารไม่เหมือนกันขน้ึ อยูก่ ับขนาดห้องสมุด ความพรอ้ ม และความ ตอ้ งการของผใู้ ช้ ตลอดจนงบประมาณในการจัดการ (อำไพวรรณ ทัพเปน็ ไทย 2538: 58-61) ได้แก่ 2.1 รปู ภาพ (Pictures) เชน่ ภาพเขยี น ภาพถ่าย ภาพสถานที่ ภาพเหตกุ ารณ์ต่างๆ ภาพที่หอ้ งสมุด เก็บไวใ้ ห้บริการนนั้ ต้องคมชดั มีคณุ คา่ ทางใดทางหนึง่ ต่อการศกึ ษา และการเรยี นการสอน 2.2 ของตวั อย่าง ได้แก่ วัสดเุ พยี งบางสว่ นทน่ี ำมาเพ่อื ใช้เปน็ ตวั แทนของสงิ่ ของกลุ่มหน่งึ หรอื ประเภทหนึ่งท่ีหายากหรือราคาแพง หรอื มีขนาดใหญเ่ กนิ กวา่ จะนำมาแสดงไดท้ ั้งหมด เช่น สัตว์ แร่ 2.3 แผนท่ี (Maps) มหี ลายลกั ษณะ เชน่ แบบแผน่ ผบั แบบเยบ็ รวมเปน็ เล่ม หรือแบบแขวนได้ มี ขนาดใหญ-่ เลก็ ต่างกัน ใช้แสดงตำแหน่งที่ตั้ง อาณาเขตของประเทศ ลักษณะภมู ปิ ระเทศเส้นคมนาคมตดิ ต่อกัน เปน็ อปุ กรณ์ทม่ี ีคณุ ค่าในวิชาภมู ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ สงั คมศาสตร์ 2.4 หนุ่ จำลอง คอื วัสดสุ ามมติ ทิ ส่ี ร้างข้นึ มามลี ักษณะคลา้ ยของจริง ใชป้ ระกอบคำอธบิ ายใหเ้ ข้าใจ ง่าย ขนาดอาจใหญห่ รอื เล็กกว่าของจริงก็ได้ข้ึน อยู่กบั ความเหมาะสมในการนำมาใช้ 2.5 แถบบนั ทึกภาพ ( วดี ีโอ, วดี ีโดซดี ี) ส่ิงเหลา่ นจี้ ะเกบ็ ไว้เป็นชดุ ๆ เรียงตามหมวดอักษร การใช้ บรกิ ารจะต้องผ่านเจา้ หนา้ ทข่ี องหอ้ งสมุด บางแห่งจะมีอุปกรณเ์ คร่ืองฉายให้ยมื ด้วยหรือบางแหง่ อาจใหบ้ ริการ ดูภายในหอ้ งสมุดเทา่ น้นั 2.6 แถบบนั ทกึ เสียง (เทป)
วัสดุอิเลก็ ทรอนกิ ส์ วัสดุอเิ ล็กทรอนิกส์ (electronic materials) เป็นวัสดสุ ารสนเทศท่จี ัดเกบ็ สารสนเทศในรปู อักษร ภาพ และเสียงไว้โดยการแปลงสารสนเทศให้เปน็ สัญญาณอเิ ล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะตอ้ งมีเครื่องมือสำหรบั จัดเก็บและ แสดงผลออกมา โดยการแปลงสัญญาณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ใหเ้ ป็นสญั ญาณภาพและเสียง อีกคร้งั หนง่ึ เชน่ 1.1 เทปแม่เหลก็ (magnetic tape) มีลกั ษณะคลา้ ยแถบบนั ทกึ เสยี ง ความยาวปกติ 2,400 ฟตุ กวา้ ง 0.5 น้ิว ทำด้วยพลาสติก เคลือบด้วยสารไอออนออกไซด์ (iron oxide) ทำให้เป็นสารแม่เหล็ก ข้อมูลทม่ี คี วามยาว 80 ตัวอกั ษร สามารถบันทึกไว้ในเทปแมเ่ หลก็ ท่มี ีความยาวเพียง 0.1 น้วิ หรอื 1 มว้ น บรรจุข้อมูลไดถ้ ึง 100 ลา้ นตวั อกั ษร สามารถบนั ทึกซำ้ (reversed) หรอื ลบข้อมลู ได้ 1.2 จานแม่เหลก็ /แผน่ ดสิ เก็ต (disket) เป็นแผ่นโลหะหุ้มด้วยไมลาอกี 1 ชน้ั มีหลายชนิดและหลายขนาด แต่ละชนดิ มสี มรรถนะความจุในการบันทึกข้อมลู ได้แตกตา่ งกัน 1.3 แผ่นจานแสง (optical disc) เป็นแผ่นโลหะผสมพิเศษ มคี วามแขง็ แรงน้ำหนักเบา ขนาด เสน้ ผ่าศูนย์กลางประมาณ 4 ¾ น้วิ บันทึกและอา่ นสารสนเทศด้วยระบบแสงเลเซอร์ ต้องมเี คร่ืองบันทึกและ อา่ นโดยเฉพาะ ประเภทของจานแสงท่ผี ู้ใชค้ นุ้ เคยมากท่ีสดุ คือ ซีดี-รอม (Compact Disc Read Only Memory หรอื CD-ROM) มีลกั ษณะเหมือนแผน่ จานแสงท่วั ไปใช้อา่ นขอ้ มูลได้อย่างเดียว ไมส่ ามารถบนั ทึก หรอื แก้ไขขอ้ มูลท่ีบนั ทึกไว้ได้ แผน่ ซดี ี-รอม มีความสามารถในการบรรจสุ ารสนเทศได้มาก ซีดี-รอม 1 แผ่น จุ ข้อความไดเ้ ทียบเทา่ หนงั สือหนาประมาณ 275,000 หน้ากระดาษ หรือ 600 ล้านตัวอักษร ซง่ึ ในปัจจุบันมีการ พัฒนามากข้นึ สามารถบันทึกสารสนเทศไดท้ ้ังภาพ เสยี ง ตัวอกั ษร และภาพเคล่ือนไหว ในลกั ษณะสือ่ ผสม (multimedia) และเปน็ ทน่ี ยิ มใช้กนั โดยท่วั ไป ซงึ่ จะกลา่ วถงึ โดยละเอียดในเรื่องฐานข้อมูลซดี ี-รอม 1.4 อินเทอร์เนต็ (Internet)เป็นเครือขา่ ยของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ระบบตา่ ง ๆ ท่ีเช่อื มโยงกัน ลักษณะ ของระบบอินเทอร์เนต็ เปน็ เสมอื นใยแมงมุม ท่คี รอบคลุมทั่วโลก ในแตล่ ะจุดทเี่ ชือ่ มต่ออินเทอรเ์ น็ตนน้ั สามารถสอื่ สารกนั ไดห้ ลายเส้นทาง โดยไม่กำหนดตายตวั และไมจ่ ำเป็นต้องไปตามเสน้ ทางโดยตรง การเลอื กใช้ทรพั ยากรสารสนเทศ เราสามารถเลอื กใชท้ รัพยากรสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและเป็นประโยชน์ โดยมีหลกั ในการพิจารณา ดงั นี้ (มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ,2549) 1. มีความสอดคลอ้ งกับเน้ือหาสารสนเทศที่ตอ้ งการ เช่น ถา้ ตอ้ งการสารสนเทศเฉพาะวิชา ควรเลอื กใช้ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนังสืออา้ งอิง ตำราและวารสารวชิ าการ มากกว่าประเภทหนงั สือท่วั ไปและ นติ ยสาร หากต้องการสารสนเทศที่แสดงความสัมพนั ธข์ องเร่ืองราวอยา่ งชัดเจน ควรเลือกใชท้ รัพยากร สารสนเทศทเ่ี ปน็ ภาพเคล่อื นไหวเชน่ วดี ทิ ศั น์ วีซีดหี รอื ดวี ีดี เป็นตน้ หากตอ้ งการฟงั การบรรยาย เพลง ดนตรี ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศท่มี บี นั ทกึ เสยี ง เช่น เทป ซีดี หรือ วซี ีดี เปน็ ต้น 2. การพจิ ารณาความน่าเชือ่ ถอื ในตวั ทรพั ยากร ผเู้ รียนจะตอ้ งพจิ ารณาจากชื่อเสยี ง ประสบการณ์หรือ คณุ วุฒิของผแู้ ต่ง สำนกั พมิ พ์หรอื ผู้ผลิตทรัพยากรสารสนเทศด้วย เชน่ หนงั สอื อา้ งอิงจะมคี วามน่าเช่อื ถอื มากกว่าหนังสือทว่ั ไป เพราะเขยี นและรวบรวมโดยผ้ทู รงคุณวุฒหิ รือผู้เช่ียวชาญในสาขาวชิ า 3. ความสะดวกในการใชง้ าน ทรพั ยากรประเภทตีพมิ พ์จะสามารถนำมาใชง้ านไดง้ า่ ยกวา่ ทรัพยากร ประเภทไมต่ พี ิมพ์ หรือทรพั ยากรอเิ ล็กทรอนิกส์ เพราะสามารถใช้งานได้ทนั ที ไมจ่ ำเป็นต้องใช้อปุ กรณใ์ นการ
แสดงผลเหมอื นกับทรัพยากรประเภทไม่ตีพิมพห์ รือ ทรพั ยากรอเิ ล็กทรอนิกส์ 4. ความทนั สมัยของเน้ือหา เช่น หากผู้เรยี นต้องการสารสนเทศท่ที ันต่อเหตุการณแ์ ล้ว ก็สมควรเลือก พจิ ารณาสารสนเทศที่ได้จากทรัพยากรประเภทอนิ เทอร์เน็ต เพราะมกี ารเปลี่ยนแปลงทำให้ทันสมัยอยู่ ตลอดเวลา หรือเลอื กใชท้ รัพยากรตพี ิมพป์ ระเภทหนังสอื พิมพ์ท่ีมีการให้ข้อมลู ทก่ี ำลังเป็นท่นี า่ สนใจและไดร้ บั ความสนใจในปัจจบุ นั เมอื่ นกั เรยี นศึกษาเอกสารประกอบการเรียน เรื่องวัสดสุ ารนิเทศ จบแล้ว นกั เรยี นสามรถ แสดงพฤติกรรมต่อไปนี้ 1. แยกประเภทของวสั ดุนิเทศได้ 2. บอกความหมายและประโยชนข์ องหนังสอื ได้ 3. บอกชื่อและรายละเอยี ดส่วนต่างๆของหนังสอื ได้ 4. บอกประเภทและส่วนตา่ งๆของวารสารได้ 5. บอกประเภทและประโยชน์ของหนังสือพิมพ์ได้ 6. บอกความสำคญั และประโยชนข์ องจลุ สารได้
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: