หนว่ ยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจักรยานยนต์
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ลอ้ และยาง (Wheel and Tires) ลอ้ และยางทาหน้าที่รองรบั น้าหนักของตวั รถและผูข้ บั ข่ี การส่งกาลงั การหา้ มลอ้ การเล้ ียวและยงั ชว่ ยลดการกระแทก การสนั่ สะเทือนจากผิว ถนนส่โู ครงรถโดยผ่านยาง ฉะน้ันลอ้ และยางจะตอ้ งแขง็ แรงและมนี ้าหนักเบา ชนิดของวงลอ้ (Types of Wheel) วงลอ้ มหี ลายชนิดซงึ่ แตกต่างกนั ไปท้งั ในดา้ นโครงสรา้ งและวสั ดุท่ีใชท้ า หรือ กรรมวธิ ีการ ผลิต แบ่งไดด้ งั น้ ี วชิ า งานจกั รยานยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศิริศักดิ์ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ชนิดของวงลอ้ (Types of Wheel) 1. วงลอ้ ซี่ลวด (Wire Spoke Wheel) วงลอ้ ชนิดน้ ีทาดว้ ยแผ่นเหล็ก หรือ อลมู เิ นียมผสม โดยการรดี ใหเ้ ป็ นวงและ ใชซ้ ีล่ วดยดึ ระหวา่ งวงลอ้ กบั ดุมลอ้ ซง่ึ มี ขอ้ ดีคือสามารถดูดซบั อาการสนั่ สะเทือน ไดด้ ี นิยมใชใ้ นรถจกั ยานยนตท์ วั่ ไป วิชา งานจกั รยานยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศิรศิ กั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ชนิดของวงลอ้ (Types of Wheel) 2. วงลอ้ ป๊ัมข้ นึ รปู (Pressed Wheel) วงลอ้ ชนิดน้ ีตวั วงลอ้ และดุมลอ้ จะถกู ป๊ัม ข้ นึ รปู ยึดติดกนั แทนซี่ลวด โดยใชโ้ บล้ ท์ และ นัทหรือการเช่อื มวงลอ้ เป็ นลอ้ ที่มี โครงสรา้ งแบบธรรมดา นิยมใชใ้ น รถจกั รยานยนตข์ นาดเล็กประเภท ครอบครวั วชิ า งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจีน ผ้สู อน นายศิรศิ กั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ชนิดของวงลอ้ (Types of Wheel) 3. วงลอ้ หล่อข้ นึ รปู (Cast Wheel)วงลอ้ ชนิด น้ ีจะถูกหล่อข้ นึ รปู เป็ นวงลอ้ ท้งั วง ท้งั สว่ นที่ เป็ นขอบและตวั ยดึ โดยใชโ้ ลหะผสมท่ีมนี ้าหนัก เบา ซ่งึ บางทีเรยี กวา่ “Light Alloy Disk Wheel” หรอื ลอ้ แม็ก เป็ นวงลอ้ ที่แขง็ แรงไม่ จาเป็ นตอ้ งต้งั วงลอ้ เหมือนแบบซ่ลี วด เพราะ ไมม่ กี ารตึงหยอ่ นนิยมใชก้ บั รถจกั รยานยนต์ ขนาดใหญ่ และขนาดเล็กบางรุน่ วชิ า งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจีน ผู้สอน นายศริ ศิ ักด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ สว่ นประกอบของวงลอ้ (Component Part of Wheel) สว่ นประกอบของวงลอ้ จะข้ นึ อยกู่ บั ชนิดของวงลอ้ (ลอ้ หนา้ ลอ้ หลงั ) ชนิดของดุมลอ้ (แบบดรมั เบรก แบบดิสกเ์ บรก) ของลอ้ หนา้ ลอ้ หลงั (จะมียางกนั กระชากประกอบอยดู่ ว้ ย) วงลอ้ แบบซ่ีลวด มีสว่ นประกอบ ดงั น้ ี วชิ า งานจกั รยานยนต์ วิทยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ิศักดิ์ ทิพมาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ส่วนประกอบของวงลอ้ (Component Part of Wheel) 1. ซ่ีลวด (Spoke) ทาหนา้ ท่ี เป็ นโครงในการรบั แรงและเป็ นตวั ยดึ ระหวา่ งวงลอ้ กบั ดุมลอ้ ซ่ลี วดที่ใชส้ ว่ นหวั จะมีลกั ษณะหกั โคง้ ซ่ึงจะแตกต่างกนั ออกไปแลว้ แต่ลกั ษณะการใชง้ านของ วงลอ้ แตล่ ะชนิด วงลอ้ จาเป็ นตอ้ งรบั แรงกระแทกมากขณะขบั ขี่ สว่ นหวั ของซ่ีลวดจะถกู ออกแบบมาใหม้ ีการหกั โคง้ เพียงเล็กนอ้ ยเพื่อเพมิ่ ความแข็งแรงและป้องกนั ซี่ลวดหกั ขณะรบั แรงกระแทก เชน่ รถโมโตครอสเป็ นตน้ โดยทวั่ ไปวงลอ้ 1 วงจะประกอบดว้ ยซี่ลวด 36 ซี่ และ มีลกั ษณะมุมหกั โคง้ อยู่ 2 ลกั ษณะ คอื หกั โคง้ เป็ นมุม 45 และ 90 องศา จานวนอยา่ งละ 18 เสน้ วิชา งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนิคบรู พาปราจีน ผู้สอน นายศริ ศิ กั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ สว่ นประกอบของวงลอ้ (Component Part of Wheel) 2. นิปเปิ ล (Nipple) หรือนัทขนั ซล่ี วด ที่ใชก้ นั จะตอ้ งมีขนาดของเกลียวเท่ากบั ความโต เกลียวของซ่ีลวด และขนาดความโตภายนอกของนิปเปิ ลจะตอ้ งมีขนาดเล็กกวา่ รทู ่ีวงลอ้ เล็กนอ้ ย ไมเ่ ลือกใชน้ ิปเปิ ลที่มีขนาดใหญจ่ นใส่เขา้ รทู ี่วงลอ้ ไมไ่ ด้ จึงตอ้ งมีการควา้ นรซู ึ่งจะ ทาใหก้ ารรบั แรงของวงลอ้ ไม่ดี วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลยั เทคนิคบูรพาปราจนี ผู้สอน นายศริ ิศกั ด์ิ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ส่วนประกอบของวงลอ้ (Component Part of Wheel) 3. ดุมลอ้ (Hub Wheel) ทาหนา้ ที่เป็ นตวั ยดึ ซล่ี วด ซ่ึงจะมีขนาดท่ีแตกตา่ งกนั ไปแลว้ แต่ ลกั ษณะของการออกแบบ เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพการใชง้ านรวมท้งั ประสิทธิภาพในการ ออกแบบ เชน่ ดุมลอ้ ท่ีใชส้ าหรบั ระบบเบรกแบบดรมั ก็จะตอ้ งออกแบบใหม้ ขี นาดใหญเ่ พอื่ เพม่ิ เน้ ือท่ีในการจบั ยดึ ของผา้ เบรกกบั ดุมเบรก ส่วนดุมลอ้ ท่ีใชส้ าหรบั ระบบเบรกแบบดิสก์ เบรกจะตอ้ งออกแบบใหม้ ขี นาดเล็กกวา่ แบบ ดรมั เบรก โดยคานึงถึงความแขง็ แรงในการจบั ยดึ จานเบรกเขา้ กบั ดุมลอ้ ดุมลอ้ จะถกู ออกแบบมาใหม้ ดี า้ นยดึ ซล่ี วดอยู่ 2 ดา้ นรอบดุมลอ้ ซึ่งแตล่ ะดา้ นจะถกู เจาะรไู วด้ า้ นละ 18 รู เพอ่ื ใชร้ อ้ ยซี่ลวดเขา้ กบั ดุมลอ้ วิชา งานจกั รยานยนต์ วิทยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจีน ผ้สู อน นายศริ ิศักดิ์ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ดุมลอ้ สาหรบั ดรมั เบรก ดุมลอ้ สาหรบั ดิสกเ์ บรก วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบรู พาปราจนี ผูส้ อน นายศริ ศิ กั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ส่วนประกอบของวงลอ้ (Component Part of Wheel) 4. วงลอ้ (Wheel Cycle) วงลอ้ ของจกั รยานยนตจ์ ะมีดว้ ยกนั หลายขนาด การบอกขนาด ของวงลอ้ จะป๊ัมเป็ นตวั เลข ท่ีบรเิ วณดา้ นขา้ งขอบลอ้ เชน่ 1.60 x 17 มีหน่วยเป็ น น้ ิว 17 หมายถึง ขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางของวงลอ้ 1.60 หมายถึง ความกวา้ งของขอบวงลอ้ บริเวณกงึ่ กลางของวงลอ้ จะเจาะรไู วป้ ระมาณ 37 – 39 รู จานวน 36 รู ใชส้ าหรบั รอ้ ยซ่ี ลวด ส่วนอีก 2-3 รู ใชส้ าหรบั ใสจ่ ุบ๊ ยางในและชุดล็อคขอบยางนอก (พบมากในรถท่ีใชค้ วามเร็วสูงในสนามแขง่ ขนั เท่าน้ัน) หมายเหตุ รบู นวงลอ้ มุมเอียงของรจู ะไมไ่ ปในทิศทางเดียวกนั หมด ซึ่งรูบนวงลอ้ จะแบ่งเป็ น 2 ดา้ น แต่ละดา้ นจะมีรู ที่หนั มุมเอียงเขา้ หากนั เป็ นคู่ ๆ อยดู่ า้ นละ 9 คู่ วชิ า งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศิรศิ ักดิ์ ทพิ มาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ วงลอ้ สาหรบั ยางทวั่ ไปกบั วงลอ้ สาหรบั ยาง Tubeless มขี อ้ แตกต่างกนั คอื วงลอ้ สาหรบั ยาง Tubeless จะมบี า่ เป็ นตวั ประคอง เพอื่ ป้องกนั ไมใ่ หข้ อบยางหลุดออกจากวงลอ้ ในขณะใชง้ าน และมวี าลว์ เติมลมหรอื จุบ๊ ยางยดึ ติดกบั สว่ นของวงลอ้ วชิ า งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนิคบรู พาปราจนี ผสู้ อน นายศิริศกั ดิ์ ทพิ มาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ส่วนประกอบของวงลอ้ (Component Part of Wheel) 5. ยาง (Tire) การเคลื่อนท่ีและการเบรกของรถจกั รยานยนต์ ตอ้ งอาศยั ความฝืดระหวา่ ง ยางกบั ผิวของถนน ยางจะมพี ้ นื ที่สมั ผสั กบั ถนน รบั น้าหนักของรถและผขู้ บั ขี่ ท้งั ยงั มี หนา้ ที่สง่ แรงขบั แรงเบรกและดดู ซบั การสนั่ สะเทือนอีกดว้ ย ชนิดของยาง 1. ยางไบแอส (Bias Tire) มีโครงสรา้ งเป็ นแบบช้นั ผา้ ใบวางทามุม 30-40 องศา (Bias) กบั เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางของหนา้ ยางและสลบั กนั ไปมา โครงสรา้ งของยางชนิดน้ ี ประกอบดว้ ยหนา้ ยางสว่ นท่ีใชเ้ บรก โครงถกั ผา้ ใบ และบ่าขอบยาง วิชา งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจีน ผูส้ อน นายศิรศิ ักด์ิ ทิพมาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ 1. ยางไบแอส (Bias Tire) วชิ า งานจกั รยานยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ชนิดของยาง 2. ยางเรเดียล (Radial Tire) มโี ครงสรา้ ง เป็ นแบบช้นั ผา้ ใบวางทามุมประมาณ 90 องศา กบั เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางของหนา้ ยาง และตาแหน่งของแถบชน้ั Belt จะทามุม 10-15 องศากบั เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางของ ยาง ทบั ชน้ั ผา้ ใบ แนบสนิทโดยรอบ วิชา งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจนี ผู้สอน นายศริ ศิ ักด์ิ ทิพมาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ คุณสมบตั ิของยางเรเดียล 1. รศั มีการใชง้ านจริงของลอ้ จะเปล่ียน แปลงตามความเร็ว 2. ความตา้ นทานในการหมุนนอ้ ย 3. มกี ารสึกหรอนอ้ ย 4. มสี มรรถนะในการยดึ เกาะถนนดี ทาใหก้ ารควบคุมรถดี 5. มีการดูดซบั การสนั่ สะเทือนไดด้ ีกวา่ ยางแบบไบแอส หมายเหตุ ยางแบบมียางใน นิยมใชก้ บั วงลอ้ ซ่ีลวด อดั ข้ นึ รูป ของรถจกั รยานยนตท์ วั่ ไป ยางแบบไมม่ ียางใน (Tubeless Type) นิยมใชก้ บั วงลอ้ ชนิดหล่อข้ นึ รปู (ลอ้ แม็ก) วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบรู พาปราจนี ผู้สอน นายศริ ศิ ักด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ โครงสรา้ งของยาง (Construction of Tires) โครงสรา้ งของยางสว่ นใหญข่ องชน้ั ผา้ ใบ จะใชใ้ นลอน เรยอน หรือโพลีเอสเตอร์ แตท่ ่ีนิยมใชก้ นั มาก คือ เรยอน วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจีน ผูส้ อน นายศริ ิศกั ดิ์ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ โครงสรา้ งของยาง 1. ดอกยาง (Tread) ทาดว้ ยยางแขง็ ใชส้ มั ผสั กนั ถนนมคี วามแขง็ แรงและตา้ นทานการ สึกหรอไดด้ ี ดอกยางจะมรี ูปแบบตา่ ง ๆ กนั เพ่ือประสิทธิภาพในการขบั ข่ีในสภาวะท่ีต่างกนั 2. ผา้ ใบช้นั บน (Braker) อยรู่ ะหวา่ งดอกยางกบั ชน้ั ผา้ ใบช้นั ล่าง โดยผา้ ใบช้นั บนจะทา หนา้ ที่ลดการสนั่ สะเทือนในการขบั ขี่ 3. ผา้ ใบช้นั ล่าง (Carcass) เป็ นโครงของผา้ ใบช้นั ถดั ไป โดยจะรกั ษาแรงดนั ของลมภายใน ยางและลดการสนั่ สะเทือน ทาดว้ ยไนลอน และ เรยอน ความแขง็ แรงของยางจะมมี ากหรือ นอ้ ยข้ นึ อยกู่ บั ความหนาของจานวนชน้ั ผา้ ใบชน้ั ล่างน้ ี วิชา งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจนี ผสู้ อน นายศริ ศิ ักด์ิ ทพิ มาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ โครงสรา้ งของยาง 4. ขอบยาง (Bead) มหี นา้ ท่ีรกั ษารปู ร่างของยางไวแ้ ละรกั ษาแรงดนั ลมมิใหส้ ญู หายไป โครงสรา้ งของขอบยางจะทาดว้ ยเสน้ ลวดอาบยางแข็งจานวนมากรวมกนั แลว้ อดั ข้ นึ รูป 5. ยางช้นั ใน (Inner Liner) ภายในช้นั น้ ีจะเป็ นตวั กกั แรงดนั ลมภายในยางของยางชนิดไม่ ยางใน เพราะฉะน้ันจึงมีความยดื หยนุ่ เมอ่ื มีของแหลมคมหรือตะปแู ทง ความยดื หยนุ่ น้ ีจะ กนั ลมไมใ่ หร้ วั่ ออกไป วิชา งานจกั รยานยนต์ วิทยาลยั เทคนิคบูรพาปราจีน ผ้สู อน นายศิริศกั ดิ์ ทิพมาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ชนิดของดอกยาง วชิ า งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนิคบูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ชนิดของดอกยาง 1. แบบ Rib Pattern ดอกยางจะมรี ปู รา่ งเป็ นเสน้ ขนานกนั ไปทวั่ ยางที่สมั ผสั กบั ผวิ ถนน ทา ใหส้ ามารถบงั คบั เล้ ียวและมีสมรรถนะในการขบั ขี่ดีข้ นึ โดยเฉพาะดอกยางทางดา้ นขา้ งลอ้ จะเป็ นตวั ป้องกนั การล่ืนไถล ในขณะเล้ ียวในทางโคง้ ไดด้ ี เหมาะสาหรบั วงิ่ ทางตรงนิยมใชใ้ น ลอ้ หนา้ 2. แบบ Lug Pattern ดอกยางมีลกั ษณะตามขวางเพม่ิ การยดึ เกาะถนนใหด้ ีข้ นึ สามารถรบั น้าหนักไดม้ าก เหมาะสาหรบั วง่ิ ทางขรุขระและวบิ าก นิยมใชใ้ นลอ้ หลงั วิชา งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศิริศักด์ิ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ชนิดของดอกยาง 3. แบบ Rib - Lug Pattern เป็ นดอกยางท่ีผสมระหวา่ ง แบบ Rib Pattern กบั แบบ Lug Pattern เมอ่ื ใชก้ บั ลอ้ หนา้ จะใชค้ ุณสมบตั ิของ Rib Pattern และเมอื่ ใชก้ บั ลอ้ หลงั จะใช้ คุณสมบตั ิของ Lug Pattern 4. แบบ Block Pattern (off - Road) เป็ นดอกยางท่ีมรี ปู ส่ีเหลี่ยมอยบู่ นหนา้ ยางคุณสมบตั ิ ของดอกยางแบบน้ ี คอื สามารถใชก้ บั รถจกั รยานยนตว์ บิ ากไดด้ ี เหมาะสาหรบั ทางที่ ทุรกนั ดาร มีการตะกุยดี 5. แบบ Mix Pattern (on/off - Road) เหมาะสาหรบั ทุกสภาพถนน วชิ า งานจกั รยานยนต์ วิทยาลยั เทคนิคบรู พาปราจนี ผูส้ อน นายศิริศักด์ิ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ การระบุขนาดยาง (Tire size Displays) ขนาดยางและประสิทธิภาพจะระบุโดยใชก้ นั ทวั่ ไปใชม้ าตรฐานองั กฤษเป็ นน้ ิว แตใ่ นปัจจุบนั กม็ ีการระบุเป็ นมาตรฐานเมตริกดว้ ย ใน ระบบมาตรฐานสากลซึ่งใชร้ ะบบน้ ีท้งั สองแบบเม่ือไม่กปี่ ี มาน้ ีเอง นิยมแสดงเป็ นระบบ เมตรกิ แต่ระบบน้ ิวกย็ งั มอี ยเู่ ล็กนอ้ ย วิชา งานจกั รยานยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจนี ผู้สอน นายศิรศิ ักด์ิ ทพิ มาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ 1. ยางระบุในระบบน้ ิว เชน่ 4.60-H-18-4 PR ซึง่ หมายความวา่ 4.60 คอื ความกวา้ งท้งั หมดของหนา้ ยาง H คือ ความสามารถของยางท่ีใชไ้ ดใ้ นความเร็วสงู สุด 210 กโิ ลเมตร / ชวั่ โมง 18 คอื เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางวงลอ้ 18 น้ ิว 4 PR คอื จานวนชน้ั ผา้ ใบ คือมี 4 ช้นั หรอื ใชเ้ สน้ ใยที่มคี วามแขง็ แรงเท่ากบั ผา้ ใบ 4 ช้นั วชิ า งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบรู พาปราจีน ผู้สอน นายศิรศิ ักด์ิ ทพิ มาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ 2. ยางระบุในระบบเมตรกิ เชน่ 140/60 R 18- 64 H ซึ่งหมายความวา่ 140 คอื ความกวา้ งท้งั หมดของหนา้ ยาง (140 มิลลิเมตร) 60 คอื จานวนเปอรเ์ ซน็ ตค์ วามสงู ของแกม้ ยาง/ความกวา้ งของหนา้ ยาง (60%) R คือ โคด้ โครงสรา้ ง (เรเดียล) 18 คอื เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางวงลอ้ 18 น้ ิว 64 คือ ดชั นีการรบั น้าหนักไดส้ ูงสุด 300 กิโลกรมั H คือ ความสามารถของยางท่ีใชไ้ ดใ้ นความเรว็ สูงสุด 210 กิโลเมตร / ชวั่ โมง วิชา งานจกั รยานยนต์ วิทยาลยั เทคนิคบรู พาปราจีน ผสู้ อน นายศิรศิ ักด์ิ ทพิ มาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ 3. การหาขนาดของยาง เปอรเ์ ซ็นตก์ ารแบนของยาง = ความสูงของยาง ความกวา้ งของยาง = 117 130 = 0.9 = 90 % วชิ า งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจนี ผู้สอน นายศิรศิ กั ด์ิ ทพิ มาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ แรงดนั ลมยาง (Air Pressure) แบ่งออกเป็ น 3 ลกั ษณะดงั น้ ี 1. ลมยางอ่อนเกินไป ทาใหร้ ถวง่ิ ไมด่ ีเสียการทรงตวั อายุการใชง้ านส้นั ลงเกิดความรอ้ นสูง ขอบยางท้งั 2 ดา้ นสึกหรอเร็วกวา่ บรเิ วณตรงกลางของหน้ายาง และการรบั น้าหนักไดไ้ มด่ ี 2. ลมยางแข็งเกินไป ทาใหร้ ถวงิ่ ดีแต่มีพ้ ืนท่ีสมั ผสั ของหนา้ ยางกบั ผิวถนนมนี ้อย ซ่ึงจะทา ใหเ้ กิดการล่ืนและไมน่ ่ิมนวลในขณะขบั ข่ี 3. ลมยางพอดี ยางรถมอี ายุการใชง้ านนาน การขบั ขีน่ ุ่มนวลการทรงตวั ดี โดยเฉพาะใน กรณีเล้ ียวโคง้ หรอื ใชค้ วามเรว็ สงู หากใชไ้ ปนานๆ ดอกยางจะสึกสมา่ เสมอดงั น้ันกอ่ นจะ เติมลมยางควรทราบแรงดนั ลมยางของลอ้ หนา้ และลอ้ หลงั โดยดจู ากคมู่ ือของรถรุ่นน้ันๆ วชิ า งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจีน ผ้สู อน นายศิรศิ ักดิ์ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ลอ้ ยางแข็งไป ลมยางพอดี หมายเหตุ ตรวจสอบสภาพดอกยางทุกๆ 3,000 กม. วชิ า งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศิริศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ แรงดนั ลมยางท่ีอุณหภูมิปกติ วิชา งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจีน ผ้สู อน นายศริ ศิ ักด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ โซแ่ ละสเตอร์ ทาหนา้ ท่ี รบั กาลงั จากเคร่ืองยนตส์ ่งไปยงั ลอ้ หลงั เพื่อทาการขบั เคลื่อน โซข่ บั เป็ น โซ่แถวเดียวภายในหล่อลื่นดว้ ยจาระบีแบบถาวร ดา้ นขา้ งขอ้ โซ่มีแหวน ยางเพอ่ื ลดเสียงดงั เมอื่ ใชง้ านเป็ นเวลานาน ๆ เกดิ การสึกหรอ โซจ่ ะยดื ยาวไมพ่ อดีกบั รอ่ ง ฟันสเตอรต์ อ้ งเปล่ียนโซใ่ หม่ ขอ้ ควรระวงั อยา่ ใชน้ ้ามนั เบนซินลา้ งทาความสะอาดโซ่ เพราะน้ามนั เบนซินทาปฏิกิริยาในการ ละลายสงู ทาใหแ้ หวนยางซีลและจาระบีอยภู่ ายในลูกกล้ ิงละลายไปได้ ควรใชน้ ้ามนั กา๊ ด หรือสารโซเวนตแ์ ทน วชิ า งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจนี ผูส้ อน นายศิริศักด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ ขอ้ ตอ่ โซ่ ประกอบดว้ ยคล๊ิปล็อคสลกั ขอ้ สเตอรห์ นา้ จะบอกเป็ นจานวนฟันเฟื อง ต่อโซ่ แผน่ ขอ้ ตอ่ โซแ่ ละสลกั ขอ้ ต่อโซ่ เชน่ 14 ฟัน หรือ 15 ฟัน เป็ นตน้ วิชา งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนิคบูรพาปราจนี ผูส้ อน นายศิรศิ ักด์ิ ทิพมาลา
หน่วยที่ 13 ลอ้ และยางรถจกั รยานยนต์ สเตอรห์ ลงั มขี นาดใหญก่ ารบอกขนาดบอกเป็ นจานวนฟัน เชน่ 36 ฟันหรือ 49 ฟัน เป็ นตน้ สเตอรห์ ลงั มอี ยหู่ ลายขนาด การเปล่ียนสเตอรห์ นา้ - หลงั ควรเลือกขนาดตาม คมู่ อื กาหนด ถา้ เลือกขนาดไมถ่ กู ตอ้ งจะมผี ลเสียกบั เครอ่ื งยนตท์ ้งั กาลงั ขบั และการสึกหรอ วิชา งานจกั รยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจนี ผสู้ อน นายศิริศักด์ิ ทิพมาลา
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: