หน่วยท่ี 10 ระบบบังคบั เลี้ยว และ โครงรถ
หน่วยที่ 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ ระบบบงั คบั เล้ ียว (Steering System) ระบบบงั คบั เล้ ียวในรถจกั รยานยนตจ์ ะเป็ นแบบ บงั คบั ดว้ ยมือ ซง่ึ เป็ นแบบกลไกสามารถควบคุมการเคล่ือนท่ีไปทางดา้ นซา้ ย-ขวา และ ขา้ งหนา้ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ซึ่งในแตล่ ะรุน่ แต่ละยหี่ อ้ ก็มีลกั ษณะรปู รา่ งแตกต่างกนั ออกไป ส่วนประกอบของระบบบงั คบั เล้ ียว 1. แฮนด์ (Handle Bar) 2. แกนแผงคอและตะเกียบหนา้ (Steering Axis And Front Fork) วชิ า งานจักรยานยนต์ วิทยาลยั เทคนิคบูรพาปราจีน ผู้สอน นายศิริศักดิ์ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ แฮนด์ (Handle Bar) ทาหนา้ ที่บงั คบั เล้ ียวซ่งึ จะทาใหร้ ถจกั รยานยนตเ์ ล้ ียวไปตามทางที่ตอ้ งการ และเป็ น ส่วนประกอบที่สาคญั ในการขบั ขี่ ในการออกแบบท้งั มุมความกวา้ งและความสูง จะตอ้ ง ออกแบบใหต้ รงกบั จุดประสงคใ์ นการใชง้ านของรถจกั รยานยนตแ์ ต่ละประเภทเพ่ือการทรง ตวั ท่ีดีและความสะดวกสบายในการขบั ข่ี โดยทวั่ ไปแฮนดท์ าจากเหล็กกลา้ แลว้ ชุบโครเมียม และยงั เป็ นท่ียดึ ติดต้งั ของมือเบรก มือคลตั ชแ์ ละปลอกคนั เรง่ แฮนดร์ ถจะติดต้งั ข้ นึ โดยการ ผ่านยางกนั กระแทกหรือผ่านแผงคอบงั คบั เล้ ียวไวท้ ี่สว่ นบนของระบบกนั สะเทือนดา้ นหนา้ วชิ า งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจนี ผู้สอน นายศิริศกั ดิ์ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ แฮนด์ (Handle Bar) 2. แบบท่อแยก 2 ช้ นิ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. แบบท่อช้ นิ เดียว วชิ า งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ บรู พาปราจีน ผู้สอน นายศิริศักดิ์ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ แกนแผงคอและตะเกยี บหนา้ (Steering Axis And Front Fork) แกนแผงคอ ประกอบดว้ ยคอตวั ถงั แผงคอบน ตะเกยี บหนา้ และช้ ินส่วนอื่นๆ แกนแผงคอบงั คบั เล้ ียวจะติดต้งั ระหวา่ งระบบลอ้ หนา้ กบั โครงสรา้ งตวั ถงั ของรถจกั รยานยนต์ รวมไปถึง เคร่อื งยนตแ์ ละระบบกนั สะเทือนหลงั ดว้ ย การตกหลุมในการขบั ข่ซี ึ่งจะส่งผลจากการ สนั่ สะเทือนหนา้ (โชค๊ อพั หนา้ ) แรงในแนวระนาบขณะเปลี่ยนทิศทาง ลกู ปื นของแกน แผงคอจะรบั แรงใน 2 ลกั ษณะ คือ แรงในแนวรศั มีและแรงในแนวแกนดงั น้ันใน รถจกั รยานยนตแ์ บบสปอรต์ จะนิยมใชล้ กู ปื นแบบเรียง ซง่ึ เป็ นลูกปื นท่ีทนต่อแรงภาระ หนักๆ ไดด้ ีกวา่ มุมแกนแผงคอขณะหมุนไปทางซา้ ย-ขวา วชิ า งานจกั รยานยนต์ วิทยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจีน ผู้สอน นายศิริศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ แกนแผงคอและตะเกยี บหนา้ (Steering Axis And Front Fork) เป็นมุมของการบงั คบั เล้ ียวสงู สุด โดยปกติจะมมี ุมประมาณ 30 และ 45 องศาซึง่ ถูกบงั คบั ดว้ ย Stopper สาหรบั มุมเล้ ียวของแฮนดส์ ามารถออกแบบใหก้ วา้ งข้ นึ เพอ่ื ใชใ้ นรถจกั รยานยนตว์ บิ าก การปรบั ความแน่นหลวมของแกนแผงคอกบั คอรถจะมีผลตอ่ การบงั คบั เล้ ียว เพราะหากขนั แน่น เกินไปจะทาใหเ้ ล้ ียวลาบาก หรือหากหลวมเกินไปจะทาใหเ้ กดิ เสียงดงั และหนา้ รถจะไว เพราะฉะน้ันควรปรบั ใหพ้ อดี เพอื่ ใหก้ ารบงั คบั เล้ ียวไดด้ ีและยดื อายุการใชง้ านของลูกปื นคอ ใหน้ านข้ นึ นอกจากน้ันจะตอ้ งมกี ารหล่อลื่นท่ีดีดว้ ย โดยทวั่ ไปจะใชจ้ าระบีเป็ นตวั หล่อลื่น วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจนี ผู้สอน นายศริ ศิ ักดิ์ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ แผงคอหนา้ ตะเกียบหนา้ วิชา งานจกั รยานยนต์ วิทยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจีน ผูส้ อน นายศิริศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ มุมลอ้ หนา้ (Front Wheel Alignment) การทรงตวั และการคล่องตวั ของรถจกั รยานยนต์ ในขณะขบั ขีม่ คี วามสมั พนั ธก์ บั องคป์ ระกอบท่ีสาคญั หลายประการ เชน่ แนวตรงของลอ้ หนา้ ระยะหา่ งชว่ งลอ้ การกระจายน้าหนัก ตาแหน่งจุดศนู ยถ์ ่วง ชนิดและประสิทธิภาพของ ระบบการรองรบั น้าหนัก (การสนั่ สะเทือน) ขนาดและสมรรถนะของยาง ตาแหน่งการ นัง่ ของผขู้ บั ข่ี แตอ่ ยา่ งไรก็ตามองคป์ ระกอบพ้ ืนฐานที่สาคญั ก็คือ มุมลอ้ หนา้ แบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 สว่ น คือ 1. มุมคาสเตอร์ (Caster) 2. ระยะเทรล (Trail Distance) วชิ า งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบรู พาปราจนี ผ้สู อน นายศิริศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ มุมคาสเตอร์ (Caster) คอื มุมที่เกดิ จากการลากเสน้ ในแนวแกนคอตดั กบั เสน้ ดิ่งท่ีลาก ผ่านแกนลอ้ ตดั กบั พ้ ืน วิชา งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนิคบรู พาปราจนี ผู้สอน นายศริ ศิ กั ดิ์ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ ระยะเทรล (Trail Distance) คือ ระยะที่วดั จากจุดที่เสน้ แนวแกนคอตดั กบั พ้ นื ถึง จุดท่ีเสน้ ด่ิงที่ลากผ่านแกนลอ้ ตดั กบั พ้ นื วชิ า งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ศิ กั ดิ์ ทิพมาลา
หน่วยที่ 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมุมคาสเตอรก์ บั ระยะเทรล 1. มุมคาสเตอรม์ ากระยะเทรลจะมากตาม 2. มุมคาสเตอรน์ อ้ ยระยะเทรลจะนอ้ ยตาม เมื่อรถจกั รยานยนตม์ มี ุม Caster และ Trail มากหรือกวา้ ง ทาใหก้ ารรกั ษาในแนวตรง ในขณะขบั ข่ีที่ความเรว็ สงู จะดี แต่ในความเร็วตา่ ความคล่องตวั และการทรงตวั จะไมค่ อ่ ยดี ดงั น้ันมุม Caster และระยะ Trail จะถกู กาหนดข้ นึ ตามจุดประสงคข์ องการใชง้ าน คุณลกั ษณะของรถ และระบบกนั สะเทือนดว้ ย วิชา งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจนี ผูส้ อน นายศิริศักดิ์ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ มุมคาสเตอรม์ ากระยะเทรลจะมากตาม มุมคาสเตอรน์ อ้ ยระยะเทรลจะนอ้ ยตาม วิชา งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจนี ผสู้ อน นายศริ ิศักดิ์ ทพิ มาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ โครงรถหรอื ตวั ถงั (Frame) ทาหน้าที่เป็ นที่รองรบั น้าหนักของเคร่อื งยนต์ ตลอดจน ช้ นิ ส่วนตา่ งๆ และเชือ่ มต่อระหวา่ งตวั ถงั กบั ระบบบงั คบั เล้ ียว และระบบกนั สะเทือน โดย ปกติแลว้ ดา้ นหนา้ ตวั ถงั จะเช่อื มตอ่ กบั โชค๊ อพั หนา้ โดยยดึ ติดกบั ส่วนของลูกปื นรองรบั แผง คอ และยงั ทาหนา้ ท่ีรบั แรงกระแทกจากลอ้ หนา้ ตลอดจนสว่ นกลางของตวั ถงั ยงั ซึมซบั แรง กระแทกของลอ้ หลงั ซึง่ ทางานรว่ มกบั โชค๊ อพั ดา้ นหลงั อีกดว้ ยปัจจุบนั โครงสรา้ งหรือตวั ถงั ของรถจกั รยานยนต์ จะสรา้ งจากท่อเหล็กดดั ซ่งึ มีพ้ ืนที่หนา้ ตดั เป็ นวงกลม หรือ แบบ สี่เหลี่ยมหลาย ๆ ช้ นิ นามาเชอ่ื มตอ่ รวมกนั จนเป็ นรปู ทรงของโครงรถจกั รยานยนต์ ซ่ึง อาจจะแตกตา่ งกนั ไปตามขนาดของรถและลกั ษณะการใชง้ าน โครงรถรุน่ ใหม่ ๆ ใน ปัจจุบนั จะมคี วามแตกตา่ งจากรถรุน่ เกา่ ในดา้ นความแข็งแรง วชิ า งานจกั รยานยนต์ วิทยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจีน ผูส้ อน นายศิรศิ กั ดิ์ ทิพมาลา
หน่วยที่ 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ วชิ า งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนิคบูรพาปราจีน ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ ตวั ถงั สามารถแบ่งไดเ้ ป็ น 2 ประเภท คือ 1. แบ่งตามวสั ดุท่ีผลิต 2. แบ่งตามรปู รา่ งลกั ษณะในการใชง้ าน แบง่ ตามวสั ดุท่ีผลิต 1. ตวั ถงั แบบท่อเหล็กหรือตวั ถงั แบบท่อ (Tube Frames) ส่วนประกอบหลกั ของตวั ถงั แบบน้ ี ทาจากท่อเหล็ก ขนาดของตวั ถงั รถชนิดน้ ีจะมีความสมั พนั ธก์ บั ขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางของ ท่อเหล็ก ดงั น้ันตวั ถงั รถแบบน้ ีจงึ ตอ้ งอาศยั การพฒั นาเทคนิคโครงสรา้ งทางดา้ น กลศาสตร์ วิชา งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนคิ บูรพาปราจนี บุรี ผู้สอน นายศริ ิศกั ดิ์ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ แบ่งตามวสั ดุที่ผลิต 2. ตวั ถงั แบบโลหะแผ่นหรือตวั ถงั ป๊ัมข้ นึ รปู (Pressed Frames) ตวั ถงั แบบน้ ีสรา้ งจากแผ่น โลหะป๊ัมข้ นึ รปู เป็ นสว่ นซา้ ยและขวาจากน้ันเชื่อมท้งั สองเขา้ ดว้ ยกนั 3. ตวั ถงั แบบอลูมเิ นียมอลั ลอยด์ (Aluminum Alloy Frames) ตวั ถงั แบบน้ ีสว่ นต่าง ๆ จะ ทาจากอลมู ิเนียมหล่อ ตีข้ นึ รปู ป๊ัมข้ นึ รปู หรอื ใชเ้ หล็กรดี ข้ นึ รปู และนามาเช่ือมต่อกนั เป็ น ตวั ถงั ตวั ถงั อลมู เิ นียมจะมีน้าหนักเบาความแข็งแรงสูงและสวยงาม จงึ นิยมใชใ้ น รถจกั รยานยนตแ์ บบสปรอ์ ตรุน่ ใหม่ ๆ วชิ า งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจนี ผู้สอน นายศิรศิ ักดิ์ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ แบ่งตามรปู รา่ งลกั ษณะในการใชง้ าน 1. ตวั ถงั ทรงเปล (Cradle - shaped Frames) ตวั ถงั แบบน้ ีเครอ่ื งยนตจ์ ะถูกหมุ้ อยใู่ นโครง โดยที่โครงรถเองมที ้งั ความแขง็ แกร่งและความแขง็ แรง ดงั น้ันรถจกั รยานยนต์ แบบ สปอรต์ ส่วนมากซ่ึงตอ้ งรบั น้าหนักมาก จงึ นิยมใชต้ วั ถงั ชนิดน้ ีทรงเปลคู่ (Double - cradle) จะมีท่อรบั แรงแบบคขู่ นานจากคอรถ สว่ นโครงรถแบบกงึ่ ทรงเปลคู่ (Semi double cradle frame) จะมีท่อรบั แรงแบบเดี่ยวลงมาที่สว่ นล่างและแยกออกเป็ นสองสว่ น วชิ า งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนิคบูรพาปราจีน ผสู้ อน นายศริ ศิ ักด์ิ ทิพมาลา
หน่วยที่ 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ ถงั ทรงเปลคู่ ถงั แบบกง่ึ ทรงเปลคู่ วิชา งานจกั รยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจีน ผ้สู อน นายศิรศิ ักดิ์ ทิพมาลา
หน่วยที่ 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ แบ่งตามรูปรา่ งลกั ษณะในการใชง้ าน 2. ตวั ถงั แบบไดมอนด์ (Diamond – shaped Frames) รูปร่างของตวั ถงั แบบน้ ี ในสว่ นท่ี สาหรบั ยดึ เคร่ืองยนตด์ า้ นล่างจะไมม่ ี เพือ่ ใหม้ นั่ ใจไดใ้ นเร่ืองความแข็งแรงโครงรถแบบน้ ีจะ ใชเ้ คร่อื งยนตส์ ว่ นหน่ึงของตวั ถงั ช้ นิ ส่วนดา้ นล่างของโครงรถชนิดน้ ีจะไม่มี เพ่อื ตอ้ งการให้ มนี ้าหนักเบาท่ีสุดเท่าที่จะทาไดต้ วั ถงั ประเภทน้ ี รถสปอรต์ จานวนมากนิยมใชก้ นั อยใู่ น ทานองเดียวกนั รถจกั รยานยนตบ์ างรุน่ เคร่อื งยนตย์ ดึ กบั ท่อโครงรถใตถ้ งั น้ามนั ไมม่ ีท่อ รองรบั แบบน้ ี เรียกวา่ ตวั ถงั แบบไดมอนด์ (Diamond - shaped Frames) แตท่ วั่ ไปเป็ น แบบสี่เหล่ียมดงั น้ันในบางครง้ั เราจะเรยี กตวั ถงั แบบน้ ีวา่ แบบกลอ่ ง Diamond -shaped Frames (Box Frame) สว่ นท่ีเป็ นโครงแบบส่ีเหลี่ยมมหี ลายรูปทรง วชิ า งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนิคบรู พาปราจนี ผูส้ อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทพิ มาลา
หน่วยที่ 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ ถงั แบบไดมอนด์ วิชา งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจนี ผ้สู อน นายศริ ิศกั ด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ แบง่ ตามรูปรา่ งลกั ษณะในการใชง้ าน 3. ตวั ถงั แบบแบ็คโบน (Backbone Frame) ตวั ถงั ทรงน้ ีบางครง้ั เรียกวา่ แบบสไพน (Spine Frame) จะแยกส่วนของเครอ่ื งยนตแ์ ละสว่ นอื่น ๆ ออกจากกนั และสว่ นของตวั ถงั แบบแบ็คโบน (Backbone-Shaped) จะเช่อื มต่อกบั คอรถผ่านไปจนถึงส่วนทา้ ยของรถ จกั รยานยนตใ์ นบางครง้ั ตวั ถงั ประเภทน้ ีจะใชท้ ่อเหล็กเป็ นวสั ดุในการผลิตโดยสว่ นใหญ่แลว้ โครงรถแบบแบ็คโบน (Backbone) จะทาจากเหล็กแผ่นป๊ัมข้ นึ รปู ซ่ึงเป็ นวธิ ีผลิตที่งา่ ย ความเคน้ จากน้าหนัก การสนั่ สะเทือน และจากแหล่งอื่นๆ จะส่งไปที่โครงรถโดยตรงจึงตอ้ ง มีความประณีตมากในการออกแบบส่วนตวั ถงั แบบน้ ีจะใชก้ นั มากในรถจกั รยานยนตข์ นาด กลางและขนาดเล็ก วิชา งานจักรยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคบรู พาปราจีน ผู้สอน นายศริ ิศักด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ ถงั แบบกล่อง ถงั แบบแบ็คโบน วชิ า งานจกั รยานยนต์ วิทยาลยั เทคนคิ บูรพาปราจีน ผสู้ อน นายศริ ศิ ักด์ิ ทพิ มาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ แบ่งตามรูปรา่ งลกั ษณะในการใชง้ าน 4. ตวั ถงั แบบอนั เดอรโ์ บน (Underbone - shaped Frame) ตวั ถงั ชนิดน้ ี นิยมใชก้ นั มาก ในรถ จกั รยานยนตแ์ บบครอบครวั และทาใหผ้ ูข้ บั ขีม่ ีความสะดวกสบาย เน่ืองจากมีชอ่ งการ ไหลของอากาศผ่านระหวา่ งคอรถกบั ท่ีนัง่ ทาใหม้ นั มีลกั ษณะที่แตกต่างไปจากตวั ถงั ประเภท แบ็คโบน เครอ่ื งยนตจ์ ะถกู แขวนอยดู่ า้ นใตต้ วั ถงั ทาใหโ้ ครงรถ ประเภทน้ ีมีจุดศนู ยถ์ ่วงตา่ มี ผลใหก้ ารทรงตวั งา่ ย ขบั ขี่สบาย วชิ า งานจักรยานยนต์ วทิ ยาลัยเทคนิคบรู พาปราจีน ผู้สอน นายศริ ิศักด์ิ ทิพมาลา
หน่วยท่ี 10 ระบบบงั คบั เล้ ียวและโครงรถ ถงั แบบอนั เดอรโ์ บน วิชา งานจกั รยานยนต์ วทิ ยาลยั เทคนคิ บรู พาปราจนี ผู้สอน นายศริ ศิ ักด์ิ ทิพมาลา
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: