สังขท์ อง (นทิ านพนื้ บ้านไทย) อสุ าบารส (นิทานพนื้ บ้านภาคอีสาน) สามกษัตริย์ (นทิ านพนื้ บ้านภาคเหนอื ) เจา้ แมล่ ิ่มกอเหนี่ยว (นิทานพืน้ บา้ นภาคใต้) พระยากง พระยาพาน (นิทานพืน้ บ้านภาคกลาง) ครูผสู้ อน นายปลื้ม ปรชี า ครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนบางปะอิน“ราชานเุ คราะห์ ๑” อาเภอบางปะอนิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓
บทวิเคราะห์นทิ านพืน้ บนในท้องถนิ่ ตา่ งๆ ๑. นทิ านพ้ืนบา้ นเรอื่ ง สามกษัตริย์ จัดเป็นนิทานพื้นบ้านประเภท นิทานวีรบุรุษ ซึ่งเป็นนิทานท่ีมีเน้ือหาว่าด้วย เรอื่ งราวของวีบุรษุ ซง่ึ คนในทอ้ งถ่นิ เชื่อถอื วา่ เคยมชี ีวิตอยู่จรงิ ในชว่ ง ตน้ ประวัตศิ าสตรข์ อง ท้องถิน่ นิทานพนื้ บ้านประเภทนี้สว่ นใหญย่ ังกล่าวถงึ อิทธปิ าฏิหาริย์ ความเก่งกลา้ สามารถ หรือวีรกรรมทมี่ ีวีบรุ ษุ ไดต้ อ่ ส้กู บั ชนชาติหรือเผา่ พันธ์อุ น่ื ๆ ซ่งึ นอกจากเร่ืองพระร่วงแล้ว ยัง มีนิทานพื้นบ้านประเภทนิทานวีบุรุษอีกหลายเรื่อง อาทิ เร่ือง ลวจังกราช (ปู่เจ้าลาวจก) ขนุ บรม (ขนุ บฮู ม) พระร่วง ทา้ วแสนปมขุนหลวงวิลงั คะ เป็นตน้ เรื่อง สามกษัตริย์ ยังถือว่าเป็นนิทานวีบุรุษประเภทแสดงวีรกรรมและอธิบาย สถานที่ คือมีเนื้อเรื่องท่ีมุ่งแสดงสถานท่ีสาคัญทางประวัติศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับวีรบุรุษ เพราะได้เนน้ เรอ่ื งการตั้งช่ือบ้านนามเมอื ง เช่น แม่รอ่ งช้าง หนองเอ้ียง บา้ นตุน หว้ ยแมต่ ุน และแมอ่ งิ และไดม้ ีการ นาชือ่ บุคคลในประวัตศิ าสตร์มาผกู เป็นเร่ืองอธิบายชอ่ื สถานท่ี เพอื่ แสดงวา่ เปน็ สถานทีส่ าคญั ในประวติ ิศาสตร์ของทอ้ งถ่นิ ส่วนเน้ือเร่ืองตอนท่ีกล่าวว่าพระยาร่วงเป็นชู้กับพระชายาของพระยางาเมือง น่าจะเป็น เร่ืองเล่าที่แทรกเข้ามาในสมัยหลัง แต่เมื่อได้เล่าขานกันสืบมาเป็นระยะเวลา ยาวนานจนเมื่อถึงสมัย ท่ีมีการบันทึกเป็นหลักฐานลายลักษณ์อักษรจึงยังปรากฏเร่ือง ดังกล่าวแทรกอยดู่ ว้ ย อย่างไรก็ตามเรื่อง สามกษัตริย์ มีเนื้อเรื่องบางตอนเป็นข้อเท็จจริงทาง ประวัติศาสตร์ เช่น พ่อขุนรามคาแหงมหาราชเป็นกษัตริย์ครองกรุงสุโขทัย พ่อขุนมังราย ครองเมอื งเชยี งราย และพ่อขุนงาเมอื งครองเมืองพะเยา รวมทงั้ เม่ือคร้งั ทีพ่ ่อขุนมังรายย้าย ราชธานีมายังเมือง เชียงใหม่ ได้มีการเชิญพ่อขุนรามคาแหงและพ่อขุนงาเมืองมาดูทาเล สรา้ งเมือง เปน็ ต้น
๒. นทิ านพืน้ บา้ นเรอ่ื ง อุสาบารส เป็นนิทานพ้ืนบ้านประเภท นิทานประจาถิ่น คือ เป็นนิทานที่เล่าหรืออธิบายถึง เร่ืองราวของโบราณสถาน ความเป็นมาของช่ือบ้านนามเมือง สถานท่ีและภูมิประเทศใน ท้องถิ่น โดยผูกเป็นเร่ืองราวเพ่ือแสดงถึงภูมิหลังหรือประวัติความเป็นมา ช่ือสถานท่ีที่ เก่ียวพันกับเน้ือเร่ืองและเช่ือถือกันเป็น เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนจริง โดยมีโบราณสถาน เป็น หลกั ฐานพยานปรากฏอยู่ ชาวอีสานได้นาชือ่ ตัวละครในนทิ านพื้นบ้านเรื่องอุสาบารสคอื ทา้ วบารส และ นาง อุสา รวมทง้ั เกรด็ ของเนอื้ เรื่องมาอธบิ ายช่อื สถานที่ เช่น คอกม้าบารส (สถานท่ที ่ีทา้ วบารส ผูกม้าก่อนเข้าไปสืบหานางอุสาในเมืองพาน) เป็นโขดหินทราย ๒ ก้อน ซ้อนเทินกันอยู่ มี ความยาว ๑๕ เมตร กว้าง ๑๐ เมตร มีลักษณะเป็นห้องขนาดใหญ่ ๒ ห้อง หอนางอุสา (หอคาที่พระเจ้ากรุงพานสร้างให้เปน็ ทีป่ ระทบั ของนางอุสา) เป็นก้อนหินทรายขนาดใหญ่ มีรูปร่างคล้ายดอกเห็ดที่กาลังบาน กว้าง ๕ เมตร ยาว ๗ เมตร สูงประมาณ ๑๐ เมตร ตอนบนเจาะเป็นห้องขนาดเล็ก ต้องทาเป็นบันไดขึ้นไป เมืองพะโค (เมืองท่ีท้าวบารส อภิเษกกับนางอุสา) ปัจจุบันเรียกว่า บ้านพะโค อยู่ใน เขตอาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย วัดพ่อตา และ วัดลูกเขย (วัดที่ท้าวบารสและพระเจ้ากรุงพานสร้างแข่งขันกัน) เป็นวัด โบราณที่สรา้ งข้นึ โดยดดั แปลงจากหน้าผาธรรมชาติ ภายในมพี ระพทุ ธรูปสลกั อยทู่ ีห่ น้าผา จานวนมากและมีอิฐโบราณซ่ึงแสดงให้เห็นว่ามนุษย์ก่อสร้างเพิ่มเติม เมืองพาน คือ แถบ เขาภพู านน้อย ในบรเิ วณอุทยานประวตั ิศาสตร์ภูพระบาท ตาบลเมืองพาน อาเภอบ้านผือ จังหวัดหนองคาย ซึ่งมีโบราณสถานสมัยก่อนประวัติศาสตร์ เช่น ถ้าและเพิงหินที่ถูก ดัดแปลงเป็นที่อยู่อาศัย ภายใน มีภาพเขียนสี เช่น ภาพคน มือ สัตว์ และภาพลาย เรขาคณติ นอกจากน้ียงั พบพระพุทธรูปและใบเสมาหนิ ขนาดใหญส่ มัยทวารวดีจานวนมาก
๓. นทิ านพ้ืนบ้านเรอ่ื ง พระยากง พระยาพาน และเรื่อง เจ้าแมล่ ่มิ กอเหน่ยี ว จดั เป็นนิทานพืน้ บา้ น ประเภท นทิ านประจาถ่นิ เชน่ เดยี วกับนิทานพนื้ บา้ นเรือ่ งอุสาบารส คือ เป็นนิทานที่มีโครงเรื่องผูกพันกับสถานท่ี ภูมิประเทศ หรือโบราณสถานในท้องถ่ินหรือเป็น เรื่องราวที่เล่าสืบทอดกันมา โดยนาช่ือสถานท่ีในท้องถ่ินมาเกี่ยวพันกับเน้ือเรื่องหรือตัวละครใน เรื่องและเชื่อกันว่าเป็นเรื่องท่ีเคยเกิดขึ้นจริง โดยเร่ือง พระยากง พระยาพาน อธิบายความเป็น พระปฐมเจดีย์ และพระประโทน และเร่ืองเจ้าแม่ล่มิ กอเหนีย่ ว อธบิ ายความเปน็ มาของ มัสยิดกรือ เซะ ๔. นิทานพน้ื บ้านเร่ือง สงั ขท์ อง นิทานพื้นบ้านเรือ่ ง สงั ขท์ อง มเี นื้อเรื่องทส่ี นุกสนาน ให้ความเพลดิ เพลิน เนอื้ เร่ืองมีหลาก อารมณ์ ขณะเดียวกันก็สะท้อนความเชื่อบางประการท่ีสามารถนามาเป็นข้อคิดเตือนใจผู้อ่านได้ ดังต่อไปนี้ ๑. คนดีย่อมตกน้าไมไ่ หลตกไฟไม่ไหม้ การอิจฉาริษยาของตวั ละครฝ่ายอธรรมในเรอื่ ง คือ นางจันทา เป็นผลให้นางจันทเ์ ทวีต้องตกระกาลาบาก พระสังข์ต้องถูกจับถว่ งนา้ ต้องผจญภัยตา่ ง ๆ แต่ทา้ ยทสี่ ดุ ธรรมะก็ชนะอธรรม คนที่ทาชั่วยอ่ มได้รับผลกรรมช่ัวตอบแทน ด้วยความดีของพระ สังข์จึงสามารถมีชัยเหนือศัตรูที่คิดร้าย สุดท้ายนางจันทาก็ได้รับโทษ นางจันท์เทวีได้กลับคืนสู่วัง นอกจากนี้พระสังข์ยังมีความกตัญญูต่อมารดา เมื่อเห็นมารดาต้องทางานเหน่ือยยาก พระสังข์ ท่ี ยงั เยาวว์ ยั ได้ออกจากหอยสังข์ ช่วยทางานบา้ นเพอื่ แบง่ เบาภาระมารดา ๒. ความรักอันย่ิงใหญ่ของแม่ท่ีมีต่อลูก นิทานเร่ืองสังข์ทองทาให้เราเห็นถึงความรักอัน ย่ิงใหญ่ของแม่อย่างนางจันท์เทวีท่ีรักลูกมาก มิได้รังเกียจ แม้ว่าลูกเป็นหอยสังข์ก็ยังเฝ้าดูแลด้วย ความหว่ งใย นางพันธุรัตที่เปน็ ยักษก์ ็เลย้ี งดูพระสงั ขอ์ ย่างดีราวกับเป็นลกู แท้ๆ แมส้ ุดทา้ ย พระสังข์ จะเหาะหนนี างไป นางกย็ งั สอนมหาจินดามนตรใ์ หพ้ ระสงั ข์กอ่ นท่นี างจะสนิ้ ใจตาย
๓. ไมค่ วรตัดสนิ คนจากรูปลักษณภ์ ายนอก ผูท้ ี่มีรปู ลักษณภ์ ายนอกน่าเกลียด เชน่ เจ้าเงาะ ภายในอาจมีรูปทองซ่อนอยู่ คนเรามักตัดสินกันที่รูปลักษณ์ภายนอก ดังบทละครนอก พระราช นพิ นธใ์ นรชั กาลที่ ๒ พ่ีสาวท้งั ๖ ของนางรจนา กลา่ ววาจาเยาะเยย้ นอ้ งสาวของตนวา่ ชะนางคนดีไมม่ ีชว่ั ชา่ งเลอื กผัวงามนกั น่ารกั ใคร่ รูปร่างน่าหวั ร่อเหมอื นตอไม้ เอออะไรพงุ โรสนั หลังยาว มนั น่าเชยน่าชมสมประกอบ พอชอบทานองหม่อมน้องสาว หูตาบงั้ แบวเหมือนแมวคราว เขาเล่าลือออ้ื ฉาวชา่ งไมอ่ าย นอกรีตนอกรอยน้อยหรือนน่ั แร่รันไปรักอีมกั งา่ ย ใหพ้ ่ีสาวชาวแส้พลอยวนุ่ วาย อปั ยศอดอายขายหนา้ ตา ฯ แต่นางรจนา \"นางเหน็ รูปสวุ รรณอยู่ชั้นใน รปู เงาะสวมไวใ้ ห้คนหลง\" เน้ือเร่ืองตอนนี้ให้คติ สอนใจเกย่ี วกับรปู ลกั ษณภ์ ายนอกวา่ บางครัง้ คนท่ีมีหน้าตาไม่สวยงาม แตจ่ ิตใจอาจดงี ามก็ได้ การ ตัดสินความดีความชว่ั ของคนจากรูปลักษณ์ภายนอก จึงไม่ใช่สง่ิ ทีถ่ กู ตอ้ งเสมอไป
Search
Read the Text Version
- 1 - 6
Pages: