Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค ปีการศึกษา 2563

คู่มือนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค ปีการศึกษา 2563

Published by napatt.inc, 2020-07-29 06:42:45

Description: วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ Bachelor of Scieสnาcขe าPrวoิชgrาamรงั inสRเี ทadคioนloิคgical Technology คณะเทคโนโลยีวิทยาศาสตรสุขภาพ วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารังสเี ทคนิค ช่ือสถาบันอุดมศึกษา วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควชิ า คณะเทคโนโลยีวทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ ๑. รหัสและชื่อหลักสูตร หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารังสเี ทคนคิ Bachelor of Science Program in Radiological Technology ช่อื ภาษาไทย ช่ือภาษาอังกฤษ ๒. ช่ือปริญญาและสาขาวิชา ช่ือเตม็ วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (รังสีเทคนิค) วท.บ. (รังสีเทคนิค) ชอื่ ภาษาไทย ชอ่ื เตม็ Bachelor of Science (Radiological Technology) ชอ่ื ยอ B.Sc. (Radiological Technology) ชอ่ื ยอ ชอื่ ภาษาองั กฤษ ๓. วชิ าเอก (ถา ม)ี ไมมี ๔. จำนวนหนว ยกติ ท่ีเรยี นตลอดหลกั สูตร จำนวนหนว ยกิตตลอดหลกั สูตร ๑๔๖ หนว ยกติ ๕. รูปแบบของหลักสตู ร ๕.๑ รปู แบบ หลักสูตรระดบั ปริญญาตรี ระยะการศึกษา ๔ ป ๕.๒ ภาษาทใ่ี ช ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ๕.๓ การรับเขา ศึกษา รบั นักศึกษาไทย และนกั ศกึ ษาตางประเทศทสี่ ามารถใชภ าษาไทยไดเปนอยา งดี ๕.๔ ความรวมมอื กบั สถาบนั อน่ื ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ และมคี วามรวมมือจัดการเรยี นการสอนกับ เปนหลักสตู รเฉพาะวทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จุฬาภรณ ๕.๔.๑ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ไดแ ก ๕.๔.๑.๑ คณะวทิ ยาศาสตร ความรว มมอื ในลกั ษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร ๕.๔.๑.๒ คณะสงั คมศาสตรและมนุษยศาสตร ความรว มมอื ในลกั ษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ วชิ าสงั คมศาสตรแ ละมนษุ ยศาสตร ๕.๔.๑.๓ คณะศลิ ปศาสตร ความรว มมือในลักษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป กลุมวชิ าภาษา 2 คูม ือหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชารงั สีเทคนิค ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ ๕.๔.๑.๑ คณะวิทยาศาสตร ความรว มมอื ในลกั ษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร ๕.๔.๑.๒ คณะสังคมศาสตรและมนษุ ยศาสตร ความรว มมอื ในลกั ษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ วชิ าสงั คมศาสตรแ ละมนษุ ยศาสตร ๕.๔.๑.๓ คณะศลิ ปศาสตร ความรวมมอื ในลกั ษณะการจัดการสอนรายวชิ าในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุม วิชาภาษา ๕.๔.๑.๔ วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีการกีฬา คณะสตั วแพทยศาสตร และคณะสิง่ แวดลอ มและ ทรัพยากรศาสตร ความรวมมือในลกั ษณะการจัดการสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป กลมุ สขุ ภาพและ นนั ทนาการ ๕.๔.๑.๕ คณะเทคนคิ การแพทย ความรว มมอื ในลกั ษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าเฉพาะ กลมุ วชิ า พื้นฐาน ๕.๔.๑ มหาวิทยาลยั มหิดล ไดแก ๕.๔.๑.๑ คณะวิทยาศาสตร ความรว มมอื ในลกั ษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร ๕.๔.๑.๒ คณะสงั คมศาสตรแ ละมนษุ ยศาสตร ความรว มมอื ในลกั ษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ วชิ าสงั คมศาสตรแ ละมนษุ ยศาสตร ๕.๔.๑.๓ คณะศลิ ปศาสตร ความรว มมอื ในลกั ษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ วชิ าภาษา ๕.๔.๑.๔ วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยกี ารกฬี า คณะสตั วแพทยศาสตร และคณะสง่ิ แวดลอ มและทรพั ยากรศาสตร ความรว มมอื ในลกั ษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ สขุ ภาพและนนั ทนาการ ๕.๔.๑.๕ คณะเทคนคิ การแพทย ความรว มมอื ในลกั ษณะการจดั การสอนรายวชิ าในหมวดวชิ าเฉพาะ กลมุ วชิ าพน้ื ฐาน ๕.๔.๒ โรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ โรงพยาบาลสงั กดั มหาวทิ ยาลยั โรงพยาบาลสงั กดั มหาวทิ ยาลยั โรงพยาบาลสงั กดั กรงุ เทพมหานคร โรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงกลาโหม โรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงมหาดไทยและสถานพยาบาลเอกชน โดยรว มมอื ลกั ษณะเปน สถานทฝ่ี ก งานภาคสนามและอนญุ าตใหน กั รงั สเี ทคนคิ ในสงั กดั เปน อาจารยผ คู วบคมุ การ ปฏบิ ตั งิ านทางรงั สเี ทคนคิ ๕.๕ การใหปรญิ ญาแกผูสำเรจ็ การศกึ ษา ใหป รญิ ญาเพยี งสาขาวชิ าเดยี ว 3 คูมอื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ ารังสีเทคนิค ๖. อาชพี ท่สี ามารถประกอบไดหลังสำเรจ็ การศึกษา นักรังสีเทคนิค หรือนักรังสีการแพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาในสถานบริการสุขภาพ โดยทำงานเกี่ยวของกับการใชรังสีเพื่อการ วินิจฉัยและรักษาโรคกับผูปวย รวมทั้งทำงานดานความปลอดภัยทางรังสี นักวิทยาศาสตร นักวิจัย อาจารย นักวิชาการ ประกอบอาชีพ ดานเครื่องมือแพทย หรือศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษา สาขารังสีเทคนิค วิทยาศาสตรสุขภาพหรือสาขาที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและ ตางประเทศ คำอธิบายหลักสูตร หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารงั สเี ทคนคิ เปน หลกั สตู รทม่ี งุ เนา ผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี วามรแู ละทกั ษะในสาขาวชิ าชพี รงั สเี ทคนคิ ที่สามารถถายทอดความรูและแสดงเจตคติอันดีงามเกี่ยวกับวิชาชีพ ตลอดจนมีสวนรวมดานงานวิจัยในแขนงวิชาที่เกี่ยวของเพื่อพัฒนา องคค วามรู รวมถงึ การเรยี นรตู ลอดชวี ติ เพอ่ื เปน กำลงั สำคญั ในการพฒั นาระบบสาธารณสขุ ของประเทศได โดยมวี ตั ถปุ ระสงคข องหลกั สตู ร คือ เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรูความชำนาญและทักษะทางวิชาชีพรังสีเทคนิค ทั้งสาขารังสีวินิจฉัยรังสีรักษาและเวชศาสตรนิวเคลียรได อยา งถกู ตอ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถทำงานเปน ทมี รว มกบั สหวชิ าชพี ในการใชร งั สที างการแพทยไ ดอ ยา งถกู ตอ งตามมาตรฐานสากลสามารถ ถา ยทอดความรเู กย่ี วกบั ความปลอดภยั จากผลของรงั สที ง้ั กบั ตนเองและผอู น่ื อกี ทง้ั ยงั ผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการประกอบ วชิ าชพี มีจรรยาบรรณและเจตคตทิ ีด่ ตี ามมาตรฐานวชิ าชีพรงั สเี ทคนิคเพอื่ ประโยชนในการพัฒนาวชิ าชีพใหกาวไกลและนำไปสกู ารวจิ ัย แผนการศกึ ษาตลอดหลกั สตู ร 4 ป ของโรงเรยี นรงั สเี ทคนคิ คณะเทคโนโลยวี ทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ ชน้ั ปท ่ี ๑ ภาคการศกึ ษาท่ี ๑ รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภคม ๑๐๑ เคมที ว่ั ไป ๓ (๓-๐-๖) CHCH 101 General Chemistry ๑ (๐-๓-๑)๑ จภคม ๑๐๒ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี ๒ (๒-๐-๔) CHCH 102 Chemistry Laboratory ๒ (๒-๐-๔) จภฟส ๑๐๑ ฟส กิ สพ น้ื ฐานสำหรบั วทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ ๒ (๑.๕-๑-๓.๕) CHPY 101 Basic Physics for Health Science ๓ (๒-๒-๕) จภคณ ๑๐๑ แคลคลู สั CHMA 101 Calculus จภชว ๑๐๑ ฐานของชวี ติ CHBI 101 Basic of Life จภภอ ๑๐๑-๑๐๓ ภาษาองั กฤษ (ระดบั ๑-๓) CHEN 101-103 English Level 1-3 4 คมู ือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารังสเี ทคนคิ ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชารังสีเทคนิค รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภศท ๑๐๑ CHGE 101 การศกึ ษาทว่ั ไปเพอ่ื การพฒั นามนษุ ย ๒ (๑-๒-๓)๑ จภศท ๑๐๒ CHGE 102 General Education for Human Development จภศท ๑๐๓ CHGE 103 สงั คมศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นามนษุ ย ๓ (๒-๒-๕)๑ จภภท ๑๐๑ CHTH 101 Social Studies for Human Development ศลิ ปวทิ ยาการเพอ่ื การพฒั นามนษุ ย ๒ (๑-๒-๓)๑ Arts and Science for Human Development ศลิ ปะการใชภ าษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร ๓ (๒-๒-๕)๑ Art of Using Thai Language in Communication รวม ๒๓ (๑๖.๕-๑๔-๓๙.๕) ๑ เปน รายวชิ าทจ่ี ดั การเรยี นการสอนตอ เนอ่ื งทง้ั สองภาคการศกึ ษา และมกี ารประเมนิ ผลการศกึ ษาในปลายภาคเรยี นท่ี ๒ ชน้ั ปท ่ี ๑ ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภคม ๑๐๓ เคมอี นิ ทรยี พ น้ื ฐาน ๓ (๓-๐-๖) CHCH 103 Basic Organic Chemistry ๑ (๐-๓-๑)๑ จภคม ๑๐๒ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี ๓ (๓-๐-๖) CHCH 102 Chemistry Laboratory ๑ (๐-๓-๑) จภฟส ๑๐๒ ฟส กิ สส ำหรบั วทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ ๒ (๒-๐-๔) CHPY 102 Physics for Health Science ๓ (๒-๒-๕) จภฟส ๑๐๓ ปฏบิ ตั กิ ารฟส กิ สท ว่ั ไป ๒ (๑-๒-๓)๑ CHPY 103 General Physics Laboratory ๓ (๒-๒-๕)๑ จภคณ ๑๐๒ สมการเชงิ อนพุ นั ธส ามญั CHMA 102 Ordinary Differential Equations จภภอ ๑๐๒-๑๐๔ ภาษาองั กฤษ (ระดบั ๒-๔) CHEN 102-104 English Level 2-4 จภศท ๑๐๑ การศกึ ษาทว่ั ไปเพอ่ื การพฒั นามนษุ ย CHGE 101 General Education for Human Development จภศท ๑๐๒ สงั คมศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นามนษุ ย CHGE 102 Social Studies for Human Development 5 คมู อื หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารังสเี ทคนิค รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภศท ๑๐๓ ศลิ ปวทิ ยาการเพอ่ื การพฒั นามนษุ ย ๒ (๑-๒-๓)๑ CHGE 103 Arts and Science for Human Development จภภท ๑๐๑ ศลิ ปะการใชภ าษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร ๓ (๒-๒-๕)๑ CHTH 101 Art of Using Thai Language in Communication จภxx xxx เลอื กเรยี นวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป ๔๒ (๔-๐-๘) ๑๖ (๑๔-๕-๓๐) รวม ๑ เปน รายวชิ าทจ่ี ดั การเรยี นการสอนตอ เนอ่ื งทง้ั สองภาคการศกึ ษา และมกี ารประเมนิ ผลการศกึ ษาในปลายภาคเรยี นท่ี ๒ ๒ เลอื กเรยี นหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ วชิ ามนษุ ยศาสตรส งั คมศาสตร หรอื กลมุ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร หรอื กลมุ สขุ ภาพและ นนั ทนาการ ชน้ั ปท ่ี ๒ ภาคการศกึ ษาท่ี ๑ รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภกว ๒๐๑ กายวภิ าคศาสตรพ น้ื ฐาน ๓ (๒-๓-๕) CHAN 201 Basic Anatomy จภรส ๒๐๑ ฟส กิ สร งั สี ๓ (๓-๐-๖) CHRT 201 Radiation Physics จภรส ๒๐๒ รงั สคี ณติ ๒ (๒-๐-๔) CHRT 202 Radiation Dosimetry จภรส ๒๐๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศสำหรบั นกั รงั สเี ทคนคิ ๒ (๒-๐-๔) CHRT 203 Information Technology for Radiological Technologist จภxx xxx เลอื กเรยี นวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป ๘๓ (๘-๐-๑๖) รวม ๑๘ (๑๗-๓-๓๕ ๓ เลอื กเรยี นหมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป กลมุ วชิ ามนษุ ยศาสตรส งั คมศาสตร หรอื กลมุ วชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร หรอื กลมุ สขุ ภาพและ นนั ทนาการ) 6 คูม ือหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ ารังสีเทคนคิ ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารังสีเทคนิค ชน้ั ปท ่ี ๒ ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภชค ๒๐๑ ชวี เคมเี บอ้ื งตน ๓ (๓-๐-๖) CHBC 201 Basic Biochemistry ๑ (๐-๓-๑) จภชค ๒๐๒ ปฏบิ ตั กิ ารชวี เคมเี บอ้ื งตน ๓ (๒-๓-๕) CHBC 202 Basic Biochemistry Laboratory ๒ (๒-๐-๔) จภสร ๒๐๑ สรรี วทิ ยาพน้ื ฐาน ๒ (๒-๐-๔) CHPS 201 Basic Physiology ๓ (๒-๓-๖) จภคณ ๒๐๑ สถติ ศิ าสตรส ำหรบั วทิ ยาศาสตรส ขุ ภาพ ๒ (๑-๒-๓) CHMA 201 Statistics for Health Science ๑ (๑-๐-๓) จภฟส ๒๐๒ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส CHPY 202 Electronics ๑๗ (๑๓-๑๑-๓๒) จภรส ๒๐๔ การสรา งภาพทางรงั สี CHRT 204 Radiographic Imaging จภรส ๒๐๕ ภาพดจิ ทิ ลั ทางการแพทย CHRT 205 Medical Digital Image จภรส ๒๐๖ การปอ งกนั อนั ตรายทางรงั สเี บอ้ื งตน CHRT 206 Basic Radiation Protection รหสั วชิ า รวม จภรส ๓๐๑ CHRT 301 ชน้ั ปท ่ี ๓ ภาคการศกึ ษาท่ี ๑ จภรส ๓๐๒ CHRT 302 ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภรส ๓๐๓ CHRT 303 รงั สชี วี วทิ ยา ๒ (๒-๐-๔) จภรส ๓๐๕ CHRT 305 Radiobiology จภรส ๓๐๖ จCHRT 306 พยาธวิ ทิ ยาพน้ื ฐาน ๓ (๒-๒-๕) Basic Phathology การดแู ลผปู ว ยในงานรงั สวี ทิ ยา ๒ (๑-๒-๓) Patient Care in Radiology การตรวจเอกซเรยท ว่ั ไป ๑ ๒ (๑-๒-๓) General Radiography I การตรวจเอกซเรยท ว่ั ไป ๒ ๒ (๑-๒-๓) General Radiography II 7 คูมอื หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารังสเี ทคนคิ ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชารังสีเทคนคิ ชน้ั ปท ่ี ๓ ภาคการศกึ ษาท่ี ๑ รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภรส ๓๐๗ CHRT 307 เครอ่ื งมอื และการควบคมุ คณุ ภาพในงานรงั สวี นิ จิ ฉยั ๓ (๒-๒-๔) จภรส ๓๐๘ CHRT 308 Instrument and Quality Control in Diagnostic Radiology จภรส ๓๐๙ CHRT 309 การตรวจทางรงั สวี ทิ ยาทใ่ี ชส ารเปรยี บตา ง ๑ (๑-๐-๒) จภรส ๓๑๐ CHRT 310 Contrasted Radiological Procedure รหสั วชิ า สมั มนาและระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทางรงั สเี ทคนคิ ๑ (๑-๐-๒) จภรส ๓๐๔ CHRT 304 Seminar and Research Methodology in Radiological Technology จภรส ๓๑๑ CHRT 311 การฝก งานรงั สวี นิ จิ ฉยั ทว่ั ไป ๓ (๐-๑๔-๐) จภรส ๓๑๒ CHRT 312 Professional Practice in General Diagnostic Radiology จภรส ๓๑๓ CHRT 313 รวม ๑๙ (๑๑-๒๔-๒๖) จภรส ๓๑๔ CHRT 314 ชน้ั ปท ่ี ๓ ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ จภรส ๓๑๕ CHRT 315 ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภรส ๓๑๖ CHRT 316 รงั สพี ยาธวิ ทิ ยา ๒ (๑-๒-๓) จภรส ๓๑๗ CHRT 317 Radiographic Pathology จภรส ๓๑๘ CHRT 318 เอกซเรยเ ตา นม ๑ (๑-๐-๒) Mammography เอกซเรยค อมพวิ เตอร ๒ (๒-๐-๔) Computed Tomography การสรา งภาพดว ยคลน่ื เสยี งความถส่ี งู ๑ (๑-๐-๒) Ultrasonography การสรา งภาพดว ยเครอ่ื งสนามแมเ หลก็ ไฟฟา แรงสงู ๒ (๒-๐-๔) Magnetic Resonance Imaging กายวภิ าคแนวตดั ในงานรงั สวี ทิ ยา ๓ (๒-๒-๕) Sectional anatomy in Radiology การฝก งานรงั สวี นิ จิ ฉยั พเิ ศษ ๓ (๐-๑๔-๐) Professional Practice in Special Radiography ฟส กิ สแ ละอปุ กรณท างเวชศาสตรน วิ เคลยี ร ๓ (๒-๒-๕) Physics and Nuclear Medicine Instrument ภาคนพิ นธ ๑ (๐-๓-๐)๔ Term Paper 8 คมู ือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารงั สเี ทคนคิ ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ รวม ๑๘ (๑๑-๒๓-๒๕) ๔ เปน รายวชิ าทจ่ี ดั การเรยี นการสอนตอ เนอ่ื งทง้ั สองภาคการศกึ ษา หรอื การศกึ ษาไปสน้ิ สดุ ในภาคปลาย ชน้ั ปท ่ี ๓ ภาคการศกึ ษาฤดรู อ น รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภรส ๓๑๙ เทคนคิ การสรา งภาพทางเวชศาสตรน วิ เคลยี ร CHRT 319 จภรส ๓๒๐ และการประยกุ ตใ ชท างคลนิ กิ ๑ ๓ (๓-๐-๖) CHRT 320 Nuclear Medicine Imaging and Clinical Application I จภรส ๓๒๑ CHRT 321 เทคนคิ การสรา งภาพทางเวชศาสตรน วิ เคลยี ร และการประยกุ ตใ ชท างคลนิ กิ ๒ ๓ (๓-๐-๖) Nuclear Medicine Imaging and Clinical Application II การฝก งานทางเวชศาสตรน วิ เคลยี ร ๓ (๐-๑๔-๐) Professional Practice in Nuclear Medicine ชน้ั ปท ่ี ๔ ภาคการศกึ ษาท่ี ๑ รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภรส ๔๐๑ CHRT 401 ศาสตรก ารสอนสำหรบั วชิ าชพี รงั สเี ทคนคิ ๑ (๑-๐-๒) จภรส ๔๐๒ CHRT 402 Arts of Teaching for Radiological Technologist Profession จภรส ๔๐๓ CHRT 403 การปอ งกนั อนั ตรายจากรงั สที างการแพทย ๒ (๒-๐-๔) จภรส ๔๐๔ CHRT 404 Radiation Protection in Medicine จภรส ๔๐๕ CHRT 405 รงั สคี ณติ และเทคนคิ การรกั ษาดว ยรงั สี ๓ (๒-๒-๕) จภรส ๔๐๖ CHRT 406 Dosimetry and Radiation Treatment Technique จภรส ๔๐๗ CHRT 407 อปุ กรณแ ละการประกนั คณุ ภาพทางรงั สรี กั ษา ๒ (๒-๐-๔) จภรส ๔๑๓-๔๑๘ Instrumentation and Quality Assurance in Radiotherapy 9 เทคนคิ ทางรงั สรี กั ษาและการประยกุ ตใ ชท างคลนิ กิ ๑ ๒ (๒-๐-๔) Radiotherapeutic Technique and Clinical application I เทคนคิ ทางรงั สรี กั ษาและการประยกุ ตใ ชท างคลนิ กิ ๒ ๒ (๒-๐-๔) Radiotherapeutic Technique and Clinical application II การฝก งานทางรงั สรี กั ษา ๓ (๐-๑๔-๐) Professional Practice in Radiotherapy วชิ าเลอื กเสรี ๓ (๓-๐-๖) คูม ือหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารงั สีเทคนคิ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารงั สเี ทคนิค รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภรส ๓๑๘ ภาคนพิ นธ ๐ (๐-๐-๐) CHRT 318 Term Pape รวม ๑๘ (๑๔-๑๖-๒๙) ชน้ั ปท ่ี ๔ ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า จำนวนหนว ยกติ (ทฤษฎ-ี ปฏบิ ตั -ิ คน ควา ) จภรส ๔๐๘ CHRT 408 กฎหมายและจรรยาบรรณวชิ าชพี สำหรบั นกั รงั สเี ทคนคิ ๑ (๑-๐-๒) จภรส ๔๐๙ CHRT 409 Law Ethic for Radiological Technologist จภรส ๔๑๙ CHRT 419 การบรหิ ารจดั การและการประกนั คณุ ภาพงานรงั สวี ทิ ยา ๒ (๒-๐-๔) จภรส ๓๑๘ CHRT 318 Management and Quality Assurance in Radiology จภรส ๔๑๐-๔๑๒ ภาษาองั กฤษสำหรบั นกั รงั สเี ทคนคิ เพอ่ื การปฏบิ ตั งิ าน ๒ (๒-๐-๔) English for Professional Radiological Technologist ภาคนพิ นธ ๐ (๐-๐-๐) Term Paper วชิ าเลอื กเสรี ๓ (๐-๑๔-๐) รวม ๘ (๕-๑๔-๑๐) ก. หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป ๑. กลมุ วชิ าสงั คมศาสตรแ ละมนษุ ยศาสตร จภศท ๑๐๐ การศกึ ษาทว่ั ไปเพอ่ื การพฒั นามนษุ ย ๒ (๑-๒-๓) CHGE 100 General Education for Human Development ความหมาย ความสำคญั และความสมั พนั ธข องวชิ าศกึ ษาทว่ั ไปกบั วชิ าชพี /วชิ าเฉพาะ ความเชอ่ื มโยงสมั พนั ธร ะหวา งพฤตกิ รรม กบั คณุ สมบตั ขิ องจติ ใจ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะหส งั เคราะหอ ยา งมวี จิ ารณญาณ คณุ สมบตั ขิ องบณั ฑติ ทพ่ี งึ ประสงค การวเิ คราะห เหตปุ จ จยั และผลกระทบของเหตกุ ารณ/ สถานการณ/ ปญ หา และการสงั เคราะหแ นวทางแกไ ข ปอ งกนั ปญ หา หรอื ปรบั ปรงุ พฒั นาเหตกุ ารณ/ สถานการณ เพอ่ื คณุ ประโยชนต อ ตนเอง ผอู น่ื และสงั คม การประยกุ ตค วามรเู พอ่ื เสนอแนวทางแกไ ขปญ หากรณศี กึ ษา 10 คมู ือหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารงั สเี ทคนคิ ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารังสีเทคนคิ The meaning, significance, and relation of General Education to other vocational/specific subjects; the relation between behavior and mentality; critical thinking; the qualifications of ideal graduates; analysis of causes and consequences of events/situations/problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies. จภศท ๑๐๒ สงั คมศกึ ษาเพอ่ื การพฒั นามนษุ ย ๓ (๒-๒-๕) CHGE 102 Social Studies for Human Development หลกั การและทฤษฎพี น้ื ฐานทเ่ี กย่ี วขอ งกบั สถานการณ/ เหตกุ ารณ/ ปญ หาทส่ี ำคญั ของสงั คมไทยและสงั คมโลก อาทิ ววิ ฒั นาการของ อารยธรรมและเหตกุ ารณส ำคญั ในประวตั ศิ าสตร ระบบการเมอื งการปกครองระบบเศรษฐกจิ ระบบสขุ ภาพ การวเิ คราะหเ หตปุ จ จยั และผล กระทบของเหตุการณ/สถานการณ/ ปญหา และการสังเคราะหแนวทางแกไข ปองกันปญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ/ สถานการณ/เพอื่ คณุ ประโยชนต อ ตนเอง ผูอนื่ และสงั คม การประยุกตค วามรูเ พ่ือเสนอแนวทางแกไ ขปญหากรณศี ึกษา Basic principles and theory in relation to events / situations / major problems of the Thai and global communities, for example, evolution of civilization; important events in historical, political and public administration systems; the economic and health systems, etc.; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies. จภทศ ๑๐๓ ศลิ ปวทิ ยาการเพอ่ื การพฒั นามนษุ ย ๒ (๑-๒-๓) CHGE 103 Arts and Science for Human Development มนษุ ยภาพในอดตี ปจ จบุ นั และอนาคต เหตกุ ารณ/ สถานการณ/ ปญ หาเกย่ี วกบั ววิ ฒั นาการทส่ี ำคญั ทางดา นศลิ ปวทิ ยาการของ ประเทศไทยและของโลก แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง การวิเคราะหเหตุปจจยั และผลกระทบของเหตุการณ/ สถานการณ/ปญหา และการ สงั เคราะหแ นวทางแกไ ข ปอ งกนั ปญ หา หรอื แนวทางปรบั ปรงุ พฒั นาเหตกุ ารณ/ สถานการณ/ เพอ่ื คณุ ประโยชนต อ ตนเอง ผอู น่ื และสงั คม การประยกุ ตความรเู พอ่ื เสนอแนวทางแกไขปญ หากรณศี กึ ษา Humankind in the past, present and future; events/situations/problems in relation to the evolution of the arts and sciences in the Thai and global communities; concepts of the sufficiency economy; analysis of causes and consequences of events/situations/problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies. 11 คูมอื หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารังสเี ทคนคิ ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารงั สเี ทคนคิ จภสค ๑๐๑ เศรษฐศาสตรส ขุ ภาพ ๒ (๒-๐-๔) CHSS 101 Health Economics ศกึ ษาเกย่ี วกบั ปรชั ญา/ทม่ี าของเศรษฐศาสตรส ขุ ภาพ ความรเู บอ้ื งตน ทส่ี าํ คญั ทางเศรษฐศาสตร เครอ่ื งมอื เศรษฐศาสตรป ระยกุ ต อธบิ ายระบบบรกิ ารสุขภาพ การผลิตบริการสขุ ภาพ ประสิทธภิ าพ ความเปนธรรม/ความเสมอภาคในการกระจายบริการทางสขุ ภาพ Philosophy/evolution of health economics, comprehensive knowledge based in economics, economic tools applied to health services system, health care production, efficiency, equity/equaly distribution in health services alocation. จภมน ๑๐๑ ศลิ ปวจิ กั ษ ๒ (๒-๐-๔) CHHU 101 Art Appreciation ความหมายและประเภทของวิจิตรศิลป คุณคาของศิลปะในชีวิตมนุษย การวิจักษผลงานชิ้นเอกดานจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรมทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ Meaning and types of fine arts; value of arts in human life; appreciation of painting, sculpture and architectural masterpieces both in Thailand and abroad. จภมน ๑๐๒ วฒั นธรรมเปรยี บเทยี บ ๒ (๒-๐-๔) CHHU 102 Comparative Culture เปรยี บเทยี บมติ ดิ า นวตั ถธุ รรม ความรคู ดิ และบรรทดั ฐานของวฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมตะวนั ตก และวฒั นธรรมอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ ง เนนความเขา ใจขามวัฒนธรรมและความวิจักษในความหลากหลายทางวัฒนธรรม Comparison of material, cognitive, and normative dimensions between Thai, Western and other related cultures with emphasis on cross cultural understanding and appreciation of cultural diversity. จภมน ๑๐๓ ศาสนาเปรยี บเทยี บ ๒ (๒-๐-๔) CHHU 103 Comparative Religion วิธีการสมัยใหมในการศึกษาศาสนา บทบาทของศาสนาในชีวิตและสังคม คําสอนพื้นฐานของศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต และ ศาสนาอสิ ลาม เปรยี บเทยี บทศั นะของศาสนาพทุ ธ ศาสนาครสิ ต และศาสนาอสิ ลามในเรอ่ื งโลกและจกั รวาล ธรรมชาตแิ ละชะตากรรมของ มนษุ ย ความสขุ ความทกุ ข และชวี ิตหลังความตาย Modern approaches to religious studies; roles of religion in life and society; basic teachings in Buddhism, Christianity, and Islam; comparison of Buddhist, Christian, and Islamic views on the world and the universe, human nature and destiny, happiness and suffering 12 คมู ือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารังสเี ทคนิค ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารงั สีเทคนคิ จภดน ๑๐๑ ภาพยนตรว จิ กั ษ ๒ (๒-๐-๔) CHMS 101 Film Appreciation คำจำกัดความ บทบาท และหนาที่ของภาพยนตร การสำรวจถึง ประเภท รูปแบบ ประวัติ พัฒนาการ ของภาพยนตร ในโลก ภาพยนตรตะวันตก-ตะวันออก และภาพยนตรไทยองคประกอบการสรางสรรคงานภาพยนตร การสำรวจภาพยนตร หลักการประเมิน สนุ ทรยี ของภาพยนตร The definitions, role and functions of Films. Survey into genres, film styles, history of films, and development in both Eastern-Western Cinematographic worlds as wel as films in Thailand. Elements of film creation. Films exploration. Principles of aesthetic evaluation in Films. จภดน ๑๐๒ ดนตรวี จิ กั ษ ๒ (๑-๒-๓) CHMS 102 Music Appreciation การเขา ใจววิ ฒั นาการ ภาพรวมของวฒั นธรรมดนตรตี ะวันตกและของโลกท้งั ในดานรปู แบบ สังคม เศรษฐกจิ อันจะนำมาสกู าร เขาใจวัฒนธรรมดนตรีอนื่ ๆ เพือ่ ประโยชนในการเปรียบเทยี บ และเพอ่ื อนาคตของวัฒนธรรมดนตรไี ทยเอง The understanding of the evolution of western and global music cultures, considering both their forms and their social and economic foundations, which wil lead to the better understandings of other music cultures as wel as the comparison and the futures of Thailand's music cultures. ๒. กลุมวิชาภาษา จภภท ๑๐๑ ศลิ ปะการใชภาษาไทยเพือ่ การสอ่ื สาร ๓ (๒-๒-๕) CHTH 101 Art of Using Thai Language in Communication ศลิ ปะการใชภ าษาไทย ทกั ษะการใชภ าษาไทยในดา นการพดู การฟง การอา น การเขยี น และการคดิ เพอ่ื การสอ่ื สารไดอ ยา งถกู ตอ งเหมาะสม Art of using Thai language and of speaking, listening, reading, writing, and thinking skils for accurate and appropriate communication. จภภอ ๑๐๑ ภาษาองั กฤษระดบั ๑ ๓(๒-๒-๕) CHEN 101 English Level 1 โครงสรา ง ไวยากรณ และศพั ทภ าษาองั กฤษในบรบิ ททเ่ี กย่ี วขอ งกบั การใชภ าษาองั กฤษในชวี ติ ประจำวนั ในลกั ษณะของบรู ณาการ ทกั ษะการใชภ าษาองั กฤษทง้ั สท่ี กั ษะ (การฟง การพดู การอา น และการเขยี น) รวมทง้ั กลยทุ ธใ นการอา นบทความ การเขยี นในระดบั ประโยค การฟง เพ่อื จบั ใจความสำคญั การออกเสียง และการพูดส่ือสารในช้นั เรียนระดับบทสนทนา 13 คูมอื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารังสีเทคนิค ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารงั สเี ทคนิค English structure, grammar and vocabulary in the context of daily language use, dealing with integration in four basic skils (listening, speaking, reading, and writing); reading strategies, sentence writing, listening for the gist, pronunciation and classroom communication. จภภอ ๑๐๒ ภาษาอังกฤษระดบั ๒ ๓ (๒-๒-๕) CHEN 102 English Level 2 คำศพั ท สำนวน ไวยากรณ และการใชภ าษาองั กฤษในบรบิ ททางสงั คมปจ จบุ นั ทกั ษะการสนทนาในกลมุ ยอ ย การทำบทบาท สมมตุ ใิ นสถานการณตา ง ๆ ทักษะการเขียนในระดับยอหนา และเนือ้ หาการอา นและการฟง เร่ืองตาง ๆ Vocabulary, expressions, grammar, and contextualized social language; essential communicative skils in smal groups; simulations in various situations; writing practice at a paragraph level; and reading and listening from various sources. จภภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดบั ๓ ๓ (๒-๒-๕) CHEN 103 English Level 3 กลยทุ ธท ส่ี ำคญั ในทกั ษะการใชภ าษาทง้ั ส่ี การอา นและการฟง จากแหลง ตา ง ๆ การพดู ในชวี ติ ประจำวนั และการเขยี นระดบั ยอ หนา และเรียงความสั้นๆ รวมทั้งทักษะยอย คือ ไวยากรณ การออกเสียงและคำศัพท เนนภาษาอังกฤษที่ใชในชีวิตประจำวันและการอานเชิง วชิ าการ และเนอ้ื หาเก่ียวกบั สงั คมโลก Essential strategies for four language skils: reading and listening from various sources, speaking in everyday use and writing at a paragraph level and short essay, including sub-skils i.e., grammar, pronunciation, and vocabulary; focusing on English in everyday life and in academic reading and issues that enhance students world knowledge. จภภอ ๑๐๔ ภาษาองั กฤษระดับ ๔ ๓ (๒-๒-๕) CHEN 104 English Level 4 บูรณาการทักษะภาษาอังกฤษ โดยการฝกอานขาว บทความวิจัย ความคิดเห็น และ เนื้อหาทางวิชาการ เพื่อความเขาใจ และคิดอยางวิเคราะหจากแหลงตางๆโดยเนนประเด็นซึ่งชวยใหนักศึกษารูเกี่ยวกับสังคมโลก ฝกการฟงขาว การบรรยายและสุนทรพจน จากส่ือมัลตมิ ีเดียและอนิ เตอรเ น็ต การสนทนาในสถานการณต า งๆ รวมทงั้ การฝกพูดในท่ีชุมชน การนำเสนอและการทำบทบาทสมมุติ ฝก การเขยี นเรยี งความรปู แบบโดยใชก ารอา งองิ และบรรณานกุ รม ทง้ั นร้ี วมทง้ั การฝก ทกั ษะยอ ย เชน ไวยากรณ การออกเสยี งและคำศพั ท ในบรบิ ทท่เี หมาะสม Integrating four English skills by practicing reading news, research articles, commentary, and academic texts, for comprehension and critical thinking, from various sources focusing on the issues that enhance students’ world knowledge; listening to news, lecture, and speech via multimedia and the Internet; making conversations in various situations including speaking in public, giving oral presentations and making simulations; and writing essays in various types using citations and references; also practicing sub-skils such as grammar, pronunciation, and vocabulary used in appropriate context. 14 คมู ือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารงั สีเทคนิค ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารงั สีเทคนคิ ๓. กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร จภชว ๑๐๑ ฐานของชีวิต ๒ (๑.๕-๑-๓.๕) CHBI 101 Basic of Life ความหลากหลายทางชีวภาพ การศึกษาเชิงเปรียบเทียบของการสืบพันธุและการเจริญของสัตว สรีรวิทยาเชิงเปรียบเทียบของ ระบบอวัยวะในมนุษยและสัตวตางๆ รวมทั้งระบบประสาท อวัยวะรับความรูสึกและตอบสนอง ระบบยอยอาหาร ระบบตอมไรทอ ระบบแลกเปล่ยี นแกส และขบั ถาย ระบบหมุนเวียนโลหติ และระบบภูมิคุม กัน และปฏิบัตกิ ารพื้นฐานทางชีววทิ ยา Biodiversity; comparative study of reproduction and development in animals; comparative physiology of organ system, receptor and motor system, digestive system, endocrine system, gas exchange and excretory system, circulatory system and immune system; and basic biology laboratories. จภศท ๑๐๔ โลกและธรรมชาติ ๓ (๓–๐–๖) CHGE 104 The Earth and Nature หลกั การสง่ิ แวดลอ ม ระบบนเิ วศนพ ลวตั รของระบบนเิ วศน สมดลุ ยข องระบบนเิ วศนก ารอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ ชมุ ชนมนษุ ย ทส่ี มั พนั ธก บั สง่ิ แวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาติ รวมทง้ั กจิ กรรมของมนษุ ยท ส่ี ง ผลกระทบโดยตรงตอ สง่ิ แวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาติ ที่ประกอบดวย ทรัพยากรน้ำ ดิน ปาไม สัตวปา แรธาตุ พลังงาน อากาศ เสียง ขยะมูลฝอย รวมทั้งกากของเสียอันตราย สถานการณ ส่ิงแวดลอ ม และวกิ ฤตกิ ารณของสิ่งแวดลอ มในประเทศ และของโลก แนวทางการจัดการทรพั ยากรท่ียัง่ ยืน Principle of Environment. Ecology and dynamic system. Balance of natural resource conservation. Human community related to their environment and human activities that directly impact on environment and natural resources which including water resource soil. Land forest. Minerals. Energy. Noise. Air. Solid waste and hazardous water Current environment situation and crisis in our country and other countries in the world. Ways of environmental management as a means for sustainable development. จภศท ๑๐๕ การมีชีวิตอยางยั่งยืน ๓ (๒–๒–๕) CHGE 105 Sustainable Living หลกั การความสมดลุ และยง่ั ยนื ของระบบนเิ วศ บทบาทของมนษุ ยท ง้ั ปจ เจกและสงั คม การสรา งและทาํ ลายความสมดลุ ระบบนเิ วศ และการดาํ เนินชีวติ การบูรณาการและการมีสวนรวมในการแกไขปญ หาส่ิงแวดลอ มเพ่อื ความย่งั ยืน Principle of balance and sustainable ecology Roles of individual and society Creation and destruction of balance of ecological system and way of living Integration and participation in ecological problems solving for sustainable living. 15 คูมือหลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารงั สีเทคนคิ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารงั สีเทคนิค จภศศ ๒๐๑ การคิดและวิเคราะหอยางใชเหตุผล ๓ (๓–๐–๖) CHLA 201 Critical Thinking and Analysis หลักการและกฎเกณฑในการใชเหตุผลที่ดี การนําหลักการและกฎเกณฑตางๆ มาใชในกระบวนการคิดและการวิเคราะห การ แสดงความคิดในรูปแบบตา งๆ เพอื่ หลกี เล่ยี งขอผดิ พลาด Principles and rules in good reasoning; application of principles and rules in thinking and analytical processes; various forms of expression of thought to avoid mistakes. จภฟส ๒๐๑ แนวคิดนาโนเทคโนโลยี ๒ (๒–๐–๔) CHPY 201 Concept in Nanotechnology พน้ื ฐานนาโนเทคโนโลยี นยิ ามและประวตั กิ ารพฒั นา ผลของขนาด แนวคดิ จากลา งสบู น การประกอบตวั เอง กลศาสตรค วอนตมั และโครงสรางนาโนควอนตัม วัสดุนาโน อนุภาคนาโน ทอนาโน การเลียนแบบดวยโมเลกุล การคํานวณแบบจําลองในระดับโมเลกุลถึง ระดับนาโน การเลียนแบบระบบชีวภาพ การวิศวกรรมโปรตีนและโครงสรางดีเอ็นเอกับการถายทอดขอมูล ระบบการนําสงยา นาโน อเิ ลก็ ทรอนกิ ส และสง่ิ ประดษิ ฐอ เิ ลก็ ทรอนกิ สค วอนตมั อเิ ลก็ ทรอนกิ สโ มเลกลุ อนั ตรกริ ยิ ากบั แสงและอปุ กรณน าโน การประดษิ ฐอ ปุ กรณน าโน เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นโครงสรา งนาโน กลอ งจลุ ทรรศนแ บบทะลผุ า น กลอ งจลุ ทรรศนแ รงอะตอมและเครอ่ื งวเิ คราะหพ น้ื ผวิ การประยกุ ตใ นอนาคต Introduction to nanotechnology, definition and development, effect of size, bottom up approach, self assemble, quantum mechanics and quantum structure, nanomaterial, nanoparticle, nanotube, molecular mimic, molecular simulation, biomimetic, protein engineering, DNA structure as an information transfer, drug delivery system, nanoelectronics and quantum electronic devices, molecular electronics, light interaction and nanodevices, fabrication of nanodevices, equipment used in nanostructures, scanning tunneling microscope, atomic force microscope and surface analysis, future application. จภศท ๑๒๐ เศรษฐศาสตรในชีวิตประจำวัน ๓ (๓–๐–๐) CHGE 120 Economics in Every Day Life ผูบริโภคอุปสงค ผูผลิตตนทุนอุปทาน กลไกตลาด การแขงขันระบบเศรษฐกิจตาง ๆ ผลิตภัณฑมวลรวมการลงทุน เงินเฟอ นโยบายการคลงั นโยบายการเงิน การกระจายรายไดด ลุ การคา Consumer, demand, producer, cost supply, market mechanism, competition economic systems, gross domestic products, investment, inflation, fiscal policy, monetary policy, income distribution, trade balance. 16 คมู ือหลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ จภศท ๑๒๑ การบูรณาการทางสุขภาพและสิ่งแวดลอม ๓ (๓–๐–๐) CHGE 121 Integrating Health and Environment แนวคิดสำหรบั “สุขภาพ” และ “สิ่งแวดลอม” มิตแิ ละระดบั ของสขุ ภาพ และปจ จยั ทก่ี ำหนดสขุ ภาพและส่งิ แวดลอมการปฏิรูป ระบบสุขภการพัฒนาเชิงยุทธศาสตรสำหรับการเสริมสรางสุขภาพและสิ่งแวดลอม การประเมินผลกระทบทางสุขภาพและสิ่งแวดลอม การวจิ ยั เชงิ บรู ณาการเพอ่ื สขุ ภาพ ตวั ชว้ี ดั ความอยดู มี สี ขุ ระบบสารสนเทศเพอ่ื เสรมิ สรา งสขุ ภาพและสง่ิ แวดลอ ม นโยบายสขุ ภาพสาธารณะ กระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต การดำเนินชีวิตเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจพอเพียง เทคนิคการบูรณาการสุขภาพ และสิ่งแวดลอมความสมั พันธระหวา งสขุ ภาพและสง่ิ แวดลอ มกบั อาชีพ Concepts of “health” and “environment”, dimensions and levels of health and factors determining health and environment. Health system reform, strategic development of health and environment promotion, healthy public policy, health and environmental impact assessment. Integrative research for health and environment, indicators of wel-beings. Information system for promoting health and environment, communication for health and environment. Learning process for developing quality of life, living for health and environment, self-sufficient economy, techniques for integrating health and environment, relation between health and environment and occupations. จภศท ๑๒๒ เทคโนโลยสี ารสนเทศในชวี ิตประจำวัน ๓ (๓–๐–๐) CHGE 122 Information Technology in Daily Life แนะนำคอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ บทบาทของเทคโนโลยสี ารสนเทศในสงั คมสมยั ใหม โครงสรา งพน้ื ฐานของเทคโนโลยี สารสนเทศ คอมพิวเตอรฮ ารด แวร ซอฟตแวร และเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารระบบฐานขอ มลู และคลงั ขอมลู ระบบสนบั สนุนการตดั สินใจและ ปญ ญาประดิษฐ พาณชิ ยอ ิเล็กทรอนกิ ส การรักษาความปลอดภยั คอมพวิ เตอร อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร และการสืบสวนเชงิ เลข Introduction to computer and information technology, the role of information technology in modern society, information technology infrastructure, computer hardware, software, and communications technology, database system and data warehouse, decision support system and artificial inteligence, electronic commerce, computer security, computer crime and digital forensics. ๔. กลมุ สขุ ภาพและนนั ทนาการ จภวก ๑๐๑ ชีวติ และสุขภาพกบั การฝกโยคะ ๓ (๒–๒–๕) CHSP 101 Life, Health and Yoga Practice 17 คมู ือหลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ ารงั สีเทคนคิ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารังสเี ทคนคิ ความเปลย่ี นแปลงวถิ ชี วี ติ ประจาํ วนั สมยั ใหมท ม่ี ผี ลตอ ภาวะสขุ ภาพ อาหาร และสง่ิ แวดลอ ม การศกึ ษาเรอ่ื งการดแู ลสขุ ภาพดว ย ยาแผนปจ จบุ นั ธรรมชาตบิ าํ บดั แมคโครไบโอตคิ ส และอน่ื ๆ ทม่ี ผี ลตอ สขุ ภาพ การศกึ ษาแนวทางพระราชดาํ รขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ในดา นวถิ ชี วี ติ เศรษฐกจิ พอเพยี งและความสมั พนั ธก บั สขุ ภาวะทง้ั ดา นรา งกายและจติ ใจ การศกึ ษาทางการปฏบิ ตั ธิ รรมเพอ่ื การเจรญิ สตใิ น ชวี ติ ประจาํ วนั ปรชั ญาโยคะ ประวตั ิ หลกั การ และผลไดใ นดา นสขุ ภาพของโยคะ ศกึ ษาสว นการปฏบิ ตั โิ ยคะจะเปน การสอนอาสนะระดบั พื้นฐาน และระดับกลาง The change of modern life style effects on health, food and environment. Study on health care of modern medicine, natural therapy, macrobiotics, and others with their effect on health. Study on the King’s economic sustaining theory in relationship with physical and mental health. Study and practice on mindfulness in daily life. Study on yoga philosophy, history, and principles; and its health benefits. Train yoga asana on basic and intermediate levels. จภวก ๑๐๒ แอโรบิกเพื่อสุขภาพ ๒ (๑–๒–๓) CHSP 102 Aerobics for Health หลักวิทยาศาสตรการกีฬาและการประยุกตใชในการออกกำลังกายแบบแอโรบิกเพื่อสุขภาพ ความสำคัญของการออกกำลังกาย แบบแอโรบกิ ประโยชน หลกั การพน้ื ฐานของการฝก เตน แอโรบกิ ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวในการเตน แอโรบกิ ความปลอดภยั และกจิ กรรม แอโรบกิ รูปแบบอ่นื ๆ เชน แอโรบิกในนำ้ ศลิ ปะการตอ สปู ระกอบเพลง สเต็ปแอโรบกิ นิวบอดี้ และบูท แคมป Sport science principles and their application to Aerobic for Health. Aerobic exercise significance, benefits and basic principles of aerobic dance training. Skils of aerobic dance movements, safety, and Aerobic activities such as Water Aerobics , Martial Art with music, Step Aerobic, New Body and Boot Camp. จภวก ๑๐๓ เสริมสรา งสมรรถภาพทางกาย ๒ (๑-๒-๓) CHSP 103 Body Conditioning ความหมาย และองคประกอบของสมรรถภาพทางกาย การทดสอบและประเมินผล หลักการฝกและวิธีการพัฒนาสมรรถภาพ ทางกาย โดยใชวิทยาศาสตรการกีฬา เชน การเสริมสรางมวลกลามเนื้อ ความทนทานระบบหัวใจและ ไหลเวียนโลหิต ความออนตัว เพื่อนำไปใช๎ในชวี ติ ประจำวัน Meaning and physical fitness components, testing and evaluation. Training principles and method for physical fitness development by using Sport science application such as to improve muscle mass, cardiovascular endurance and flexibility. จภวก ๑๐๔ เทนนสิ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 104 Tennis 18 คมู อื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสเี ทคนิค ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารงั สเี ทคนิค หลกั วทิ ยาศาสตร การกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นเทนนสิ ประวตั ิ ประโยชน อปุ กรณ กฎ และกตกิ า สมรรถภาพทางกาย ทกั ษะ พน้ื ฐาน ไดแ ก การตลี กู หนา มอื การตลี กู หลงั มอื การตลี กู ลางอากาศ การเสริ ฟ ลกู และเทคนคิ การเลน แบบตา งๆ ทง้ั ประเภทเดย่ี วและคู การบาดเจ็บและความปลอดภัยในการเลน กีฬาเทนนิส รวมทัง้ ความรูพ ้ืนฐานทางวทิ ยาศาสตก ารกีฬาของเทนนิส Sport science principles and their application to Lawn Tennis. History, benefits, equipment, rules and regulations, physical fitness . Basic skills such as forehand, backhand, volley, serve and strategies for singles and doubles. Injuries and safety, sports science of tennis. จภวก ๑๐๕ ฟุตบอล ๒ (๑-๒-๓) CHSP 105 Soccer หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นฟตุ บอล ประวตั ิ โดยยอ ของฟตุ บอล ประโยชน อปุ รณ กฎและระเบยี บ สมรรถภาพ ทกั ษะพน้ื ฐานของการแตะ การสง การโหมง การเลย้ี งลกู การทมุ บอล และการเลน เปน ทมี การเกบ็ รกั ษาอปุ กรณ ความเสย่ี ง การบาดเจบ็ และความปลอดภัย การเลน ฟตุ บอลเพ่ือการออกกำลงั กาย สขุ ภาพและนันทนาการ Sport science principles and their application to Soccer. Brief history of soccer encompassing; benefit, equipment, rule and regulations, physical fitness. Basic skils of kicking, passing, heading, dribbling, throwing and team play. Equipment keeping, risks injuries and safety. Soccer for exercise, health and recreation. จภวก ๑๐๖ บาสเกตบอล ๒ (๑-๒-๓) CHSP 106 Basketbal หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นบาสเกตบอล ประโยชน กตกิ า มารยาท การแตง กาย และความปลอดภยั ในการ เลน ทกั ษะพนื้ ฐานในการเคลอื่ นที่ และการรับบอล สงบอล การเลี้ยงลกู การยิงประตู และการเลน ทมี ในกีฬาบาสเกตบอล Sport science principles and their application to Basketbal. Benefits, rules and regulations, uniforms and safety. Basic skils such as foot movement, body position, bal handling, shooting and dribbling. Various team tactics and strategies. จภวก ๑๐๗ วอลเลยบ อล ๒ (๑-๒-๓) CHSP 107 Vol eybal หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นวอลเลยบ อล ประโยชน กตกิ า มารยาท การแตง กาย และความปลอดภยั ในการ เลน ทกั ษะเบอ้ื งตน ในการเคลอ่ื นท่ี การเลน ลกู มอื ลา ง การเลน ลกู มอื บน การเสริ ฟ การสกดั กน้ั การตบ และ การเลน ทมี ในกฬี าวอลเลยบ อล Sport science principles and their application to Voleybal. Benefits, rules and regulation, uniforms and safety. Basic skil such as foot movement, body position, serving, voley, bumping, individual attack and defense techniques. 19 คมู อื หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารงั สีเทคนคิ ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารังสเี ทคนคิ จภวก ๑๐๘ เทเบลิ เทนนสิ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 108 Table Tennis หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นเทเบลิ เทนนสิ ประโยชน กตกิ า มารยาท การแตง กาย และความปลอดภยั ในการ เลน ทักษะพ้ืนฐานของการเคลอ่ื นทข่ี องเทา การจบั ไม การตลี ูกหนา มอื และลกู หลงั มือ การตบ การเสิรฟ การตีลูกหมนุ และการแขง ขนั ประเภทเดี่ยวและคใู นกีฬาเทเบิลเทนนสิ Sport science principles and their application to Table Tennis. Benefits, rules and regulations, uniforms and safety. Basic skils such as foot-work, control, forehand stroke, backhand stroke, service and top spin. Competition event in single and doubles in Table tennis. จภวก ๑๐๙ เทเบิลเทนนสิ เพ่อื สุขภาพและนันทนาการ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 109 Table Tennis for Health and Recreation หลักวิทยาศาสตรการกีฬาและการประยุกตใชในกีฬาเทเบิลเทนนิสเพื่อสุขภาพและนันทนาการ ประโยชน กติกา มารยาท การ แตง กายและความปลอดภยั ในการเลน ทกั ษะพน้ื ฐานของการเคลอ่ื นทข่ี องเทา การจบั ไม การตลี กู หนา มอื และลกู หลงั มอื การตบ การเสริ ฟ การตีลกู หมนุ และการแขง ขันประเภทเด่ียวและคูในกฬี าเทเบิลเทนนิส Sport science principles and their application to table tennis for health and recreation. Benefits, rules and regulations, uniforms and safety. Basic skils such as foot-work, control, forehand stroke, backhand stroke, service and top spin. Competition event in single and doubles in table tennis. จภวก ๑๑๐ โยคะเพ่อื สุขภาพ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 110 Yoga for Health หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นการออกกำลงั กายแบบโยคะเพอ่ื สขุ ภาพ ประวตั ิ ความหมาย สถานทแ่ี ละอปุ กรณ และประโยชน ของการฝกโยคะ การเตรียมพรอมของรางกาย การยืดเหยียดขอตอและกลามเนื้อ เทคนิคการเกร็งและคลายกลามเนื้อ การฝก ทา อาสนะตางๆ การควบคุมลมหายใจ ปราณายามะ การผอนคลายอยา งลกึ และความปลอดภยั ในการฝก Sport science principles and their application to Yoga for Health. History, meaning, training locations and equipment, and benefits of Yoga. Body preparation, joint and muscle stretching, techniques of muscle contraction and relaxation. Practice of Asana (body position/posture), breathing control, Pramayama, deep relaxation and Yoga training safety. จภวก ๑๑๑ วายนำ้ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 111 Swimming หลักวิทยาศาสตรการกีฬาและการประยุกตใชในวายน้ำประโยชน ความปลอดภัย มารยาท การแตงกาย ทักษะเบื้องตนในการ วา ยน้ำ เชน การลงนำ้ การลอยตวั การหายใจในนำ้ การใชแขน ขา รวมถึงทักษะการวายทาฟรีสไตล ทา กรรเชียง และทา กบ 20 คูม ือหลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนิค ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารงั สเี ทคนิค Sport science principles and their application to Swimming. Significance, benefits, safety, rules and regulations, uniforms. Basic skil such as breathing, floating, leg movements. Styles of swimming such as Freestyle, Back stroke and Breast stroke. จภวก ๑๑๒ ลีลาศ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 112 Social Dance หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นลลี าศ ประโยชน กตกิ า มารยาท การแตง กาย ความปลอดภยั และทกั ษะเบอ้ื ง ตนในการเตน ลลี าศ เชน จังหวะวอลซ คิวบนั -รัมบา ชา ชา ชา และไจว Sport science principles and their application to Social Dance. Cultural sigmificance, benefits, rules and regulations, safety and uniforms. Basic skil of waltz, Cuban-rumba and cha cha cha and Jive. จภวก ๑๑๓ จักรยานเพอ่ื สุขภาพและนนั ทนาการ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 113 Bike for Health Recreation หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นการขจ่ี กั รยาน การเตรยี มความพรอ มทางรา งกายและจติ ใจของ นกั ปน จกั รยาน ประโยชน หลักการพื้นฐาน ทักษะการขี่จักรยาน ความปลอดภัย กฎ กติกา มารยาทในการขี่จักรยาน ระเบียบปฏิบัติในการใชเสนทาง จกั รยานเพ่อื การทองเที่ยวและนันทนาการรอบมหาวิทยาลยั Applied sport science principles, physical and mental fitness preparation for bike rider benefits, basic principles bike skils safety, rules and regulations and manner in riding in bike lane, tour around MU by bike for recreation and health. จภวก ๑๑๔ กายและจติ ใจ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 114 Mind and Body หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ช การเตรยี มความพรอ มทางรา งกายและจติ ใจของการออกกำลงั กายแบบกายและจติ ประโยชน หลักการพื้นฐานของการฝกการออกกำลังกายแบบกายและจิตใจ ทักษะการออกกำลังกาย ความปลอดภัย กิจกรรมกายและ จติ ใจในรปู แบบตา งๆ เชน โยคะ มวยจีน พลี าเต บอล Applied sport science principles, physical and mental fitness preparation for mind and body exercise benefits and basic principles of mind and body training. Skills and safety, Mind and Body activities such as Yoga, Tai Chi, Pilates, and Fit Bal. จภวก ๑๑๕ กิจกรรมกลุมออกกำลงั กาย ๒ (๑-๒-๓) CHSP 115 Group Exercise 21 คูม ือหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สีเทคนคิ ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสเี ทคนิค หลักวิทยาศาสตรการกีฬาและการประยุกตใช การเตรียมความพรอมทางรางกายและจิตใจของการออกกำลังกายแบบกิจกรรม กลุมประโยชน หลักการพื้นฐานของการฝกแบบกิจกรรมกลุม ทักษะการเคลื่อนไหวในกิจกรรมการออกกำลังกายกลุม ความปลอดภัย และกจิ กรรมกลมุ รปู แบบตา งๆ เชน บอลครง่ึ ลกู ชก เตะ กระโดด การโดดเชอื ก บทู แคมป จกั รยานในรม แทรมโพลนี และแอโรบคิ ในนำ้ Applied sport science principles, physical and mental fitness preparation for group exercise, benefits and basic principles of group exercise training, skils and safety, group execise activities such as Bosu Bal, Punch Kick, jump, jump rope, Boot Camp, Indoor Bike, Trampoline, and Aqua Aerobic. จภวก ๑๑๖ กรีฑาลู ๒ (๑-๒-๓) CHSP 116 Track Athletich ประวตั ิ ประโยชน หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นกฬี ากรฑี าลู การเตรยี มความพรอ มทางรา งกายและจติ ใจของ นกั กรฑี าประเภทลู การวง่ิ ในลวู ง่ิ การวางเทา การจดั ลำตวั ในทา ออกตวั จดั ระบบการเคลอ่ื นไหวเพอ่ื ทกั ษะในการวง่ิ ระยะสน้ั ระยะกลาง และระยะไกล การจัดสนาม การเปนเจาหนาที่จัดการแขงขัน กติกา ระเบียบ มารยาทในการแขงขัน การบาดเจ็บและความปลอดภัย ในการเลนกรีฑาลู การเก็บรกั ษาอปุ กรณ History, usefulness, applied sport science principles, physical and mental fitness preparation for player, basic skils; steps, set position of start running and movement for various distance of competition. Sports facilities, judging, rules, regulations, injuries and safety, equipment and maintenance. จภวก ๑๑๗ เซปคตะกรอ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 117 Sepak Takraw ประวัติ ประโยชน หลักวิทยาศาสตร การกีฬาและการประยุกตใชในกีฬาเซปกตะกรอ การเตรียมความพรอมทางรางกายและ จติ ใจของผเู ลน ทกั ษะพน้ื ฐานการเลน เซปก ตะกรอ ทกั ษะพน้ื ฐานตา งๆ ประกอบดว ยการเคลอ่ื นทร่ี ปู แบบตา งๆ การเดาะลกู ดวยเทา เขา หวั การเสริ ฟ การชง การเลน ขา งเทา ด านใน การเตะลกู กลางอากาศ การฟาด การสกดั กน้ั การรกุ การรบั การเลน ทมี กตกิ า มารยาท ในการแขงขันการปองกนั ความเส่ียงตอ การบาดเจ็บและความปลอดภยั รวมทง้ั การเก็บรักษาอปุ กรณ History, usefulness, applied sport science principles, physical and mental fitness preparation for player, basic skils such as basic movement, variety of kicking, heading, serving, voley, back kick, attack and defense techniques, team playing, rule, regulations, injuries and safety, equipment and maintenance. จภวก ๑๑๘ เปตอง ๒ (๑-๒-๓) CHSP 118 Patanque 22 คูม อื หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารังสเี ทคนคิ ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารงั สีเทคนคิ ประวัติ ประโยชน หลักวิทยาศาสตร การกีฬาและการประยุกตใชในกีฬาเปตอง การเตรียมความพรอมทางรางกายและจิตใจ ของผูเลน สนามและอุปกรณ กติกาการแขงขัน ทักษะพื้นฐานกีฬาเปตอง เชน การจับลูก การโยนลูก การยืน การทรงตัว การเขาเกาะ การตีกระทบ การแขง ขนประเภทเดี่ยว คูและทีม การดแู ลรกั ษาอุปกรณแ ละความปลอดภัยในการเลน History, benefits, applied sport science principles, physical and mental fitness preparation for player, Petanque court and equipment. Rules and regulation. Petanque basic skils such as handing, throwing, standing, balancing, pointing, hitting. Individual double and team completion. Equipment maintenance and safety. จภวก ๑๑๙ ระบำใตน ำ้ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 119 Synchronized Swimming ประวตั ิ ประโยชน หลกั วทิ ยาศาสตร การกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นกฬี าระบำใตน ำ้ การเตรยมความพรอ มทางรา งกายและจติ ใจ ของผูเลนระบาใตน้ำ ความปลอดภัย มารยาท การแตงกาย ในกีฬาระบำใตน้ำ เชน การลอยตัว การหายใจในน้ำ การฝกการเคลื่อน ในทศิ ทางตา งๆ การฝก Bulet leg , Flamingo การฝก Eggbeater การฝก เลน ทา ชดุ ประกอบจงั หวะขน้ั พน้ื ฐาน ฝก การเลน ประกอบดนตรี ประเภททมี (Team) History, benefits, application of sports science principles in synchronized swimming, physical and mental fitness preparation for synchronised swimmer, safety, rules and regulations, uniforms. Basic skil such as floating, breathing, scoling movements, bulet leg, flamingo and eggbeater. Synchronized swimming style such as basic routine, team routine. จภวก ๑๒๐ วายนำ้ เพ่ือสุขภาพและนนั ทนาการ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 120 Swimming for Health and Recreation หลกั วทิ ยาศาสตรการกฬี าและการประยุกตใ ชใ นการออกกำลังกายดว ยการวายน้ำเพอ่ื สุขภาพและนันทนาการ ประโยชน ความ ปลอดภยั มารยาท การแตง กาย ทกั ษะเบอ้ื งตน ในการวา ยนำ้ เชน การลงนำ้ การลอยตวั การหายใจในนำ้ การใชแ ขน ขา รวมถงึ ทกั ษะ การวายทา ฟรสี ไตล ทา กรรเชยี ง และทากบ การชว ยเหลือตนเองขณะเกิดอุบตั เิ หตทุ างนำ้ Sport science principles and their application to swimming for health and recreation. Significance, benefits, safety, rules and regulations, uniforms. Basic skil such as breathing, floating, leg movements. Styles of swimming such as Freestyle, Back stroke and Breast stroke. Self-help in water accident. จภวก ๑๒๑ แอโรบกิ เพ่อื สุขภาพและนนั ทนาการ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 121 Aerobic for Health and Recreation หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ชใ นการออกกำลงั กายแบบแอโรบกิ เพอ่ื สขุ ภาพและนนั ทนาการ ความสำคญั ของการ ออกกำลงั กายแบบแอโรบกิ ประโยชน หลกั การพน้ื ฐานของการออกกำลงั กายแบบแอโรบกิ ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวในการออกกำลงั กายแบบ แอโรบกิ ความปลอดภยั และกจิ กรรมแอโรบกิ รปู แบบอน่ื ๆ เชน แอโรบกิ ในนำ้ ศลิ ปะการตอ สปู ระกอบเพลง สเตป็ แอโรบกิ นวิ บอด้ี และ บทู แคมป และการเตนแอโรบิก 23 คมู อื หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารงั สีเทคนิค ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารังสีเทคนคิ Sport science principles and their application to aerobic for health and recreation. Aerobic exercise significance, benefits and basic principles of aerobic training. Skils of aerobic exercise movements, safety, and aerobic activities such as aquarobic, martial arts with music, step aerobic, new body, boot camp, and aerobic dance. จภวก ๑๒๒ โยคะเพื่อสุขภาพและนันทนาการ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 122 Yoga for Health and Recreation หลักวิทยาศาสตรการกีฬาและการประยุกตใชในการออกกำลังกายแบบโยคะเพื่อสุขภาพและนันทนาการ ประวัติ ความหมาย สถานทแ่ี ละอปุ กรณ และประโยชนข องการฝก โยคะ การเตรยี มพรอ มของรา งกาย การยดื เหยยี ดขอ ตอ และกลา มเนอ้ื เทคนคิ การเกรง็ และ คลายกลามเนือ้ อาสนะตางๆ การควบคมุ ลมหายใจ ปราณายามะ การผอนคลายอยา งลึกและความปลอดภยั ในการฝก Sport science principles and their application to yoga for health and recreation. History, meaning, training locations and equipment, and benefits of yoga. Body preparation, joint and muscle stretching, techniques of muscle contraction and relaxation, Asanas (body position/posture), breathing control, Pranayama, deep relaxation and yoga training safety. วกวก ๑๒๓ ลีลาศเพื่อสุขภาพและนนั ทนาการ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 123 Social Dance for Health and Recreation หลักวิทยาศาสตรก ารกฬี าและการประยุกตใชล ลี าศในการออกกำลังกายเพ่ือสุขภาพและนันทนาการ ประโยชน กตกิ า มารยาท การแตง กาย ความปลอดภยั และทักษะเบ้ืองตนในการเตน ลลี าศ เชน จังหวะวอลซ ควิบนั -รัมบา ชา ชา ชา Sport science principles and their application to social dance for health and recreation. Significance, benefits, rules and regulations, safety and uniforms. Basic skil of waltz, Cuban-rumba and cha cha cha. วกวก ๑๒๔ ศิลปะการตอสูปองกันตวั เพือ่ สขุ ภาพและนันทนาการ ๒ (๑-๒-๓) CHSP 124 Arts of Self-defense for Health and Recreation หลกั วทิ ยาศาสตรก ารกฬี าและการประยกุ ตใ ชศ ลิ ปะการตอ สปู อ งกนั ตวั ในการออกกำลงั กายเพอ่ื สขุ ภาพและนนั ทนาการ ประโยชน ความหมาย ความปลอดภยั ทกั ษะเบ้อื งตนในการตอ สูป อ งกันตัว เชน การลม การมว นตัวดานหนา -หลงั การตอย การทุม การควบคมุ และการแกไขจากการถูกควบคมุ Sport science principles and their application to arts of self-defense for health and recreation. Usefulness, definition, safety, basic skils, such as rols and somersaults, punch, immobilization, attacks and self-defense. 24 คมู อื หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารังสเี ทคนคิ ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารงั สเี ทคนิค ข. หมวดวชิ าเฉพาะ ๑. รายวชิ าทจ่ี ดั เปน พน้ื ฐานวชิ าชพี จภคม ๑๐๑ เคมที ว่ั ไป ๓ (๓-๐-๖) CHCH 101 General Chemistry โครงสรา งอะตอม พนั ธะเคมี แกส ของแขง็ ของเหลว สารละลาย คอลลอยด อณุ หพลศาสตรเ คมี จลนพลศาสตรเ คมี สมดลุ เคมี สมดลุ ของไอออน ไฟฟาเคมี ตารางธาตุปจ จบุ นั Atomic structure, chemical bonding, gases, liquids, solids, solutions, coloids, chemical thermodynamics, chemical kinetics, chemical equilibria, ionic equilibria, electrochemistry, the present periodic table. จภคม ๑๐๒ ปฏบิ ตั กิ ารเคมี ๑ (๐-๓-๑) CHCH 102 Chemistry Laboratory การทดลองเคมที ว่ั ไปและเคมอี นิ ทรยี เ บอ้ื งตน ไดแ ก ความคลาดเคลอ่ื นและเลขนยั สาํ คญั การเตรยี มสารละลายและการไทเทรต กฏอตั ราของปฏกิ ิริยา สมดลุ เคมี การวเิ คราะหเชิงปรมิ าณโดยเทคนคิ ทางแสง การจําแนกสารอินทรยี ต ามการละลาย การใชแบบจําลอง ศึกษาสเตอรโิ อเคมขี องสารอนิ ทรีย ปฏกิ ริ ิยาของไฮโดรคารบ อน แอลกอฮอล ฟนอล แอลดไี ฮด คีโตน กรดคารบอกซลิ กิ อนพุ ันธข อง กรดคารบอกซิลิก และเอมนี Experiments of general chemistry and basic organic chemistry include determinations of scientific errors, significant numbers, precision and accuracy, preparation of solution and titration, rate of reaction, chemical equilibria, quantitative analysis using spectroscopy, solubility classification, use of models to study stereochemistry of organic substance, reactions of hydrocarbons, reactions of alcohols and phenols, reactions of aldehydes and ketones, reactions of carboxylic acids and derivatives, reactions of amine. จภคม ๑๐๓ เคมอี นิ ทรยี พ น้ื ฐาน ๓ (๓-๐-๖) CHCH 103 Basic Organic Chemistry โครงสรา งโมเลกลุ และการจาํ แนกสารอนิ ทรยี  ปฏกิ ริ ยิ าของสารประกอบเคมอี นิ ทรยี  การเรยี กชอ่ื และสเตอรโิ อเคมี การสงั เคราะห และปฏิกิริยาของแอลเคน ไซโคลแอลเคน แอลคีน แอลไคน อะโรมาติก ไฮโดรคารบอนสารเฮไลด แอลกอฮอล ฟนอลอีเทอร อัลดีไฮด คีโตนกรดคารบอกซลิ กิ อนพุ ันธกรดคารบอกซลิ กิ อะมนี Molecular structure and classification of organic compounds, reactions of organic compounds, nomenclature and stereochemistry, syntheses and reactions of alkanes, cycloalkanes, alkenes, alkynes, aromatic hydrocarbons, halides, alcohols, phenols, ethers, aldehydes, ketones, carboxylic acids, carboxylic acid derivatives, amines. 25 คูม อื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารังสเี ทคนิค ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชารงั สีเทคนิค จภฟส ๑๐๑ ฟส กิ สพ นื้ ฐานสำหรบั วิทยาศาสตรสขุ ภาพ ๒ (๒-๐-๔) CHPY 101 Basic Physics for Health science กลศาสตร อณุ หภมู แิ ละความรอ น ของไหล คลน่ื เสยี งและการไดย นิ ทศั นศาสตรแ ละการมองเหน็ ไฟฟา และแมเ หลก็ เบอ้ื งตน ฟสกิ สอ ะตอม ฟสิกสน วิ เคลยี รแ ละกมั มันตภาพรังสี Mechanics, temperature and heat, fluid, waves, sound and hearing, optics and visualization, basic electromagnetism, atomic physics, nuclear physics and radioactivity. จภฟส ๑๐๒ ฟสิกสสำหรับวทิ ยาศาสตรสุขภาพ ๒ (๒-๐-๔) CHPY 102 Physics for Health science กลศาสตร : การเคลอื่ นท่แี บบกวดั แกวง ระบบหลายอนุภาค การเคลื่อนท่ขี องวัตถุเกร็ง เทอรโมไดนามิกส : กฎของเทอรโ มไดนามิกส ทศิ ทางของกระบวนการทางเทอรโมไดนามกิ ส แสงเชิงกายภาพ : การเลย้ี วเบน การแทรกสอด โพลาไรเซชันของแสง แมเหล็กไฟฟา : กฎของเกาส กฎของบิโอต-ซาวารต กฎของแอมแปร กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย-เฮนรี วงจรไฟฟาที่มี ตัวเก็บประจุและตวั เหน่ยี วนำเปน สวนประกอบ กลศาสตรควอนตัม : การแผรังสีของวัตถุดำ ปรากฏการณโฟโตอิเล็กตริก ปรากฏการณคอมปตันสมมุติฐานของเดอ บอรย (ทวิภาวะคลื่น-อนุภาค) การทดลองของเดวิสสัน-เจอรเมอร ฟงกชันคลื่นและความนาจะเปนของการพบอนุภาค สมการของ ชเรอดิงเงอร ตัวอยา งการประยุกตใชส มการของชเรอดงิ เงอร สำหรับระบบอยา งงาย ฟสิกสอะตอม : สมการของชเรอดิงเงอร สำหรับอะตอมที่มีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว ฟงกชันคลื่นและระดับพลังงานที่เปนไปได ของอิเล็กตรอน เลขควอนตัม โมเมนตัมเชิงมุม สปนของอิเล็กตรอน การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมที่มีอิเล็กตรอน หลายตัว ตารางธาตุ ฟสิกสนิวเคลียร : โครงสรางและสมบัติของนิวเคลียส พลังงานยึดเหนี่ยว แบบจำลองของนิวเคลียส เสถียรภาพของนิวเคลียส และการสลายตวั แบบตา งๆ ปฏกิ ริ ยิ านวิ เคลยี ร การแบง แยกนวิ เคลยี ส การหลอมรวมนวิ เคลยี ส หลกั การเครอ่ื งปฏกิ รณน วิ เคลยี ร และการใชประโยชน ฟสิกสข องอนภุ าค : อนภุ าคมลู ฐาน แบบจำลองมาตราฐานของอนภุ าคมลู ฐาน Mechanics : Oscilation motion, system of many particles, motion of rigid bodies, Thermodynamics : Laws of themodynamics, directons of thermodynamic processes, entrobpy Physical Optics : Diffraction, interference, polarization Electromagnetism : Gauss’s law, Biot-Savart’s law, Ampere’s law, Faraday-Henry’s induction, electrical circuits containing capacitors and inductors Quantum mechanics : Black body radiation, photoelectric effect, Comton effect, De Broglie’s hypothesis (wave-particle duality), Davission-Germer’s experiment, wave function and probability of finding particles, Schrodinger’s equation, application of Schrodinger’s equation to simple systems . 26 คมู ือหลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนิค ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ Atomic physics : Schrodinger’s equation for single-electrons atom, possible wave function and energy level fo electrons, quantum numbers, angular momentum, electron spins, electron configurations in atoms, periodic table. Nuclear physics : structures and properties of nucleus, binding energy, nuclear model, stability of nucleus and decay, nuclear fission, principles of nuclear reactor control, nuclear fusion. Particle physics : Elementary particles, standard model of elementary particles. จภฟส ๑๐๓ ปฏบิ ตั ิการฟสกิ สท ่ัวไป ๑ (๐-๓-๑) CHPY 103 General Physics Laboratory การทดลองฟส กิ สพ ื้นฐานที่เก่ียวของกับหลกั สูตรฟส กิ สท่นี กั ศึกษาแตละคณะกำลงั ศึกษา Basic Physics experiments relating to Physics curriculums taught to the first year students in each faculty. จภฟส ๒๐๒ อิเลก็ ทรอนกิ ส ๒ (๒-๐-๔) CHPY 202 Electronics อเิ ลก็ ทรอนกิ สข น้ั แนะนำ ความเหนย่ี วนำและหมอ แปลง ความจุ วงจรกระแสสลบั การวเิ คราะหเ ครอื ขา ย สารกง่ึ ตวั นำ ออปแอมป อิเลก็ ทรอนิกสเ ชิงเลข Introduction to electronics, inductance and transformers, capacitance, AC circuits, network analysis, semiconductors, operational amplifiers, digital electronics. จภคณ ๑๐๑ แคลคูลสั ๒ (๒-๐-๔) CHMA 101 Calculus ฟง กช นั ลมิ ติ ภาวะตอ เนอ่ื งอนพุ นั ธข องฟง กช นั พชี คณติ ฟง กช นั ลอการทิ มึ ฟง กช นั เลขชก้ี าํ ลงั ฟง กช นั ตรโี กณมติ ิ ฟง กช นั ตรโี กณมติ ิ ผกผนั การหาอนพุ นั ธโ ดยปรยิ าย อนพุ นั ธอ นั ดบั สงู กวา ผลตา งเชงิ อนพุ นั ธ การประยกุ ตก ารหาอนพุ นั ธ รปู แบบยงั ไมก าํ หนดและหลกั เกณฑ โลปต าล ฟง กช นั ของหลายตวั แปรและอนพุ นั ธย อ ย ผลตา งเชงิ อนพุ นั ธร วมและอนพุ นั ธร วม ปฏยิ านพุ นั ธแ ละการหาปรพิ นั ธ เทคนคิ การหา ปริพนั ธ การประยุกตก ารหาปริพนั ธ Functions, limits, continuity, derivatives of algebraic functions, logarithmic functions,exponential functions, and trigonometric functions, implicit differentiation, higher-order derivatives, differentials, applications of differentiation, indeterminate forms and l' Hospital's rule, functions of several variables and partial derivatives, total differentials and total derivatives, antiderivatives and integration, techniques of integration, applications of integration. 27 คมู อื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารงั สเี ทคนคิ ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารงั สเี ทคนิค จภคณ ๑๐๒ สมการเชงิ อนพุ นั ธส ามญั ๒ (๒-๐-๔) CHMA 102 Ordinary Differential Equations ทฤษฎขี องสมการเชงิ อนพุ นั ธส ามญั ผลเฉลยแบบอนกุ รมของสมการเชงิ อนพุ นั ธส ามญั ผลการแปลงลาปลาซ ระบบสมการเชงิ อนพุ นั ธ อนุกรมฟูริแยร สมการเชิงอนพุ นั ธยอยเบื้องตน Theory of ordinary differential equations, series solutions to ordinary differential equations, Laplace transforms systems of differential equations, Fourier series, elementary partial differential equations. จภคณ ๒๐๑ สถิตศิ าสตรส ำหรบั วิทยาศาสตรสขุ ภาพ ๒ (๒-๐-๔) CHMA 201 Statistics for Medical Science แนวคดิ ความนา จะเปน และการแจกแจงความนา จะเปน และการประยกุ ตก บั เหตกุ ารณต า ง ๆ การแปลความคา สถติ ิ สถติ พิ รรณนา การซักตัวอยางเพอื่ ใหไ ดต ัวแทนที่ดีของประชากรและการนาํ ไปใชในการประมาณคา และการทดสอบสมมตุ ฐิ าน Concepts and applications of probability and probability distributions in various events; interpretation of statistical values; descriptive statistics; sampling for good representatives of populations and its use in estimation and hypothesis testing. จภกว ๒๐๑ กายวภิ าคศาสตรพ ื้นฐาน ๓ (๒–๓–๕) CHAN 201 Basic Anatomy วชิ ากายวภิ าคศาสตรพ น้ื ฐาน เปน วชิ าทศ่ี กึ ษาเกย่ี วกบั คณุ สมบตั ทิ ว่ั ๆ ไปของสง่ิ มชี วี ติ เนน ศกึ ษาโครงสรา งและการทาํ หนา ทข่ี อง สว นตา งๆ ของรา งกายมนษุ ย การเรยี นภาคปฏบิ ตั จิ ะศกึ ษาจากโครงรา งของมนษุ ยเ ปน สาํ คญั เพอ่ื เปน พน้ื ฐานสาํ หรบั นกั ศกึ ษาจะไดน าํ ไปใช เปนประโยชนในวิชาชีพตอไป The basic concept of living cels, organs and systems of human body. The relationship of human structures and functions is emphasized. The human skeleton and cadavers are utilized in the laboratory study. จภชค ๒๐๑ ชวี เคมีเบอื้ งตน ๓ (๓–๐–๖) CHBC 201 Basic Biochemistry โครงสรางและหนาที่ของชีวโมเลกุล ๔ ชนิด คารโบไฮเดรท ลิปด โปรตีน และกรดนิวคลิอิค กระบวนการเมตาบอลิสมของ ชีวโมเลกุลทั้ง ๔ ชนิด และการควบคุม กระบวนการถายทอดทางพันธุกรรมและการควบคุมการแสดงออกของยีน ดีเอ็นเอเทคโนโลยี บทบาทของชีวโมเลกลุ เก่ยี วกบั การทํางานในระบบตาง ๆ ในรา งกายปกติ การนาํ ไปประยกุ ตใ ชทางการแพทย Structures and functions of 4 biomolecules, carbohydrate, lipid, protein and nucleic acid, metabolic processes and regulation of metabolic pathways of ๔ biomolecules, flow of genetic information and gene regulation, DNA technology, role of biomelecules in normal physiological systems with some medical applications. 28 คูมือหลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ จภชค ๒๐๒ ปฏบิ ัติการชวี เคมเี บอื้ งตน ๑ (๐–๓–๑) CHBC 202 Basic Biochemistry Laboratory ปฏิบัติการชีวเคมีเบื้องตน ประกอบดวย ๘ การทดลองที่เกี่ยวกับการใชสารละลายควบคุมสภาพความเปน กรด-เบส การใช เครื่องมือพื้นฐานในการวิเคราะหสารชีวโมเลกุล การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของสารชีวโมเลกุล ๔ ประเภท และกลไกใน ขบวนการเมตาบอลิสม โดยแตละการทดลองจะเก่ียวขอ งและสัมพันธก ับเนอื้ หาในภาคบรรยายวิชาชวี เคมีเบอ้ื งตน จภชค ๒๐๑ Basic biochemistry laboratory comprise 8 experiments involved in; preparation of acid-base solution and buffering system, using a basic instrument in analysis of biomolecules, determination a physical and chemical properties of al 4 biomolecules and study a metabolic process, that are related to the course Basic Biochemistry. (CHBC ๒๐๑) จภสร ๒๐๑ สรีรวทิ ยาขัน้ พนื้ ฐาน ๓ (๒–๓–๕) CHPS 201 Basic Physiology ความรพู น้ื ฐานทางสรรี วทิ ยาซง่ึ เกย่ี วขอ งกบั หนา ท่ี กลไก และการควบคมุ การทาํ งานของเซลล อวยั วะ และระบบตา ง ๆ ภายใน รา งกาย ไดแ ก ระบบประสาท ระบบกลามเนอื้ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบหายใจ ระบบไต ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบตอมไรทอ และ ระบบสืบพันธุ รวมทงั้ การทาํ งานประสานกนั ของระบบตาง ๆ เพือ่ นาํ ไปสกู ารทรงสภาพปกตภิ ายในรา งกาย The course covers basic concepts and principles of cel functions and the functions of different organ systems such as nervous, muscular, cardiovascular, respiratory, renal, gastrointestinal tract, endocrine and reproductive systems. It also deals with the mechanisms of regulation of organ system integration and adaptations in order to keep the body in a homeostatic state. ๒. กลมุ วชิ าชพี กลมุ วชิ าชพี ทว่ั ไป จภรส ๒๐๑ ฟสิกสร งั สี ๓ (๓-๐-๖) CHRT 201 Radiation Physics ความรพู น้ื ฐานของฟส กิ สอ ะตอมและนวิ เคลยี ร กมั มนั ตภาพรงั สี ทฤษฎแี ละกลไกในการกำเนดิ รงั สชี นดิ ตา งๆ คณุ สมบตั แิ ละปจ จยั ทม่ี ผี ลตอ คณุ ภาพของลำรงั สี อนั ตรกริ ยิ าของรงั สชี นดิ ตา ง ๆ ทม่ี ตี อ วตั ถทุ เ่ี กย่ี วขอ งกบั ทางรงั สวี นิ จิ ฉยั รงั สรี กั ษา และเวชศาสตรน วิ เคลยี ร การนำความรูทางฟส ิกสรังสีมาประยกุ ตใชในงานรงั สวี ินจิ ฉัย รงั สรี กั ษา และเวชศาสตรนวิ เคลยี ร Fundamentals of atomic and nuclear physics, radioactivity, the theory and mechanism of radiation production, physics properties and factors affecting radiation beam quality, interaction of radiation with matter, application of radiation physics in diagnostic radiology, radiotherapy and nuclear medicine. 29 คูมือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ ารงั สเี ทคนิค ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเจา ฟา จุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารังสีเทคนิค จภรส ๒๐๒ รงั สีคณติ ๒ (๒-๐-๔) CHRT 202 Radiation Dosimetry ทฤษฎี นิยาม ขอกำหนดและคำแนะนำเกี่ยวกับการวัดปริมาณรังสี วิธีวัดปริมาณรังสีดูดกลืนดวยเครื่องมือชนิดตางๆ ที่ใชวัด ปรมิ าณรังสี Theories, definitions, regulations and recommendations for radiation quantities, methods of measuring absorbed doses with various radiation dosimeters. จภรส ๒๐๓ เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรบั นกั รงั สเี ทคนคิ ๒ (๒-๐-๔) CHRT 203 Information Technology for Radiological Technologist เทคโนโลยสี ารสนเทศทเ่ี ขา มามบี ทบาทในงานรงั สเี ทคนคิ องคป ระกอบของอปุ กรณค อมพวิ เตอรแ ละอปุ กรณต อ พว ง หลกั พน้ื ฐาน ในการสอ่ื สารขอ มลู เทคโนโลยโี ทรคมนาคม ระบบเครอื ขา ยคอมพวิ เตอร เทคโนโลยอี นิ เตอรเ นต็ อปุ กรณเ ครอื ขา ยคอมพวิ เตอร ระบบสอ่ื สาร และจดั เกบ็ ขอ มลู ภาพ มาตรฐานไดคอม มาตรฐานสากลทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การกำหนดรหสั ของโรค เชน บญั ชจี ำแนกทางสถติ ริ ะหวา งประเทศ ของโรคและปญ หาสุขภาพทเ่ี กยี่ วขอ ง Information and communication technology in radiological technology, computer hardware and peripheral devices, basic data communication, telecommunication technology, computer network, internet technology, computer network devices, picture archiving and communication system, International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems (ICD) จภรส ๒๐๔ การสรางภาพทางรังสี ๓ (๒-๓-๖) CHRT 204 Radiographic Imaging หลกั การพน้ื ฐานของการสรา งภาพทางรงั สดี ว ยระบบอะนาลอกและดจิ ติ อล ทง้ั ระบบซอี าร ดอี าร กระบวนการกำหนดปรมิ าณรงั สี ในการถายภาพ กระบวนการปรับและประมวลผลภาพ คุณภาพของภาพและปจจัยที่มีผลกระทบ การจัดระบบการใหปริมาณรังสีและ การควบคุมคณุ ภาพ Basic of radiographic imaging in both analog and digital systems (CR: computed radiography, DR: digital radiography), radiographic exposure procedure, image manipulation and processing, image quality and factor affecting image quality, radiographic exposure management and quality control. จภรส ๒๐๕ ภาพดิจทิ ัลทางการแพทย ๑ (๑-๐-๒) CHRT 205 Medical Digital Images หลกั การพืน้ ฐานและสว นประกอบของเครื่องคอมพวิ เตอร คุณลักษณะและโครงสรา งของภาพดิจิทลั การประมวลผลภาพดจิ ทิ ลั การปรับปรงุ คณุ ภาพของภาพ ระบบแสดงภาพเพื่อวินิจฉยั โรค โครงสรางฐานขอ มูลสารสนเทศ วิธกี ารจดั เกบ็ การรับสงขอมลู ภาพทาง การแพทย 30 คูมอื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชารงั สีเทคนิค ปการศึกษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนิค Basic principle and components of computer, digital image fundamental, digital image processing, imaging display for diagnosis and medical information system such as DICOM and PACS, quality control instruments in medicine and medical digital image. จภรส ๒๐๖ การปองกนั อนั ตรายทางรงั สีเบอ้ื งตน ๑ (๑-๐-๓) CHRT 206 Basic Radiation protection แหลงกำเนิดรังสี ชนิดของรังสี หนวยวัดรังสี การจำแนกประเภทวัสดุกัมมันตรังสี และประเภทเครื่องกำเนิดรังสี ผลของรังสีที่ ไดร ับจากทัง้ ภายในและภายนอกรางกาย หลักการพ้ืนฐานของเครื่องมอื วดั และตรวจติดตามปริมาณรงั สี หลกั การพืน้ ฐานของการปอ งกัน อันตรายจากรังสีและมาตรฐานความปลอดภัยเบือ้ งตน สำหรับการปอ งกันอันตรายจากรังสที ก่ี อออิ อน Types of radiation, radiation units, classification of radioactive sources and radiation generators, effects of radiation from internal and external body, principles of radiation detection and radiation monitoring instruments, Basic principal of radiation protection and basic safety standards for protection against ionizing radiation and for the safety of radiation sources. จภรส ๓๐๑ รงั สชี วี วิทยา ๒ (๒-๐-๔) CHRT 301 Radiobiology อนั ตรกริ ยิ าระหวางรงั สีกบั สสารและระบบทางชีววทิ ยา ผลและการตอบสนองตอ รงั สีของสงิ่ มีชีวติ ทั้งในระดบั สวนยอ ยของเซลล เซลล อวยั วะ และรา งกาย ปจ จยั ทม่ี ผี ลตอ ความออ นไหวตอ รงั สี หลกั การทางชวี วทิ ยาโมเลกลุ รงั สแี ละชวี วทิ ยามะเรง็ รวมถงึ การประยกุ ต ใชใ นทางคลินกิ Interactions of radiation with biological matters and system; effects of ionizing radiation on sub-celular, celular, tissue and physiological levels including their responses; factors influencing radiosensitivity of tissue; principles of molecular radiation biology, cancer biology and their applications in clinics. จภรส ๓๐๒ พยาธวิ ิทยาพนื้ ฐาน ๓ (๒-๒-๕) CHRT 302 Pathology พยาธสิ ภาพทีแ่ สดงความผดิ ปกติ เนอ่ื งจากโรคตาง ๆ Basic pathology of diseases and common systemic pathology. จภรส ๓๐๓ การดูแลผปู วยในงานรังสีวิทยา ๒ (๑-๒-๓) CHRT 303 Patient Care in Radiology 31 คูมือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารงั สีเทคนิค ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารังสเี ทคนิค การดแู ลผปู ว ยเบอ้ื งตน ในแผนกรงั สวี ทิ ยา การประเมนิ สภาวะรา งกายและจติ ใจของผปู ว ย การวดั สญั ญาณชพี การควบคมุ การตดิ เชอ้ื การเคลอ่ื นยายผูปวย การเตรียมผูปว ยกอ นเขา รบั การตรวจทาง รังสี การดแู ลผปู วยระหวา งและหลงั การตรวจรกั ษาทางรังสใี นงาน รังสีวินิจฉัย รังสีรักษาและเวชศาสตรนิวเคลียร การปองกันภาวะแทรกซอนหลังการตรวจทางรังสี การปฐมพยาบาล ภาวะฉุกเฉิน และ เทคนิคการชว ยฟน คืนชีพ Patient care in radiology department. Assessment of patients physical and psychological condition, vital signs measurements, technique of infection control, movement and transfer a patient. Patient preparation before radiological examinations. Patients care during and after treatments in diagnostic, radiotherapy and nuclear medicine. The prevention of the contraindications after the radiological examination. First aid, emergency life support and resuscitation techniques. จภรส ๓๐๔ รงั สพี ยาธิวทิ ยา ๒ (๑-๒-๓) CHRT 304 Radiographic Pathology ภาพเอกซเรยทแี่ สดงความผดิ ปกติ เนอ่ื งจากโรคตาง ๆ ทสี่ ามารถมองเหน็ ได Abnormality appearance of diseases on radiographs จภรส ๓๑๕ กายวภิ าคแนวตัดในงานรงั สวี ทิ ยา ๓ (๒-๒-๕) CHRT 315 Sectional Anatomy in Radiology กายวิภาคในภาคตัดขวางตัวตามยาวของลำตัวทแี่ บง เปนซีกซายและขวา ตามยาวของลำตวั ที่แบง เปน ซีกหนา และซีกหลงั และ ภาคตดั เฉยี งตามมุมกับแนวขวางหรอื แนวยาวของลำตวั ในระดับตา ง ๆ ของรา งกายมนษุ ย สว นศีรษะและคอ ระบบประสาทสว นกลาง ทรวงอก ระบบหวั ใจและหลอดเลือด ชองทอ งอุงเชงิ กรานและระบบสบื พันธุ ระยางคบนและลาง The anatomical of the human body in the longitudinal plane and the cross - sectional plane at various levels of head and neck, central nervous system, thorax, the cardiovascular system, abdomen, pelvic cavity and reproductive organ, lower and upper extremity. จภรส ๔๐๑ ศาสตรการสอนสำหรบั วชิ าชีพรังสเี ทคนิค ๑ (๑-๐-๒) CHRT 401 Arts of Teaching for Radiological Technologist Profession การประยุกตแนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยาการศึกษาเพื่อนำมาใชในกระบวนการเรียนการสอนรูปแบบและเทคนิคการจัดการ เรียนรู การออกแบบและการจัดการการเรียนรู การวัดและประเมินผลการเรียนรู กลยุทธการพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สารทางการศกึ ษา การเสรมิ สรางคณุ ธรรมและจริยธรรมในการเรียนการสอน การพฒั นาบุคลิกภาพสำหรบั ผูส อน Application of concepts and theory of educational psychology, Models and techniques for instruction, Learning design and management, Learning measurement and evaluation, Strategy development for educational innovation in information technology and communication, Morals and ethics in education, Personality development for instructor. 32 คมู ือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ ารังสเี ทคนคิ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรก ารแพทยเ จาฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารังสีเทคนคิ จภรส ๔๐๒ การปอ งกันอันตรายจากรงั สที างการแพทย ๒ (๒-๐-๔) CHRT 402 Medical Radiation Protection การปอ งกนั อนั ตรายจากรงั สที ใ่ี ชง านทางการแพทยท างรงั สวี นิ จิ ฉยั รงั สรี กั ษา และเวชศาสตรน วิ เคลยี ร บทบาทหนา ทข่ี องนกั รงั สี เทคนคิ ดา นการปอ งกนั อนั ตรายจากรงั สี อนั ตรายของรงั สที ม่ี ตี อ มนษุ ย การปอ งกนั อนั ตรายและความปลอดภยั จากรงั สสี ำหรบั ผปู ฏบิ ตั งิ าน ผปู ว ยและบคุ คลทว่ั ไปทเ่ี กย่ี วขอ ง การปอ งกนั อนั ตรายจากรงั สที เ่ี กย่ี วขอ งกบั การไดร บั ของหญงิ มคี รรภ การใชอ ปุ กรณป อ งกนั อนั ตรายจาก รงั สแี ละเครอ่ื งตรวจวดั การตรวจวดั รงั สปี ระจำตวั บคุ คล การสำรวจความเปรอะเปอ นทางรงั สี วธิ กี ารขจดั การเปรอะเปอ นสารกมั มนั ตรงั สี และการจดั เกบ็ กากกมั มนั ตรงั สี การหลกั การออกแบบผนงั ปอ งกนั รงั สี การใชอ ปุ กรณป อ งกนั รงั สี มาตรการฉกุ เฉนิ และการแกไ ขอบุ ตั เิ หตุ ทางรงั สี กฎหมายและกฎกระทรวง องคก รในประเทศและระหวา งประเทศทท่ี าหนา ทเ่ี กย่ี วกบั การปอ งกนั อนั ตรายจากรงั สี และเจา หนา ท่ี ความปลอดภยั ทางรังสี Protection against medical exposures in diagnostic radiology, radiotherapy and nuclear medicine including roles and responsibilities of radiological technologists in preventing danger caused by radiation, radiation damage in the human body protection and safety of the radiation worker, patient and public concerned, radiation protection related to exposure in pregnancy, the use of radiation protection equipment and radiation detection devices; personal radiation monitoring, survey radiation monitoring, method of radiation decontamination and waste management, concept of shielding design, emergency planning and preparedness for accidents in radioactive sources, radiation safety act and regulation, national and international agency regulations in radiation protection and radiation safety officer. จภรส ๔๐๘ กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพสำหรับนักรงั สีเทคนิค ๑ (๑-๐-๒) CHRT 408 Law Ethic for Radiological Technologist หลกั จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี พระราชบญั ญตั กิ ารประกอบโรคศลิ ปะ กฎหมายการแพทยแ ละสาธารณสขุ พระราชบญั ญตั ิ สถานพยาบาล พระราชบัญญตั ิพลังงานนิวเคลยี รเพ่อื สนั ติ การประเมินการเส่ยี งตอความรบั ผดิ ชอบทางกฏหมาย Professional ethics and code of practice, Act of Parliament, Law of medicine and public health, Sanatorium Act, Nuclear Energy for Peace Act, Compliance risk. จภรส ๔๐๙ การบริหารจดั การและการประกันคณุ ภาพในงานรังสีวทิ ยา ๒ (๒-๐-๔) CHRT 409 Administration of Quality Assurance in Radiology การบรหิ ารโรงพยาบาลเบอ้ื งตน การบรหิ ารจดั การงานทางรงั สวี ทิ ยา ความหมายของการประกนั คณุ ภาพและการควบคมุ คณุ ภาพ หลกั การของการพฒั นาคณุ ภาพ การประยกุ ตใชของการพัฒนาคณุ ภาพ กฎหมาย มาตรฐานและคูมือการแนะนำทางดา นคณุ ภาพ Principles of hospital administration, operational management of the radiology department, term and definitions of quality assurance and quality control, concepts and principles of quality improvement, application of quality improvement, regulation , standard and guideline. 33 คมู ือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สีเทคนคิ ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรก ารแพทยเ จา ฟาจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค จภสร ๔๑๙ ภาษาอังกฤษสำหรับนกั รงั สเี ทคนิคเพ่อื การปฏบิ ัตงิ าน ๒ (๒-๐-๔) CHRT 419 English for Professional Radiological Technologist ฝก ทกั ษะดา นการฟง พดู อา น เขยี น ภาษาองั กฤษโดยเนน การออกเสยี ง การใชค ำศพั ท สำนวน และรปู ประโยคเนน ศกึ ษาพน้ื ฐาน ภาษาองั กฤษท่ใี ชท างการแพทยแ ละรังสวี ิทยาเพื่อวตั ถุประสงคทางวิชาการและวชิ าชพี Practice listening and speaking reading and writing English with emphasis on pronunciation, vocabulary, expressions, and sentence structures for academic and professional in medical and radiology purposes. กลุมวชิ าทางรังสวี ินจิ ฉยั จภรส ๓๐๕ การตรวจเอกซเรยทั่วไป ๑ ๒ (๑-๒-๓) CHRT 305 General Radiography I หลกั ฟส กิ สพ ื้นฐาน หลักการทำงานและสว นประกอบตา งๆของเครือ่ งเอกซเรยท่ัวไป เคร่ืองเอกซเรยเคล่ือนท่ี เครื่องเอกซเรยฟ น ความสมั พนั ธท างกายวภิ าคศาสตรแ ละสรรี วทิ ยาของภาพถา ยทางรงั สแี ละเทคนคิ ทางรงั สวี นิ จิ ฉยั ของอวยั วะสว นแขน ขา องุ เชงิ กรานและ ขอ ตอ สะโพก ภาพถา ยเอกซเรยเ คลอ่ื นท่ี ภาพถา ยรงั สใี นเดก็ ภาพถา ยรงั สพี เิ ศษของระบบกระดกู และคาํ นยิ ามตา ง ๆ การประเมนิ ภาพถา ย ทางรงั สที ป่ี กตแิ ละมาตรฐานทางเทคนคิ รงั สวี นิ จิ ฉยั ปจ จยั ทม่ี ผี ลตอ คณุ ภาพของภาพเอกซเรยท ว่ั ไป การวเิ คราะหแ ละหาตาํ แหนง บง ชท้ี าง กายวิภาคศาสตรโ ดยใชห นุ จําลอง และลักษณะทางคลนิ กิ พน้ื ฐานท่ีนักรงั สีเทคนิคควรทราบ Basic physics, basic principle and components of general radiography, portable x-ray and dental radiographic machine. Anatomical and Physiological relationship on radiographic imaging and standard positioning used in the radiography of upper and lower extremities, pelvic girdle and hip joint, portable x-ray, pediatric, orthopedic and nomenclature, Image evaluation of normal radiography and demonstrate standard positioning include peer film, Analysis and anatomical identification using phantom and common clinical for radiological technologist. จภรส ๓๐๖ การตรวจเอกซเรยทัว่ ไป ๒ ๒ (๑-๒-๓) CHRT 306 General Radiography II ความสัมพันธทางกายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยาของภาพถายทางรังสีและเทคนิคทางรังสีวินิจฉัยของกระดูกทรวงอก หัวใจและ หลอดเลอื ด เสน ประสาทและชอ งประสาท ระบบทางเดนิ อาหาร กระดกู สนั หลงั กะโหลกศรี ษะ อวยั วะสว นชอ งทอ ง การประเมนิ ภาพถา ย ทางรงั สที ป่ี กตแิ ละมาตรฐานทางเทคนคิ รงั สวี นิ จิ ฉยั การวเิ คราะหแ ละหาตาํ แหนง บง ชท้ี างกายวภิ าคศาสตรโ ดยใชห นุ จาํ ลอง และลกั ษณะ ทางคลนิ ิกพ้นื ฐานทน่ี ักรังสีเทคนิคควรทราบ Anatomical and Physiological relationship on radiographic imaging and standard positioning used in the radiography of bony thorax, cardiovascular system, nervous, ventricular system and gastroduodenal tract, spine, skul, abdomen, Image evaluation of normal radiography and demonstrate standard positioning include peer film, Analysis and anatomical identification using phantom and common clinical for radiological technologist. 34 คูม อื หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ ารงั สีเทคนคิ ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลัยจฬุ าภรณ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ จภรส ๓๐๗ เคร่ืองมือและการควบคุมคณุ ภาพในงานรงั สีวนิ จิ ฉัย ๓ (๒-๒-๔) CHRT 307 Instrument and Quality Control in Diagnostic Radiology อปุ กรณใ นงานรงั สวี นิ จิ ฉยั วงจรทางอเิ ลก็ ทรอนคิ ของอปุ กรณต า ง ๆ มาตรฐานการตดิ ตง้ั ความปลอดภยั คณุ ลกั ษณะของเครอ่ื งมอื และการควบคุมคุณภาพงานทางรังสีวินิจฉัย ตามบทบาทของนักรังสีเทคนิค ในเครื่องมือทางรังสีวิทยาแบบตางๆ ไดแก เครื่องเอกซเรย และระบบการถา ยภาพ เครอ่ื งสอ งตรวจทางรงั สี เครอ่ื งอลั ตรา ซาวนด เครอ่ื งเอกซเรยค อมพวิ เตอร และเครอ่ื งเอม็ อารไ อ และการซอ มบำรงุ เครื่องมอื ทางรังสวี ินิจฉัย Equipment in diagnostic radiology, electronic circuits in various machines, instalation standards, safety, characteristics of diagnostic radiology equipments and Quality control in diagnostic radiology as a role of Radiological Technologist in various imaging machines, for example, x-rays machine and imaging equipment, ultrasound machine, computed tomography and magnetic resonance imaging and preventive maintenance of radiology equipments. จภรส ๓๐๘ การตรวจทางรงั สวี ทิ ยาที่ใชสารเปรยี บตาง ๑ (๑-๐-๒) CHRT 308 Contrasted Radiological Procedure หลกั การพน้ื ฐานทางฟส กิ ส เครอ่ื งมอื สว นประกอบและการทำงานของเครอ่ื ง และขบวนการสรา งภาพ ลกั ษณะของภาพแปลกปลอม สารทบึ รงั สี การเตรยี มผปู ว ยกอ นการตรวจ การดแู ลผปู ว ย ระหวา งการตรวจและหลงั การตรวจ เทคนคิ การตรวจและการสรา งภาพทางรงั สี รงั สกี ายวภิ าคศาสตรแ ละรงั สพี ยาธวิ ทิ ยาของภาพทไ่ี ด การควบคมุ คณุ ภาพของงานดา นรงั สวี นิ จิ ฉยั พเิ ศษ ตวั อยา งเชน การสอ งตรวจทางรงั สี การเอกซเรยระบบหลอดเลอื ด การสวนหัวใจ และรังสีรวมรกั ษา Principle of basic physics, instruments, components and functions of the equipment and imaging processing, image artifacts, contrast agents, patient preparation before examination, care of patient during and after examination, examination procedures and radiographic imaging techniques, radiographic anatomy and pathology of acquired images, quality control of the special radiographic procedures such as fluoroscopy, angiography, cardiac catheterization and interventional radiology. จภรส ๓๑๐ การฝก งานทางรงั สวี นิ จิ ฉยั ทว่ั ไป ๓ (๐-๑๔-๐) CHRT 310 Professional Practice in General Diagnostic Radiology การฝก ปฏบิ ตั ทิ กั ษะดา นรงั สวี นิ จิ ฉยั ทว่ั ไป การจดั ทา และเทคนคิ การถา ยภาพของสว นตา ง ๆของรา งกาย ไดแ ก ระบบโครงกระดกู และกลามเนื้อกะโหลกศีรษะ ทรวงอก ชองทอง กระดูกสันหลัง และ กระดูกรยางคตาง ๆ ฯลฯ การปรับตั้งพารามิเตอรตางๆของ เครอ่ื งเอกซเรยท ว่ั ไปและเอกซเรยเ คลอ่ื นทท่ี เ่ี หมาะสม ถกู ตอ งตามมาตรฐานวชิ าชพี การใหค ำแนะนำผปู ว ย โดยยดึ หลกั การปอ งกนั อนั ตราย จากรังสแี ละการควบคุมคณุ ภาพของภาพถา ยทางรงั สี ระยะเวลาในการปฏบิ ัตงิ านไมน อ ยกวา ๒๑๐ ชวั่ โมง Practical in general radiography, positioning and radiographic technique in many parts of human body for example musculoskeletal system, thorax, abdomen, vertebral spines and extremities etc, optimization of x-ray parameters and portable x-ray, patient suggestions in radiation safety and quality control of radiographic image, practical training period should not be less than 210 hours. 35 คมู ือหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารังสีเทคนคิ ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเจาฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ จภรส ๓๑๑ เอกซเรยเ ตา นม ๑ (๑-๐-๒) CHRT 311 Mammography หลักฟสิกสพื้นฐาน หลักการทำงานและสวนประกอบตางๆของเครื่องเอกซเรยเตานม เครื่องตัดชิ้นเนื้อเตานม กายวิภาคและ พยาธสิ ภาพของเตา นม เทคนคิ การตรวจ การจดั ทา พน้ื ฐานและทา พเิ ศษ การตรวจทอ นำ้ นม การเจาะชน้ิ เนอ้ื และการปก เขม็ ชต้ี ำแหนง เพื่อการผาตัดดวยภาพถายทางรังสี ภาพอัลตราซาวดและเอ็มอารไอของเตานม ลักษณะทางคลินิกพื้นฐานที่นักรังสีเทคนิคควรทราบ ระบบการรายงานผลตามมาตรฐานตา ง ๆ เบอ้ื งตน สำหรบั นกั รงั สเี ทคนคิ เชน ระบบไบแรด เปน ตน ปรมิ าณรงั สขี องเตา นม การควบคมุ คุณภาพของเครือ่ งเอกซเรยเตานม และเทคโนโลยใี หมในการตรวจเตานม Principle of physics, components of the mammographic and stereotactic machines, Anatomy and pathology of breast; routine and special positioning techniques, ductogram, breast biopsy and localize breast for surgery, images of mammogram, ultrasound and MRI, common clinical and radiographic report in breast systems such as BIRADS, absorbed dose, image quality and new technology in breast imaging. จภรส ๓๑๒ เอกซเรยค อมพวิ เตอร ๒ (๒-๐-๔) CHRT 312 Computer Tomography ฟสิกสพื้นฐาน หลักการทำงานและสวนประกอบของเครื่อง การสรางภาพ กระบวนการตรวจตาง ๆ ซึ่งครอบคลุมพื้นฐานทาง กายวภิ าค การเตรยี มตัวตรวจ การจดั ทา การใชอุปกรณป องกนั ทางรังสีตา ง ๆ ทีถ่ ูกตอ ง ภาพทีไ่ ดจ ากการตรวจและลกั ษณะทางคลินิก พน้ื ฐานทน่ี กั รงั สเี ทคนคิ ควรทราบ ทง้ั ระบบประสาท ทรวงอก ชอ งทอ ง ระบบกลา มเนอ้ื และกระดกู ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด และระบบ สืบพันธุ การควบคุมคณุ ภาพของเครอ่ื งเอกซเรยค อมพิวเตอร ความรูขั้นสูงและเทคโนโลยีใหมเ กี่ยวกับเครือ่ งเอกซเรยค อมพิวเตอร Basic physics and components of machine, imaging reconstruction, radiographic procedures in CT including basic anatomy, patient preparation, positioning, radiation safety devices, CT image and basic clinical for radiological technologist of neurology system, chest, abdomen, musculoskeletal system, cardiovascular system and reproductive system, Quality control, advanced knowledge and new technology in computed tomography. จภรส ๓๑๓ การสรา งภาพดวยคล่ืนเสียงความถสี่ ูง ๑ (๑-๐-๒) CHRT 313 Ultrasonography หลักฟสิกสพื้นฐาน หลักการทำงาน การสรางภาพ และหัวตรวจชนิดตาง ๆ ของเครื่องอัลตราซาวด เทคนิคการตรวจตางๆ ครอบคลุมพื้นฐานทางกายวิภาค การเตรียมตัวตรวจ ภาพที่ไดจากการตรวจและลักษณะทางคลินิกพื้นฐานที่นักรังสีเทคนิคควรทราบใน ระบบชอ งทอ ง เตา นม ตอ มไทรอยด อวยั วะสบื พนั ธุ การตรวจครรภ การตรวจหลอดเลอื ด และการตรวจระบบกลา มเนอ้ื ดว ยอลั ตราซาวด ส่งิ แปลกปลอมในภาพ การควบคุมคุณภาพ สารเพมิ่ ความตางและความปลอดภยั เทคโนโลยีใหมดา นอัลตรา ซาวนด 36 คมู อื หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ ปก ารศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ Fundamental physics, principle, image reconstruction and transducer of ultrasound, Examination technique including basic anatomy, patient preparation, ultrasound image and basic clinical for technologist of abdomen, breast, thyroid, reproductive system, obstetric, vascular and musculoskeletal system, Image artifacts, quality control, contrasted study, ultrasound safety and new technology in ultrasound. จภรส ๓๑๔ การสรางภาพดว ยเครอื่ งสนามแมเ หลก็ ไฟฟาแรงสงู ๒ (๒-๐-๔) CHRT 314 Magnetic Resonance Imaging หลักการทางฟสิกสพื้นฐานของเอ็นเอ็มอาร สวนประกอบและการทำงานของเครื่องเอ็มอารไอ หลักการสรางภาพ ปจจัยตาง ๆ ทม่ี ผี ลตอ คณุ ภาพของภาพ รวมทง้ั สง่ิ แปลกปลอมทเ่ี กดิ ขน้ึ ในเครอ่ื งเอม็ อารไ อ มคี วามเขา ใจในเรอ่ื งความปลอดภยั ของการใชเ ครอ่ื งเอม็ อารไ อ สารเปรยี บตา งทใ่ี ชใ นการตรวจ อปุ กรณต า ง ๆทส่ี ามารถใชก บั เครอ่ื งไดอ ยา งปลอดภยั รวมถงึ กระบวนการตรวจตา งๆ ซง่ึ ครอบคลมุ พน้ื ฐาน ทางกายวิภาค การเตรียมตัวตรวจ การจัดทา การใชอุปกรณตาง ๆ ที่ถูกตอง ภาพที่ไดจากการตรวจและลักษณะทางคลินิกพื้นฐานที่ นักรังสีเทคนิคควรทราบ ทั้งระบบประสาท ชองทอง เตานม ระบบกลามเนื้อและกระดูก ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบสืบพันธุ การใชเ อม็ อารไ อในงานทางมะเรง็ วทิ ยา และเรยี นรกู ารใชเ ทคโนโลยขี น้ั สงู ของเอม็ อารไ อในการสรา งภาพและวนิ จิ ฉยั โรคแบบตา ง ๆ เชน การตรวจ DWI, DTI, MR spectroscopy, Perfusion, fMRI และ MR guide biopsy เปนตน Basic physics of NMR (Nuclear Magnetic Resonance), instrument, machine principle and image formation, parameters affecting to image quality including image artifacts in MRI, understanding MRI safety, contrast material and compatible MR devices, procedures of MRI examinations consists of basic anatomy, patient preparation, positioning, coil and immobilizing devices, MR image and basic clinical for radiological technologist in neurology system, abdominal, breast, musculoskeletal, cardiovascular, gynecology system and oncology, study of advance MR imaging such as DWI (Diffusion Weighted Imaging), DTI (Diffusion Tensor Imaging), MR spectroscopy, Perfusion, fMRI (Functional MRI) and MR guide biopsy, etc. จภรส ๓๑๖ การฝกงานทางรังสีวนิ จิ ฉัยพิเศษ ๓ (๐-๑๔-๐) CHRT 316 Professional Practice in Special Radiography การฝก ปฏบิ ตั งิ านในสาขารงั สวี นิ จิ ฉยั พเิ ศษ โดยปฏบิ ตั กิ บั ผปู ว ยจรงิ เพอ่ื ใหม คี วามรแู ละประสบการณด า นการนดั เตรยี มตรวจพเิ ศษ เทคนคิ การจดั ทา และถา ยภาพรงั สสี ว นตา งๆของรา งกาย เชน ระบบทางเดนิ หายใจ ชอ งทอ ง ระบบประสาท ทางเดนิ อาหาร ระบบหวั ใจ และหลอดเลอื ด และอวยั วะอน่ื ๆ ใหถ กู ตอ ง การปรบั ตง้ั พารามเิ ตอรข องเครอ่ื งมอื อยา งเหมาะสมและปลอดภยั กบั ผปู ว ย นกั ศกึ ษาตอ งฝก ปฏบิ ตั งิ านในหอ งตรวจผปู ว ยดว ยเครอ่ื งมอื และอปุ กรณท างรงั สวี นิ จิ ฉยั พเิ ศษขน้ั พน้ื ฐาน เชน เครอ่ื งฟลอู อโรสโคปก เครอ่ื งเอกซเรยค อมพวิ เตอร เครอ่ื งถา ยภาพดว ยคลน่ื แมเ หลก็ และเครอ่ื งอลั ตรา ซาวนด รวมถงึ การบนั ทกึ ผลการตรวจเพอ่ื ใหแ พทยร ายงานผล ระยะเวลาในการปฏบิ ตั งิ าน ไมนอยกวา ๒๑๐ ชั่วโมง 37 คมู ือหลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารังสเี ทคนคิ ปการศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ Practical in special Radiography to improve skils and experiences about patient appointments in special examinations, positioning and technique in special procedures such as respiratory tract, abdominal cavity, neurology system, gastroduodenal tract, cardiovascular and other organs, optimization of imaging parameters correctly and safety to patient, basic practice in fluoroscopy, computed tomography, magnetic resonance imaging and ultrasound facilities which the medical records are included, practical training period should not be less than 210 hours กลมุ วชิ าทางรงั สรี กั ษา จภรส ๔๐๓ รงั สีคณติ และเทคนิคการรกั ษาดวยรงั สี ๓ (๒-๒-๕) CHRT 403 Dosimetry and Radiation Treatment Technique พน้ื ฐานการจำลองการรกั ษา หลกั การพน้ื ฐานของการวดั ปรมิ าณรงั สี หลกั การวางแผนการรกั ษาและคำนวณปรมิ าณรงั สใี นผปู ว ย (การคำนวณดว ยมอื และคอมพวิ เตอรว างแผนการรกั ษา) การประเมนิ แผนการรกั ษาและการกระจายปรมิ าณรงั สใี นผปู ว ย การฉายรงั สดี ว ย เทคนคิ การฉายรงั สีระยะใกลและระยะไกล และการปอ งกนั อนั ตรายจากรังสใี นงานรงั สรี ักษา Basic concept of radiotherapy simulation, Basic concepts of radiation dosimetry, Principle of treatment planning and patient dose calculation (manual and computerized treatment planning), Plan evaluation and dose distribution in patients, radiation treatment techniques including teletherapy and brachytherapy and radiation protection in radiotherapy. จภรส ๔๐๔ อปุ กรณแ ละการประกนั คณุ ภาพทางรังสรี ักษา ๒ (๒-๐-๔) CHRT 404 Instrumentation and Quality Assurance in Radiotherapy อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ บอ้ื งตน สำหรบั เครอ่ื งมอื ทางรงั สรี กั ษา สว นประกอบและหลกั การทำงานของเครอ่ื งจำลองการรกั ษา (เครอ่ื งจำลอง การรักษาแบบธรรมดา เอกซเรยคอมพิวเตอร แมเหล็กไฟฟาความถี่สูง และเพทซีที) เครื่องฉายรังสีระดับความตางศักยไฟฟากิโลโวลต และเครอ่ื งฉายรงั สรี ะดบั ความตา งศกั ยเ มกะโวลต (เครอ่ื งฉายรงั สโี คบอลต- ๖๐ เครอ่ื งเรง อนภุ าคเสน ตรง เครอ่ื งฉายรงั สอี นภุ าค เครอ่ื งฉาย รงั สไี ซเบอรไนฟ และเคร่ืองฉายรังสตี ดั ขวางแบบเกลียวหมนุ ) เครื่องสอดใสส ารกัมมันตรงั สี อุปกรณร ว มรกั ษาตางๆ เคร่ืองคอมพิวเตอร วางแผนการรกั ษา อปุ กรณป รบั แตง ลำรงั สี อปุ กรณจ ดั ทา และยดึ ตรงึ ผปู ว ย ภาพทางรงั สรี กั ษาและการประยกุ ตใ ช แหลง กำเนดิ ความคลาด เคลือ่ นในงานรงั สีรักษา และการควบคมุ คณุ ภาพเครอื่ งมือทางรงั สใี นฐานะของนักรังสเี ทคนิค Basic electronic for radiotherapy instrument, components and function of treatment simulator (conventional, CT, MRI and PET/CT simulation) kilovoltage X-ray and megavoltage equipments (cobalt 60, teletherapy, linear accelerator, particle treatment machine, cyber knife and tomotherapy units), brachytherapy units, integrated treatment devices, computerized treatment planning system, beam modifiers, patient positioning and immobilization devices, Source of uncertainty in radiotherapy, radiotherapy imaging and application and role of radiation therapist in quality assurance in radiotherapy 38 คมู อื หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารังสเี ทคนิค ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารงั สีเทคนคิ จภรส ๔๐๕ เทคนคิ ทางรังสรี กั ษาและการประยกุ ตใชท างคลนิ ิก ๑ ๒ (๒-๐-๔) CHRT 405 Radiotherapeutic Technique and Clinical application I บทนำสมู ะเรง็ วทิ ยาคลนิ กิ ชนดิ ของโรคมะเรง็ การแบง ระยะของโรคมะเรง็ พยาธสิ ภาพ ระบาดวทิ ยา อาการและการแสดงของโรค อุบัติการณ ปจจัยเสี่ยง การวินิจฉัยและการรักษามะเร็งดวยรังสี ผลดี ผลเสียและแทรกซอนจากการใชรังสีรักษา การจัดทาและการทำ อุปกรณยึดตรึงผูปวย เทคนิคการจำลองการรักษา เทคนิคการวางแผนการรักษาและการฉายรังสี การดูแลและใหคำแนะนำผูปวยและ ผูเกี่ยวของระหวางการรักษาดวยรังสี ของมะเร็งระบบประสาทสวนกลาง มะเร็งศีรษะและลำคอ มะเร็งปอด มะเร็งเตานม และมะเร็ง ระบบทางเดนิ อาหารสวนบน Introduction to clinical oncology, types of malignant tumors, staging of cancers, pathology, epidemiology, signs and symptoms, incidence and risk factors, diagnostic and treatment of cancer by radiation, advantage, disadvantage and complications from radiotherapy treatment, patient positioning and immobilization, simulation techniques, treatment planning techniques, delivery techniques, patient care and advice given to patients and people involved during the radiotherapy treatment of central nervous system malignancies, head and neck cancer, lung cancer, breast cancer and upper gastrointestinal cancer. จภรส ๔๐๖ เทคนคิ ทางรังสีรักษาและการประยุกตใชทางคลินิก ๒ ๒ (๒-๐-๔) CHRT 406 Radiotherapeutic Technique and Clinical application II ชนดิ ของโรคมะเรง็ การแบง ระยะของโรคมะเรง็ พยาธสิ ภาพ ระบาดวทิ ยา อาการและการแสดงของโรค อบุ ตั กิ ารณ ปจ จยั เสย่ี ง การวนิ จิ ฉยั และการรกั ษามะเรง็ ทอ่ี วยั วะตา งๆ ดว ยรงั สี ผลดี ผลเสยี และแทรกซอ นจากการใชร งั สรี กั ษา การจดั ทา และการทำอปุ กรณย ดึ ตรึงผูปวย เทคนิคการจำลองการรักษา เทคนิคการวางแผนการรักษาและการฉายรังสี การดูแลและใหคำแนะนำผูปวยและผูเกี่ยวของ ระหวา งการรกั ษาดว ยรงั สี ของมะเรง็ ชอ งทอ งสว นลา ง (มะเรง็ ทางเดนิ อาหารสว นลา ง มะเรง็ ระบบสบื พนั ธสุ ตรี มะเรง็ ระบบทางเดนิ ปส สาวะ) มะเร็งชนิดซารโ คมา มะเรง็ ในเดก็ มะเร็งระบบโลหิต (มะเรง็ เม็ดเลอื ดและมะเรง็ ตอมน้ำเหลอื ง) การรักษามะเรง็ ภาวะฉุกเฉนิ และมะเร็ง ชนิดอน่ื ๆ Types of malignant tumors, staging of cancers, pathology, epidemiology, signs and symptoms, incidence and risk factors, diagnostic and treatment of cancer by radiation, advantage, disadvantage and complications from radiotherapy treatment, patient positioning and immobilization, simulation techniques, treatment planning techniques, delivery techniques, patient care and advice given to patients and people involved during the radiotherapy treatment of lower abdomen cancer (lower gastrointestinal cancer, gynaecological cancer, genitourinary cancer), sarcoma, pediatric malignancies, haematological malignancies (leukemia and lymphoma), emergency conditions and others cancer. 39 คมู อื หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สเี ทคนิค ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารังสเี ทคนคิ จภรส ๔๐๗ การฝก งานทางรงั สีรักษา ๓ (๐-๑๔-๐) CHRT 407 Professional Practice in Radiotherapy การฝก ปฏบิ ตั งิ านในสาขารงั สรี กั ษาตามกระบวนการทางรงั สรี กั ษา ตง้ั แตข น้ั ตอนการจดั ทา ผปู ว ย การจดั ทำอปุ กรณย ดึ ตรงึ การ จำลองการรักษา วางแผนการรักษาขั้นพื้นฐาน การฉายรังสีดวยเครื่องฉายรังสีระยะไกลและระยะใกลขั้นพื้นฐาน การดูแลผูปวยระหวาง การฉายรังสี การปองกันอันตรายจากรังสี ระบบเครือขายทางรังสีรักษา ทำการประกันคุณภาพเครื่องทางรังสีรักษาตามบทบาทของ นักรังสีเทคนคิ ระยะเวลาในการปฏิบัติงานไมน อยกวา ๒๑๐ ชั่วโมง Internship in the Radiotherapy Division; the process of radiotherapy treatment from patient positioning, immobilization, simulation, basic treatment planning, basic of clinical treatment by teletherapy and brachytherapy units, care of the patients during radiation treatment, radiation protection, network in radiotherapy, quality assurance in radiotherapy machines in the role of a radiation technologist, practical training period should not be less than 210 hours. กลุมวิชาทางเวชศาสตรนิวเคลยี ร์ จภรส ๓๑๗ ฟสกิ สแ ละอปุ กรณทางเวชศาสตรน วิ เคลียร ๓ (๒-๒-๕) CHRT 317 Physics and Nuclear Medicine Instrument หลักการพื้นฐานทางฟสิกส โครงสรางอะตอม คุณสมบัติของสารกัมมันตรังสี สารเภสัชรังสีและเภสัชจลนศาสตร การผลิตสาร เภสัชรังสีดวยเทคโนโลยีไซโคลตรอน และเครื่องสังเคราะหสารเภสัชรังสี สวนประกอบและหลักการทำงานของเครื่องมือทางเวชศาสตร นวิ เคลียร ระบบหวั วดั รังสี เครอื่ งแกมมา-คาเมรา เครื่องโดสแคลิเบรเตอร เครื่องตรวจวดั ความหนาแนน ของกระดกู และเครอื่ งไทรอยด อัปเทค เครื่องถายภาพรังสีแกมมาหลายระนาบ เครื่องถายภาพอนุภาคโพสิตรอน และเทคโนโลยีการถายภาพรวมกับเครื่องเอกซเรย คอมพวิ เตอร หรอื เครอ่ื งเอม็ อารไ อ ระบบคอมพวิ เตอรใ นงานเวชศาสตรน วิ เคลยี ร การปอ งกนั อนั ตรายทางรงั สใี นงานเวชศาสตรน วิ เคลยี ร และการควบคุมคณุ ภาพเครื่องมอื ทางรงั สีในบทบาทของนักรังสเี ทคนคิ Principle of physics; atomic structure, radioactivity property, radiopharmaceutical and pharmacokinetics, cyclotron technology and radiopharmacy synthesis module, principle and components of nuclear medicine instrument; radiation detector and counting system, gamma camera, dose calibrator, bone densitometer, thyroid uptake, SPECT/CT, PET/CT and PET/MRI, computer used, radiation protection and quality control in nuclear medicine. จภรส ๓๑๙ เทคนคิ การสรา งภาพทางเวชศาสตรนิวเคลียรแ ละการประยุกตใชท างคลินกิ ๑ ๓(๓-๐-๖) CHRT 319 Nuclear Medicine Imaging and Clinical Application I บทนำสเู วชศาสตรน วิ เคลยี รค ลนิ กิ กายวภิ าค สรรี วทิ ยา โรคและการวนิ จิ ฉยั โรคดว ยเทคนคิ ทางเวชศาสตรน วิ เคลยี ร ขน้ั ตอนใน การตรวจและการถา ยภาพ เทคนคิ การเกบ็ ขอ มลู และการสรา งภาพ การควบคมุ คณุ ภาพของภาพถา ยทางรงั สแี ละการประยกุ ตใ ชท างคลนิ กิ การดูแลผูปวยและการปองกันอันตรายทางรังสี ในการตรวจกระดูก ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบปสสาวะ สมอง และหัวใจ 40 คูมอื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารงั สีเทคนคิ ปการศึกษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจา ฟาจุฬาภรณ ราชวทิ ยาลัยจุฬาภรณ

หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค Introduction of nuclear medicine clinic, anatomy, physiology, disease and nuclear medicine imaging procedure, image acquisition and reconstruction technique, image quality control including clinical application, patient care and radiation protection in bone, respiratory system, gastro-intestinal system, genito-urinary system, brain and cardiology imaging. จภรส ๓๒๐ เทคนคิ การสรา งภาพทางเวชศาสตรน วิ เคลยี รแ ละการประยกุ ตใชท างคลนิ กิ ๒ ๓(๓-๐-๖) CHRT 320 Nuclear Medicine Imaging and Clinical Application II กายวภิ าค สรรี วทิ ยา โรคและการวนิ จิ ฉยั โรคดว ยเทคนคิ ทางเวชศาสตรน วิ เคลยี ร ขน้ั ตอนในการตรวจและการถา ยภาพ เทคนคิ การเก็บขอมูลและการสรางภาพ การควบคุมคุณภาพของภาพถายทางรังสี การดูแลผูปวยและการปองกันอันตรายทางรังสี ในการตรวจ ตับและมาม ทางเดินน้ำดี ระบบน้ำไขสันหลัง เนื้องอก ระบบตอมไรทอ ตอมไทรอยด รวมถึงการรักษาโรคทางเวชศาสตรนิวเคลียร หลกั การพน้ื ฐานและเทคนคิ การรกั ษาโดยใชส ารเภสชั รงั สี รงั สชี วี ทิ ยา และเรดโิ อนวิ ไคลดใ หมๆ เพอ่ื ใชใ นการรกั ษาโรคมะเรง็ ในงานเวชศาสตร นวิ เคลยี ร Anatomy, physiology, disease and nuclear medicine imaging procedure, image acquisition and reconstruction technique, image quality control including clinical application, patient care and radiation protection in liver and spleen, hepatobiliary, tumor, endocrine system, thyroid and parathyroid imaging including radionuclide therapy, basic principles and techniques of radionuclide therapy, radiation biology, and novel radionuclide therapies in nuclear medicine oncology. จภรส ๓๒๑ การฝก งานทางเวชศาสตรน วิ เคลยี ร ๓ (๐-๑๔-๐) CHRT 321 Professional Practice in Nuclear Medicine การฝกงานทางเวชศาสตรนิวเคลียรตามกระบวนการทางเวชศาสตรนิวเคลียร ไดแก การใชเครื่องมือและการควบคุมคุณภาพ เทคนิคการถายภาพทางเวชศาสตรนิวเคลียรเบื้องตน ไดแก เครื่องถายภาพรังสีแกมมาหลายระนาบ เครื่องถายภาพอนุภาคโพสิตรอน เทคโนโลยกี ารถา ยภาพรว มกบั เครอ่ื งเอกซเรยค อมพวิ เตอร และการผลติ สารเภสชั รงั สี และเครอ่ื งสงั เคราะหส ารเภสชั รงั สี การประมวลผล และการบันทึกภาพ การดูแลและการจัดทาผูปวย การขจัดกากกัมมันตรังสีและการปองกันอันตรายจากรังสี ภายใตการกำกับดูแลของ นกั รังสีเทคนิคและรังสแี พทย ระยะเวลาในการปฏบิ ตั ิงานไมนอ ยกวา ๒๑๐ ชัว่ โมง Practical work of nuclear medicine in affiliated hospitals, under the supervision of radiological technologists and radiologists. The clinical experience concern in nuclear medicine procedures including SPECT/CT imaging, PET/CT imaging, radiopharmaceutical synthesis module: equipment manipulation and quality control, nuclear medicine imaging technique, image reconstruction and archiving, patient positioning and patient care and radiation safety in nuclear medicine, practical training period should not be less than 210 hours 41 คมู อื หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ ารงั สเี ทคนิค ปก ารศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วิทยาศาสตรการแพทยเ จา ฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จุฬาภรณ

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชารงั สีเทคนคิ กลมุ วชิ าทางการวจิ ยั จภรส ๓๐๙ สมั มนาและระเบยี บวธิ วี จิ ัยทางรังสีเทคนิค ๑ (๑-๐-๒) CHRT 309 Seminar and Research Methodology in Radiological Technology การคน ควา คดั เลอื ก และประเมนิ วรรณกรรมทน่ี า สนใจและทนั สมยั ในสาขาทเ่ี กย่ี วขอ งกบั รงั สเี ทคนคิ นำเสนอดว ยวาจาในชน้ั เรยี น และอภปิ รายในหวั ขอ นน้ั ๆเพอ่ื พฒั นาองคค วามของนกั ศกึ ษาอยา งสรา งสรรค ระเบยี บวธิ วี จิ ยั และการคน ควา หวั ขอ วจิ ยั ทใ่ี ชใ นการทำภาค นิพนธ Searching, select and appraisal on interested literatures in the field of radiological technology, oral presentation in the class and discussions to create and improve the knowledge, research methodology and topic selection. จภรส ๓๑๘ ภาคนพิ นธ ๑ (๐-๓-๐) CHRT 318 Term paper การทำโครงงานวิจัยดานรังสีเทคนิคโดยเลือกโจทยในสาขารังสีวินิจฉัย รังสีรักษาหรือ เวชศาสตรนิวเคลียรตามความสนใจของ นักศึกษา ภายใตการควบคุมของอาจารยที่ปรึกษา โดยนำหลักการระเบียบและวิธีวิจัยมาสืบคนหาขอมูลและดำเนินการวิจัย รวมทั้งการ นำเสนอดวยวาจา การนำเสนอภาคโปสเตอรและการเขียนรายงานวจิ ัยฉบบั สมบรู ณ Producing a project in radiological technology field from diagnostic, radiotherapy or nuclear medicine according to student interesting under the advisor supervision. Using research methodology and search engine to conduce the project including the oral presentation, poster based presentation and writing ful research. ค. หมวดวิชาเลอื กเสรี ๑. กลุมวิชาชีพฝกงาน จภรส ๔๑๐ การฝกงานทางเวชศาสตรน วิ เคลียรข ั้นสงู ๓ (๐-๑๔-๐) CHRT 410 Advanced Professional Practice in Nuclear Medicine การฝกงานทางเวชศาสตรนิวเคลียรตามกระบวนการทางเวชศาสตรนิวเคลียรกาวหนาตางๆ ไดแก เครื่องถายภาพรังสีแกมมา หลายระนาบ เครอ่ื งถา ยภาพอนภุ าคโพสติ รอน เทคโนโลยกี ารถา ยภาพรว มกบั เครอ่ื งเอกซเรยค อมพวิ เตอร หรอื เครอ่ื งเอม็ อารไ อ และการ ผลติ สารเภสชั รงั สดี ว ยเทคโนโลยไี ซโคลตรอน และเครอ่ื งสงั เคราะหส ารเภสชั รงั สี รวมไปถงึ การควบคมุ คณุ ภาพ และการประกนั คณุ ภาพ สารเภสัชรงั สี ระยะเวลาในการปฏิบัตงิ านไมนอยกวา ๒๑๐ ช่วั โมง Practical work of advanced nuclear medicine techniques in affiliated hospitals: SPECT/CT imaging, PET/CT or PET/MRI imaging, cyclotron technology radiopharmacy synthesis module, including of quality control and quality assurance of radiopharmacy, practical training period should not be less than 210 hours. 42 คูมอื หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ ารังสเี ทคนิค ปก ารศกึ ษา 2563 วิทยาลัยวทิ ยาศาสตรก ารแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวิทยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารงั สีเทคนิค จจภรส ๔๑๑ การฝก งานรงั สรี กั ษาขั้นสงู ๓ (๐-๑๔-๐) CHRT 411 Advanced Professional Practice in Radiotherapy การฝก ปฏบิ ตั งิ านในสาขารงั สรี กั ษา ตามหลกั การการฉายรงั สดี ว ยเทคนคิ ทก่ี า วหนา ตา ง ๆ ไดแ ก การใชภ าพนำวถิ ใี นรงั สรี กั ษา การฉายรังสีแบบทั่วตวั ดวยลำรังสโี ฟตอน การฉายรงั สีแบบผิวหนังทวั่ ตัวดวยลำรงั สอี ิเลก็ ตรอน การฉายรงั สแี บบผาตดั การฉายรังสแี บบ เนนเฉพาะที่ การกำหนดขอบเขตเนื้อเยื้อปกติในภาพวางแผนการรักษาการคำนวณปริมาณรังสีดวยระบบคอมพิวเตอรวางแผนการรักษา ระยะเวลาในการปฏิบัตงิ านไมนอยกวา ๒๑๐ ชว่ั โมง Practical work in the radiotherapy division; Principle of advanced radiation techniques: image guided radiotherapy, total body irradiation with photon beams, total body skin irradiation with electron beams, stereotactic radiosurgery, stereotactic radiotherapy, critical organ delineation in radiation treatment planning image and dose calculation by using computerized treatment planning system, practical training period should not be less than 210 hours. ๒. กลุมวิชาชีพเสรี จภรส ๔๑๓ รงั สรี ักษาสำหรบั สตั วเลก็ ๒ (๒-๐-๔) CHRT 413 Radiotherapy for Smal Animal ความรูพื้นฐานทางรังสีรักษาสำหรับสัตวเล็ก กายวิภาคและพยาธิวิทยาสัตวเล็กพื้นฐาน เทคนิคการจัดทาและใชอุปกรณยึดตรึง ในการฉายรงั สสี ำหรบั สตั วเ ลก็ ขน้ั ตอนและเทคนคิ การจำลองการรกั ษาสตั วเ ลก็ การวางแผนการรกั ษาและการคำนวณปรมิ าณรงั สสี ำหรบั การรกั ษาสตั วเ ลก็ การฉายรงั สสี ำหรบั สตั วเ ลก็ หลกั การดแู ลสตั วเ ลก็ ระหวา งการฉายรงั สี และการปอ งกนั อนั ตรายจากรงั สสี ำหรบั สตั วเ ลก็ ในงานรงั สรี ักษา Introduction for smal animal radiotherapy, basic smal animal anatomy and pathology, technique of smal animal set up position and immobilization devices in radiotherapy, procedure and techniques of smal animal radiotherapy simulation, radiation treatment planning and dose calculation for smal animal, smal animal treatment delivery, principles of smal animal care during radiotherapy treatment and radiation protection for smal animals in radiotherapy. จภรส ๔๑๔ การสรางภาพรังสวี ินิจฉัยสำหรับสตั วเล็ก ๒ (๒-๐-๔) CHRT 414 Diagnostic Radiographic Imaging for Smal Animal บทนำสำหรับการถา ยภาพรงั สวี ินจิ ฉัยสตั วเล็ก ความสมั พนั ธทางกายวภิ าคศาสตรแ ละ พยาธวิ ทิ ยาในภาพถายทางรังสขี องสัตวเล็ก เทคนิคการสรางภาพรงั สีวินิจฉยั สัตวเล็ก การสรางภาพคล่ืนเสียงความถ่สี งู สำหรับสตั วเลก็ การถายเอกซเรยค อมพิวเตอรสำหรบั สัตวเล็ก การถา ยภาพสั่นพองแมเหล็กสำหรบั สตั วเล็ก หลักการดแู ลสัตวเลก็ ในระหวางการถายภาพรงั สี และการปอ งกนั อนั ตรายจากรังสสี ำหรับ สตั วเล็ก 43 คูม ือหลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ ารงั สเี ทคนิค ปการศกึ ษา 2563 วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเ จา ฟา จฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารงั สเี ทคนคิ จภรส ๔๑๕ สขุ ภาพดชี ีวิตดี ๑ (๑-๐-๒) CHRT 415 Good Health and Good Life ความรูเบ้ืองตนเกีย่ วกบั การดแู ลสุขภาพ การปฏิบัตติ ัวเพอื่ การมสี ขุ ภาวะท่ีดี ทา ทาง และการ เคลือ่ นไหวรางกายที่ถูกตอ ง การ ปองกันและการดูแลสขุ ภาพ Basic knowledge of health care, self practices for welness, good posture and movement, health promotion and prevention. จภรส ๔๑๖ โปรแกรมคอมพิวเตอรป ระยุกตสำหรับรังสเี ทคนิค ๑ (๐-๑-๒) CHRT 416 Computer Application in Radiological Technology เทคโนโลยซี อฟตแ วรป ระยกุ ต ซอฟตแ วรป ระยกุ ตท น่ี ยิ มใชใ นงานรงั สใี นปจ จบุ นั ขอ มลู และสารสนเทศ การประยกุ ตใ ชส ารสนเทศ หลกั การพฒั นาระบบสารสนเทศ แผนผงั การไหล ชนดิ ขอ มลู และตวั กระทำการ การควบคมุ การไหลและการทำซำ้ ในโปรแกรม จภรส ๔๑๗ การเรยี นรูเ พอ่ื การเปลี่ยนแปลงสำหรับนกั รังสีเทคนคิ ๒ (๒-๐-๔) CHRT 417 Transformative Learning for Radiological Technologist การสำรวจตนเอง การคดิ วเิ คราะหอ ยา งเปน เหตเุ ปน ผลเกย่ี วกบั เหตปุ จ จยั และผลกระทบของเหตกุ ารณ/ สถานการณ/ ปญ หา และ สารสนเทศ ทักษะการอยูรวมกับผูอื่นอยางมีสมานฉันท สามารถยอมรับความแตกตางซึ่งกันและกันได หลักคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญ สำหรับนักรังสีเทคนิค และการประยุกตใ ชใ นชวี ติ ประจำวัน Self-reflection, rational discourse on causes and effects of events/situations/ problems and information technology, skils to live with others in harmony, mutual recognition in diversity, ethical rules for radiological technologist and application for daily basis. จภรส ๔๑๘ รังสนี วัตกรรม (๒-๐-๔) CHRT 418 Innovation in Radiology ความหมายของนวัตกรรมและนวัตกร การบริหารนวัตกรรม แนวความคิดที่เกี่ยวของในการพัฒนานวัตกรรม นวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางรังสวี ทิ ยา Description of innovation and innovator, innovation management, related conceptual frameworks in innovation development, innovations and related technologies in radiological technology. 44 คูมอื หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชารงั สีเทคนคิ ปการศึกษา 2563 วทิ ยาลัยวิทยาศาสตรการแพทยเ จาฟา จุฬาภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ

คณะเทคโนโลยีวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพ วทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตรการแพทยเจาฟาจฬุ าภรณ ราชวทิ ยาลยั จฬุ าภรณ 906 ถนนกำแพงเพชร 6 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กทม. 10210 โทร 0-2576-6000 วนั เวลาทำการ ทุกวันจนั ทร – ศกุ ร ตงั้ แตเวลา 08.00 – 16.00 น. ยกเวน วนั หยดุ นกั ขัตฤกษ Facebook Scan QR