Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2550 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล

รายงานประจำปี 2550 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล

Published by local library, 2019-12-04 01:34:43

Description: รายงานประจำปี 2550 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา

Keywords: รายงานประจำปี,สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล,มหาวิทยาลัยบูรพา,จดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยบูรพา

Search

Read the Text Version

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา ลำดบั ชอื่ เรื่องปญ หาพิเศษ/วิทยานพิ นธ ชอื่ นิสิต สถาบนั การศึกษา​และ​คณะ ช่ืออาจารยท ปี่ รึกษา/ ท่ี ท่ีปรึกษารวม 7 การค​ ดั แยกแ​ บคทีเรีย​ทะเลจ​ าก​ นางสาวบณุ ฑริกา​ศริ ิ นิสิต​ปรญิ ญาโท​สาขา​ ดร.​ชุติวรรณ​ ธรรมชาติท​ ม​่ี ฤ​ี ทธิใ์​น​การท​ ำลาย​ วิทยาศาสตรส​ ่งิ แวดลอม​ เดชสกลุ วัฒนา​ เซลล​แ พลงกตอนท​ ท​่ี ำใหเกดิ ​ คณะว​ ทิ ยาศาสตร​ ปรากฏการณ​ขป​ี้ ลาวาฬ มหาวทิ ยาลัยบูรพา​​​ 8 บทบาทข​ องเล​คตนิ จ​ าก​นำ้ ​เลอื ด​ นางจนั ทรจรสั ​ ​นิสติ ​ปรญิ ญาเอก​สาขา​ ดร.​ชุตว​ิ รรณ​เดช​สกลุ ​ กุงแชบวย​(Penaeus merguiensis วัฒนะโชติ วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ วัฒนา​(ท่ีปรกึ ษาร​ ว ม) De​Mann) คณะ​วทิ ยาศาสตร​ มหาวิทยาลยั เ​กษตรศาสตร​ 9 วงศส​ ืบพันธุ​​​และ​การพัฒนาเ​ซลล​ นางสาวอุ​มา​รนิ ทร​​ บณั ฑติ วิทยาลยั ​​ ดร.​สุขใจ​รตั นยวุ กร (ทป่ี รึกษารวม) เพศข​ องหอยส​ ังข​กระโดด​ ม​ จั ฉาเ​ก้อื คณะว​ ิทยาศาสตร​ ​ (Strombus canarium) ​ ภาควิชา​วารชิ ​ศาสตร​​ ​บริเวณ​ปาห​ ญาท​ ะเล​ตำบล​กรำ่ ​ มหาวิทยาลัยบรู พา​ อำเภอแ​ กลง​ ​จงั หวดั ร​ ะยอง ร​ ะดับ​ปรญิ ญาโท 3.2 การรบั นิสิต/นักศึกษาฝกึ งาน สถาบนั ​วทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​​ไดรับ​นสิ ติ ​​นักศกึ ษา​ในร​ ะดบั ป​ ริญญาตร​ี จาก​สถาบันการศกึ ษาต​ างๆ​ ท่ัวประเทศ​เขา ​รับ​การ​ฝก งาน​ใน​ฝา ยต​ างๆ​ของส​ ถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ไดแก​ฝายว​ ิจัย​ฝา ยส​ ถานเ​ล้ียงส​ ตั ว​ น้ำเคม็ ​ฝา ย​พพิ ธิ ภัณฑ​ว ิทยาศาสตรท​ างทะเล​ฝา ยส​ ถานีว​ ิจยั ​สำหรับใ​น​ปง บประมาณ​พ.ศ.​​2550​มีน​ สิ ติ ​นกั ศกึ ษา​ เขา ร​ บั ก​ ารฝ​ กงาน​ทง้ั สนิ้ ​76​คน​จากส​ ถาบันการศกึ ษา​จำนวน​16​สถาบัน​ดังร​ ายละเอียดต​ อไปน้ี ลำดบั ชอ่ื สถานศึกษา จำนวนนิสติ ​(คน) 1 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 3 2 จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย 2 3 มหาวทิ ยาลยั บูรพา 26 4 มหาวิทยาลยั บูรพา​วทิ ยาเขตสารสนเทศจันทบุรี 10 5 มหาวิทยาลยั ทักษิณ 4 6 มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร 2 7 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก​วิทยาเขตจันทบรุ ี 1 8 มหาวิทยาลัยเชียงใหม 1 9 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา เจา คณุ ทหารลาดกระบงั 6 10 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 1 11 มหาวิทยาลัยขอนแกน 3 12 มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เพชรบุรี 4 13 มหาวิทยาลยั มหิดล 5 46

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา ลำดบั ชอื่ สถานศกึ ษา จำนวนนิสิต​(คน) 14 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎพระนครศรีอยธุ ยา 1 15 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบรุ ี 6 16 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษา​จังหวดั ชลบุรี 1 76 รวมท้งั หมด 4. ดา้ นการทำนบุ ำรุงศลิ ปวฒั นธรรม เพอื่ เ​ปน การส​ บื สานป​ ระเพณข​ี องไ​ทยท​ น​่ี บั วนั จ​ ะจ​ างหายไ​ปจากส​ งั คมไ​ทยส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​ ได​เล็งเห็น​ถึง​ความ​สำคัญ​ของ​ประเพณี​ที่​งดงาม​ของ​ไทย​จึง​ได​จัดทำ​โครงการ​ตางๆ​เพ่ือ​เปนการ​รักษา​ประเพณี​ของ​ ไทยไ​ว​​สำหรบั ป​ งบประมาณ​​พ.ศ.​2550​สถาบนั ฯ​ได​จัดใหม​ ​กี ิจกรรม​ในโ​ครงการต​ า งๆ​ด​ งั น้ี 4.1 โครงการวันคลา้ ยวันสถาปนาสถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ​ สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​​มหาวทิ ยาลยั บรู พา​​ไดร บั ก​ ารพ​ ฒั นาม​ าต​ งั้ แตเ​ ปน ศ​ นู ยว​ ทิ ยาศาสตร​ ทางทะเล​จนกระทัง่ ไ​ดร บั ​การ​อนุมัติ​ให​เปน​สถาบนั ​วิทยาศาสตรท​ าง​ทะเลใน​ปจ จุบัน​ใน​วันท​่ี ​24​​กรกฎาคม​2527​ เปน ว​ นั ทพ​่ี ระบาทส​ มเดจ็ พ​ ระเจา อยหู วั ภ​ มู พ​ิ ลอ​ ดลุ ยเ​ดชฯ​ทรงพ​ ระก​ รณุ าโ​ปรดเกลา เ​สดจ็ ม​ าท​ รงก​ ระทำพ​ ธิ เ​ิ ปด ส​ ถาบนั ​ วทิ ยาศาสตรท​ างทะเลอ​ ยา งเ​ปน ทางการ​ดงั นนั้ ใ​นว​ นั ท​ี่ 24​กรกฎาคม​ของท​ กุ ป​ ​ชาวส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​ จะ​ถือเปน​วัน​สถาป​ณา​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ และ​ถือวา​วันน้ี​เปน​วันสำคัญ​อีก​วันหน่ึง​ท่ี​ทุกคน​ตอง​เขารวม​ กจิ กรรม​เชน​การ​รว มท​ ำบุญต​ กั บาตร​ในต​ อนเชา​และ​การ​ถวายภ​ตั รา​หาร​เพล​แกพ​ ระภิกษสุ งฆ​ ​เปน ตน ​ เพื่อ​เปนการ​สืบตอ​เจตนารมณ​หรือ​ประเพณี​ที่​สืบ​ตอกัน​มา​เปนเวลา​ไม​นอยกวา​ 20​ ป​ สถาบัน​ วทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​​จงึ ไ​ดจ​ ดั ใหม​ ก​ี จิ กรรมใ​นว​ นั ค​ ลา ยว​ นั ส​ ถาปนาส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลข​ น้ึ ​เพอ่ื เ​ปน การ​ สบื ตอ แ​ ละเ​ปน การเ​ฉลมิ ฉลองเ​นอ่ื งใ​นโ​อกาสว​ นั ค​ ลา ยว​ นั ส​ ถาปนาส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​ใหส​ บื ต​ อ ไปใ​นอนาคต​ ดวย กจิ กรรมในวนั คล้ายวนั สถาปนา ​ สำหรบั ใ​นป​ ง บประมาณ​พ.ศ​2550​สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​ไดก​ ำหนดใ​หจ​ ดั งานเ​ฉลมิ ฉลองใ​น​ วนั ค​ ลา ยว​ นั ส​ ถาปนาใ​นว​ นั ท​่ี 24​กรกฎาคม​2550​โดยม​ ก​ี จิ กรรมใ​นว​ นั นค​ี้ อื ม​ ก​ี ารถวายภ​ ตั ตาหารเ​พลใ​นชว งก​ ลางวนั ​ การพ​ บปะ​ของผ​ บู รหิ าร​และ​เจาหนาท​่ีสถาบันฯ​​มผ​ี บู ริหารแ​ ละบ​ ุคลากรใ​หค วามสนใจ​เขารวมก​ ิจกรรมเ​ปน ​จำนวน​ มาก 47

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา 4.2 โครงการวนั เดก็ แห่งชาติ ประจำปี 2550 ​ ทกุ ​วันเสาร​ท่สี อง​ของเ​ดอื นม​ กราคม​รฐั บาล​ได​กำหนดใ​ห​เปน​วนั เ​ด็ก​แหง ชาต​ิ สำหรบั ​ปงบประมาณ​ 2550​วนั เ​ดก็ แ​ หง ชาตต​ิ รงก​ บั ว​ นั เสารท​ ่ี​3​มกราคม​2550​หนว ยงานท​ งั้ ภ​ าครฐั แ​ ละเ​อกชนท​ ต​่ี ระหนกั ถงึ ค​ วามส​ ำคญั ​ ของ​เด็ก​และ​เยาวชน​ ได​จัดให​มี​กิจกรรม​ตางๆ​ เพ่ือ​เปดโอกาส​ให​เด็ก​ซึ่ง​ตอไป​จะ​เปน​ทรัพยากร​บุคคล​ที่​สำคัญ​ของ​ ประเทศ​ได​แสดงออก​ถึง​ความ​สามารถ​ที่​ตน​เอง​มี​อยู​รูจักคิด​และ​สะสม​ประสบการณ​ใหมๆ​อัน​จะ​เปนการ​พัฒนา​ คุณภาพข​ องเ​ยาวชน​อีกท​ างห​ นึ่ง​สำหรับ​ใน​ป​พ.ศ.​2550​รัฐบาล​ได​ใหค​ ำขวัญ​สำหรับ​เด็ก​และเ​ยาวชนไ​ว​ว า ​“อยาก​ ฉลาด​ตองข​ ยันอ​ าน​ขยันค​ ิด” ​ สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ได​เห็น​ถึง​ความ​สำคัญ​ของ​เด็ก​และ​เยาวชน​จึง​ได​จัด​กิจกรรม​เพื่อให​ เดก็ แ​ ละเ​ยาวชนไ​ดแ​ สดงความสามารถ​​ไดแก​​การ​แสดงความสามารถบ​ น​เวที​​การ​ตอบปญหาด​ า นว​ ทิ ยาศาสตร​ ทางทะเล​​การ​แสดงความสามารถ​ในดาน​การว​ าดภาพส​ ัตว​ทะเล​​และอนื่ ๆ​อกี ​มากมาย​​ใน​การ​ดำเนนิ โ​ครงการ​ ครง้ั นมี้​ ี​เยาวชน​และเ​ด็ก​เขา รวม​กิจกรรม​ทั้งสิ้นป​ ระมาณ​10,​000​คน 4.3 การจดั ซมุ้ สรงนำ้ พระในวนั สงกรานต์ ​ ในป​ ง บประมาณ​2550​สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลไ​ดจ​ ดั ก​ จิ กรรมส​ รงนำ้ พระเ​นอื่ งใ​นว​ นั สงกรานต​ ระหวาง​วันท่ี​ 1-30​ เมษายน​ 2550​ เพื่อ​เปดโอกาส​ให​ผูเขาชม​สถาน​เลี้ยง​สัตว​น้ำเค็ม​และ​พิพิธภัณฑ​วิทยาศาสตร​ ทางทะเลไ​ดร ว มก​ จิ กรรมส​ บื สานว​ ฒั นธรรมไ​ทย​ในก​ ารด​ ำเนนิ ก​ จิ กรรมใ​นค​ รง้ั นไ​้ี ดม​ ผ​ี เู ขา ชมม​ จ​ี ติ ศ​ รทั ธาบ​ รจิ าคเ​งนิ ​ เพอื่ สบ​ทบท​ นุ ส​ ำหรับเ​ปน ​อาหารใ​ห​สัตวน ำ้ ​ใน​สถานเ​ลี้ยงส​ ตั วน​ ำ้ เค็ม​เปน​จำนวน​เงนิ ​ท้งั สน้ิ ​22,230.50​บาท 48

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา 5. ดา้ นการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม การอ​ นรุ กั ษท​ รพั ยากรแ​ ละส​ งิ่ แวดลอ มเ​ปน น​ โยบายห​ นงึ่ ข​ องส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​ดงั นน้ั ​ในแ​ ตล ะ​ ป​ สถาบันฯ​ จะ​มี​กิจกรรม​ท่ี​เกี่ยวของ​กับ​การ​อนุรักษ​ทรัพยากรธรรมชาติ​ โดย​ใน​ปงบประมาณ​ 2550​ มี​โครงการ​ ดังน้ี 5.1 โครงการคา่ ยวิทยาศาสตรท์ างทะเลสำหรับเยาวชน คร้งั ท่ี 22 ​ วทิ ยาศาสตร​ทางทะเล​ได​เขา มาม​ ​บี ทบาทต​ อ​ชีวติ ประจำวัน​ของ​มนษุ ย​มากขึน้ ท​ ุกขณะแ​ ละย​ งั มีส​ ว น​ สำคัญตอ ก​ ารพ​ ัฒนาป​ ระเทศอ​ ีกดวย​​​ทง้ั นเี้ พราะ​ความรู​ดา นว​ ิทยาศาสตรท​ างทะเลน​ อกจากจ​ ะ​เปน​ปจจยั ​ท่ี​สำคญั ​ ในก​ าร​เพม่ิ ผลผลติ ​ทางด​ านเศรษฐกจิ แ​ ลว​ยังมี​บทบาทท​ ​ีส่ ำคัญ​ตอ​ความเ​ปน อย​ขู อง​ประชาชนโ​ดย​ทว่ั ไป​ดังนั้น​การ​ เผยแพร​ค วามร​ูทาง​ดา นว​ ทิ ยาศาสตร​ทางทะเล​ทถี่​ กู ตองต​ อ​เยาวชนข​ อง​ชาต​ิ จึงม​ คี วามสำคัญ​โดยเฉพาะอยางยงิ่ ​ เยาวชนใ​นร​ ะดบั ม​ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย​​ใหต​ ระหนกั ถงึ ค​ วามส​ ำคญั แ​ ละค​ ณุ ประโยชนข​ องท​ ะเล​เพอื่ จะไ​ดน​ ำค​ วามร​ู กลบั ไ​ปถ​ า ยทอดใ​หเ​ พอ่ื นรว มโรงเรยี นร​ ถ​ู งึ ค​ ณุ คา แ​ ละค​ วามส​ ำคญั ข​ องท​ รพั ยากรท​ างทะเลอ​ ยา งถ​ กู ตอ งซ​ งึ่ จ​ ะน​ ำไปส​ู การ​รูจกั ​ใชท​ รพั ยากรใ​หเ​กิดป​ ระโยชน​สงู สุด​และค​ ุม คา​และใ​หท​ รพั ยากร​อย​ูคู​ก บั ป​ ระเทศ​ไปอ​ ยาง​ยั่งยืน ​ สถาบันว​ ิทยาศาสตรท​ างทะเล​มหาวิทยาลัยบูรพา​ได​เลง็ เห็นถ​ ึง​ความส​ ำคญั ​ดังกลาว​จงึ ​ไดจ​ ัดทำ​ โครงการ​คาย​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ให​กับ​นักเรียน​ใน​ระดับ​มัธยมศึกษาตอนปลาย​มาแลว​ 21​ คร้ัง​ คือ​ตั้งแต​ใน​ ป​ ​พ.ศ.​2529​จนถึง​ปจจุบัน​ซ่ึง​ในก​ าร​ดำเนิน​โครงการท​ ผ่ี า นมา​น้นั ​ไดรบั ค​ วามส​ นใจจ​ าก​นักเรียน​ในโ​รงเรยี น​ตา งๆ​ ทว่ั ประเทศเ​ปน อยา งมาก​​เหน็ ไ​ดจ​ ากจ​ ำนวนข​ องผ​ สู มคั รเ​ขา ร​ บั ก​ ารอ​ บรม​ทง้ั นเี้ พราะผ​ ท​ู ผ​ี่ า นก​ ารค​ ดั เลอื กใ​หเ​ ขา รว ม​ โครงการ​ จะ​มี​โอกาส​ได​เพ่ิมพูนความรู​และ​ประสบการณ​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ​ รวมทั้ง​ความ​สำคัญ​ใน​การ​ อนุรกั ษท​ องทะเล​และ​ทรพั ยากรธรรมชาติ​จาก​ทะเล​มากยงิ่ ขึน้ ​ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1.​เพอื่ ใหเ​ ยาวชนไ​ด​มีความรเู​บ้อื งตน​เกยี่ วกบั ​วทิ ยาศาสตร​ท างทะเล 2.​เพอ่ื ให​เยาวชน​มีค​ วามคดิ รเิ ริม่ ​สรา งสรรค​และ​กลา​แสดงความคิดเห็น 3.​ เพ่ือให​เยาวชน​คุนเคย​กับ​เทคโนโลยี​ใน​การ​พัฒนา​ประเทศ​แบบใหมๆ​ ท่ี​เกี่ยวของ​กับ​ วิทยาศาสตร​ท างทะเล 4.​ เพื่อให​เยาวชน​มีความรู​ถึง​วิธีการ​ และ​ความ​จำเปน​ใน​การ​อนุรักษ​ทรัพยากรธรรมชาติ​ ทางทะเล​ให​คงอ​ ยตู ลอดไป 49

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา สรุปผลการจดั โครงการค่ายวิทยาศาสตรท์ างทะเลสำหรบั เยาวชน ครัง้ ที่ 22 ​ เยาวชน​ผูเขารวม​โครงการฯ​มี​ความ​พึงพอใจ​ใน​รูปแบบ​การ​จัด​โครงการ​ครั้งน​ี้ อยู​ใน​ระดับมาก​ (3.99)​​คิด​เปนร​ อยละ​80.88​​โดยพ​ บว​ า​ม​คี วาม​พึงพอใจอ​ ยูใ​น​ระดบั มากที่สดุ ​อยู​3​ขอไ​ดแก​ ​การป​ ฏิบตั ิหนา ท่ี​ ของ​ “นิสิต​พี่เลี้ยง”​ (4.71)​ รอง​ลงมา​ไดแก​สถานที่​ใน​การ​จัด​บรรยาย​ (4.57)​ และ​ความรู​และ​ประสบการณ​ที่​ไดรับ​ ตรงก​ ับค​ วามรสู ึก​ที่​มุง หวงั ​(4.57)​และ​อนั ดับ​สดุ ทา ยอ​ ยู​ในร​ ะดับ​ปานกลาง ไดแ ก​ สภาพท​ พี่ ัก​(2.93)​โดย​เยาวชน​ ผเู ขา รว มโ​ครงการเ​สนอใหเ​พมิ่ ​ระยะเวลา​การจ​ ดั ​โครงการน​ านก​ วา​น​้แี ละค​ วร​ปรบั ปรุง​สภาพท​ พ่ี ัก 5.2 โครงการค่ายวทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเลสำหรับเยาวชน ​ วทิ ยาศาสตร​ทางทะเล​ได​เ ขา มา​มบ​ี ทบาทต​ อม​ นุษย​มากขนึ้ ​โดย​เฉพาะใ​น​สภาวะ​ปจจบุ ัน​​ทป​ี่ ระเทศ​ ไทยก​ ำลงั พ​ ัฒนา​ประเทศ​และ​มก​ี าร​ใชประโยชนจ​ ากท​ รพั ยากรท​ างทะเล​ใน​รปู แบบ​ตา งๆ​มากข้ึน​ซ่ึง​สงผลกระทบ​ ตอ ค​ ณุ ภาพข​ องส​ ง่ิ แวดลอ มแ​ ละร​ ะบบน​ เิ วศวทิ ยาท​ างทะเล​อกี ทง้ั ย​ งั ท​ ำใหป​ รมิ าณข​ องท​ รพั ยากรธรรมชาตท​ิ างทะเล​ ลดลง​ไป​อยาง​รวดเร็ว​ ความรู​ทาง​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ นอกจาก​จะ​เปน​ปจจัยสำคัญ​ใน​การ​เพ่ิมผลผลิต​ ทาง​ดานเศรษฐกิจ​แลว​ ยังมี​บทบาท​ท่ี​สำคัญตอ​การ​ดำรงชีวิต​ และ​ความ​เปนอยู​ของ​ประชาชน​โดย​ท่ัวไป​ ดังน้ัน​ กระบวนการ​ถายทอดความรู​ทาง​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​และ​การ​อนุรักษ​ทรัพยากร​ท่ี​ถูกตอง​ให​กับ​เยาวชน​ จึง​ เปน เ​ครื่องมอื ​ทีม​่ คี วามสำคัญ​เปนอยา งยง่ิ ​ในก​ าร​ปลูกฝง​ความร​แู ละจ​ ิตสำนกึ ​ท​ีด่ ี​ตอ ก​ ารก​ า ว​ไปสคู​ วามเ​ปน ผใู หญ​ท่ี​ มคี​ วามเ​ขา ใจแ​ ละม​ ี​ความ​รับผดิ ชอบ​ตอท​ รพั ยากรธรรมชาต​ิทางทะเลอ​ ยางม​ ค​ี ุณภาพต​ อ ไปใ​นอนาคต ​ สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​มหาวทิ ยาลยั บรู พา​ไดต​ ระหนกั ถงึ ค​ วามส​ ำคญั ด​ งั กลา วจ​ งึ ไ​ดไ​ ดจ​ ดั ทำ​ “ โครงการ​คาย​วิทยาศาสตร​เพื่อ​การ​อนุรักษ​ทรัพยากรธรรมชาติ​ทางทะเล​ สำหรับ​เยาวชน”​ ข้ึน​ ท้ังนี้​เพ่ือ​เปนการ​ เสรมิ สรา งค​ วามรคู วามเขา ใจ​เกยี่ วกบั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​และป​ ลกู ฝง จ​ ติ สำนกึ ใ​นก​ ารอ​ นรุ กั ษท​ รพั ยากรธรรมชาต​ิ ทางทะเล​​ใหแ​ กเ​ ยาวชนผ​ ดู อ ยโอกาสใ​นเ​ขตพน้ื ทช​่ี ายฝง ทะเลภ​ าคต​ ะวนั ออก​ทงั้ นเ​้ี พอ่ื เ​ปน กำลงั ส​ ำคญั ใ​นก​ ารร​ ว มกนั ​ อนรุ กั ษท​ รพั ยากรธรรมชาตแ​ิ ละส​ งิ่ แวดลอ มท​ างทะเล​รวมทงั้ เ​พอ่ื เ​ปน การเ​ตรยี มค​ วามพ​ รอ มต​ อ ก​ ารพ​ ฒั นาเ​ปน ผใู หญ​ ทมี​่ ค​ี ณุ ภาพ​ในก​ าร​ใชท​ รพั ยากรอ​ ยา ง​ยัง่ ยนื ​​ตอ ไป ​ วัตถุประสงค์ 1.​เพอ่ื ใหเ​ ยาวชน​ไดม​ ​ีความรคู วามเขา ใจท​ ี่ถ​ ูกตอง​เกีย่ วกับว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​และ​การ​ อนรุ ักษท​ รพั ยากร​ทางทะเล 2.​เพ่ือ​ใหโ อกาสแ​ กเ​ ยาวชน​ผูด อยโอกาส​ในก​ ารเ​รยี นรูว​ ชิ าการ​ดานว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​ และ​การ​อนุรกั ษ​ทรัพยากร​ทางทะเลท​ ถี่​ ูกตอง 3.​​​เพอ่ื ใหเ​ ยาวชน​ไดต​ ระหนกั ถงึ ค​ วามจ​ ำเปน ใ​นก​ ารอ​ นรุ กั ษแ​ ละก​ ารใ​ชท​ รพั ยากรธรรมชาต​ิ จาก​ทะเล​อยา งย​ ั่งยืน 50

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ​ สรปุ ผลการจดั โครงการคา่ ยวิทยาศาสตร์ เพือ่ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตทิ างทะเล ​ เยาวชนผ​ เู ขา รว มโ​ครงการค​ า ยว​ ทิ ยาศาสตร​ เพอ่ื ก​ ารอ​ นรุ กั ษท​ รพั ยากรธรรมชาตท​ิ างทะเล​สำหรบั ​ เยาวชน​มค​ี วามพ​ งึ พอใจ​ใน​รปู แบบก​ าร​จัดโ​ครงการ​ครั้งน​ี้ อยใ​ู น​ระดับมาก​(4.38)​โดยเ​มือ่ พ​ จิ ารณา​เปน รายข​ อ ​พบ​ วา ​มค​ี วามพ​ งึ พอใจอ​ ยใ​ู นร​ ะดบั ​มากทสี่ ดุ ​อย​ู 4​ขอ ไ​ดแ ก​การป​ ฏบิ ตั หิ นา ทข​่ี อง​“นสิ ติ พ​ เ่ี ลยี้ ง”​(4.67)​​รองล​ งมาไ​ดแ ก​ คณุ ภาพข​ องส​ อ่ื ป​ ระกอบการบ​ รรยาย​(4.61)​การอ​ ำนวยความสะดวกต​ า งๆใ​นร​ ะหวา งโ​ครงการ​(4.51)​และ​อปุ กรณ​ โสตทศั นปู กรณ​(4.51)​ตามลำดับ​อยูใ​น​ระดบั มาก​จำนวน​18​ขอ ​ไดแ ก​ การ​เรยี งลำดับเ​นอ้ื หาวชิ าต​ าม​หลกั สูตร​ ของโ​ครงการ​(4.49)​รองล​ งมาไ​ดแ ก​ ความส​ ามารถข​ องว​ ทิ ยากรใ​นแ​ ตล ะห​ วั ขอ ก​ จิ กรรม​(4.49)​กจิ กรรมพ​ ธิ เี ปด แ​ ละ​ ปด โ​ครงการ​(4.49)​การอ​ ำนวยความสะดวกข​ องเ​จา หนา ทใ​ี่ นก​ ารล​ งทะเบยี น​(4.45)​ความเ​หมาะสมข​ องส​ ถานทจ​่ี ดั ​ กจิ กรรมโ​ครงการ​(4.43)​กจิ กรรมส​ นั ทนาการแ​ ละก​ ลมุ ส​ มั พนั ธ​ (4.41)​กจิ กรรมท​ ศั นศกึ ษาด​ งู านแ​ ละฝ​ ก ภ​ าคปฏบิ ตั ​ิ (4.39)​การ​ใหร​ ายละเอยี ดแ​ ละ​ขนั้ ตอนข​ องก​ ิจกรรม​ตา งๆ​(4.39)​​ความ​เหมาะสม​ของเ​อกสาร​ประกอบการ​อบรม​ (4.37)​ความรูแ​ ละ​ประสบการณ​ท ไ่​ี ดรับต​ รงก​ บั ค​ วามรสู ึกท​ ี​ม่ งุ หวงั ​(4.37)​ระยะเวลา​ใน​แตล ะ​หวั ขอ ​กจิ กรรม​(4.33)​ ภายหลัง​การ​อบรม​ทาน​มีความรู​และ​ประสบการณ​เพ่ิมข้ึน​ (4.33)​ ความ​นาสนใจ​ของ​กิจกรรม​ภาคปฏิบัติ​ (4.33)​ ระยะเวลาก​ ารเ​ตรยี มข​ อ มลู เ​พอื่ น​ ำเสนอผ​ ลงาน​(4.27)​ความส​ ะดวกใ​นข​ น้ั ตอนก​ ารล​ งทะเบยี น​(4.22)​ความเ​หมาะสม​ ของ​สถานที่​รับประทานอาหาร​(4.20)​คณุ ภาพ​ปรมิ าณ​และร​ สชาติข​ องอ​ าหาร​(4.02)​และ​สภาพห​ อ งนำ้ ​(3.98)​ ตามลำดบั 5.3 การใหค้ วามร่วมมือในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ​ ใน​ปงบประมาณ​ 2550​ สถาบัน​วิทยาศาสตร​ ทางทะเล​ ได​ใหความรวมมือ​กับ​เทศบาลตำบล​แสน​สุข​ใน​การ​ อนุรักษ​พันธุ​สัตวน้ำ​ทองถ่ิน​ โดย​ให​ความ​อนุเคราะห​พันธุ​ หอย​หวาน​จำนวน​ 10,000​ เพื่อ​ปลอย​คืน​สู​ธรรมชาติ​ เพ่ือ​ รวม​เฉลิมฉลอง​ใน​วัน​เฉลิม​พระ​ชนม​พรรษา​พระบาท​สมเด็จ​ พระเจา อยหู วั ฯ​ใน​วนั ท่ี​5​ธนั วาคม​2549 51

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา 6. ดา นการบรหิ ารและการพัฒนาองคกร 6.1 ดานการพฒั นาบุคลากร สถาบันว​ ิทยาศาสตร​ทางทะเล มี​นโยบาย​ใน​การ​พัฒนา​บุคลากร​เพ่ือ​เปนการเ​พ่ิม​ศักยภาพ​ใน​การ​ ทำงาน​ดวย​การ​สง​บุคลากร​ให​ไป​ศึกษา​ดูงาน อบรม/ประชุม/สัมมนา​ตาม​สาย​วิชาชีพ การ​ไป​ศึกษาตอ​ท้ัง​ใน​และ​ ตา งประเทศ และจ​ ดั ทำโ​ครงการพ​ ฒั นาบ​ คุ ลากรเ​พอ่ื เ​พมิ่ ประสทิ ธภิ าพใ​นก​ ารท​ ำงาน โดยต​ ง้ั เปา ห​ มายไวว​ า บ​ คุ ลากร​ รอ ยละ 80 จะไ​ดร ับ​โอกาสใ​นก​ ารพ​ ฒั นา​ตามส​ าย​วชิ าชพี โดยใ​น​ปง บประมาณ 2550 มีก​ ารด​ ำเนินงานเ​กี่ยวกบั ​ การพ​ ฒั นาบ​ ุคลากรด​ ังตอ ไปนี้ สรุปจำนวนการสงบคุ ลากรไปศกึ ษาตอ ฝกอบรม ดูงาน และประชุมสมั มนาในประเทศ ลำดบั ประเภท จำนวน (คน) จำนวน (คร้ัง) 1. ศึกษาตอ 22 2. ฝึกอบรม 52 25 3. ดูงาน 33 4. ประชมุ สมั มนา 31 55 สรปุ จำนวนการสง บุคลากรไปศกึ ษาตอ ฝกอบรม ดูงาน และประชมุ สมั มนาตา งประเทศ ลำดับ ประเภท จำนวน (คน) จำนวน (คร้ัง) 1. ศึกษาตอ -- 2. ฝึกอบรม 44 3. ดูงาน 29 3 4. ประชมุ สมั มนา 2 5 นอกจากนี้​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล ยัง​ได​จัดให​มี​การ​ประชุม อบรม และ​สัมมนา​ภายใน​ให​แก​ บุคลากรข​ องส​ ถาบันฯ พอส​ รุปไ​ด​ดงั น้ี 1. การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง การจดั ทำแผนยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาสถาบนั วทิ ยาศาสตร ทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา เมอื่ วนั ที่ 31 ตลุ าคม พ.ศ. 2549 สบื เ​น่ืองจากใ​น​ป  พ.ศ. 2549 เปน​ป​สุดทายข​ องแ​ ผน​พฒั นาการ​ศึกษาร​ ะดับ​อุดมศกึ ษาฉ​ บับ​ท ี่ 9 กำลงั จ​ ะ​ส้ินสุดลง ดงั น้ันแ​ นวท​ างในก​ าร​บริหารงานข​ อง​หนว ยงาน​ตางๆ จำเปน ตองม​ ​ีการจ​ ัดทำข้ึน ประกอบก​ ับ​ มหาวิทยาลยั บูรพา ได​ม​นี โยบายใ​ห​หนวยงานใ​นสงั กัด​จดั ทำแ​ ผนป​ ฏิบตั ริ าชการ 4 ป  โดยร​ ะบุ​สาระสำคัญเ​กย่ี วกับ​ นโยบายก​ ารป​ ฏบิ ตั ริ าชการข​ องส​ ว นร​ าชการ เปา หมายแ​ ละผ​ ลสมั ฤทธข​์ิ องง​ าน รวมทงั้ ป​ ระมาณการร​ ายได  รายจา ย และ​ทรัพยากร​อืน่ ๆ ท่ี​ตอ งใ​ชเ​สนอ​ตอ ร​ ฐั บาล​เพือ่ ​ใหค วามเห็น​ชอบ จากน้นั ​สำนักงบประมาณ​จะ​ดำเนนิ การ​จดั สรร​ งบประมาณ เพื่อ​ใหการ​ปฏิบัติงาน​ของ​หนวยงาน​ตางๆ​บรรลุผลสำเร็จ​ใน​แต​ภาระ​งาน ซ่ึง​จะ​ตอง​เริ่ม​ปฏิบัติตาม​ พระราชกฤษฎีกาต​ ั้งแตเ​สนอ​ต้งั งบประมาณป​  2549 เ​ปนตนไป ดังน้ัน​เพ่ือ​ใหการ​ดำเนินงาน​ของ​สถาบันฯ สอดคลองกับ​นโยบาย​ของ​มหาวิทยาลัยบูรพา และส​ อดคลอ งกบั พ​ ระราชกฤษฎกี า​ดงั กลาวขางตน สถาบนั ฯเ​ห็นค​ วามส​ ำคญั ด​ ังกลา วจ​ งึ ​ไดจ​ ดั ใหม​ ก​ี าร​ประชุมเ​ชิง​ ปฏบิ ตั ิการ เรือ่ ง การจ​ ดั ทำ​แผนย​ ุทธศาสตร​การ​พฒั นา​สถาบันว​ ิทยาศาสตรท​ างทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา ขึน้ เพอื่ ​ เปน แนวท​ างในก​ ารป​ ฏิบัติงานข​ องส​ ถาบันฯ ตอไป 52

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วัตถปุ ระสงค 1. เพ่ือให​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะล​โดย​ฝาย​ตางๆ ​สามารถ​ปรับตัว​และ​พัฒนา​ให​ สอดคลองกบั ส​ ภาพแวดลอม​ได​เปน อ​ ยา ง​ด​ีและม​ ​ีประสทิ ธภิ าพ 2. เพอื่ ใ​หก ารพ​ ฒั นาส​ ถาบนั ฯเ​ปน ไปโ​ดยม​ ก​ี รอบท​ ศิ ทางท​ ช​่ี ดั เจนแ​ ละส​ อดคลอ งกบั ก​ ารพ​ ฒั นา​ มหาวทิ ยาลยั 3. เพอื่ เ​ปน การก​ ระตนุ ใ​หผ​ บู รหิ ารแ​ ละบ​ คุ ลากรท​ เ​่ี กย่ี วขอ งใ​นฝ​ า ยต​ า งๆ​ไดต​ ระหนกั ถงึ โ​อกาส ภัย​คุกคาม จุดแข็ง จุดออน​ของ​สถาบันฯ และ​ได​รับทราบ​ถึง​ทิศ​ทางการ​ดำเนินงาน​ ในอนาคต การสรุปผลโครงการ บคุ ลากรข​ องส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเลท​ เ​่ี ขา รว มโ​ครงการจ​ ดั ทำแ​ ผนย​ ทุ ธศาสตรก​ ารพ​ ฒั นา ม​ี ความรูความเขา ใจใ​นก​ ารจ​ ดั ทำแ​ ผนย​ ทุ ธศาสตรแ​ ละแ​ ผนปฏิบัตงิ านท​ ่ี​ชดั เจน นอกจากนย​้ี งั มกี​ รอบแ​ ละท​ ิศท​ างการ​ พฒั นาห​ นว ยงานต​ าม​แผนทชี​่ ดั เจน 2. โครงการฝก อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรอื่ ง การจดั การของเสยี อนั ตรายในหอ งปฏบิ ตั กิ าร เมอื่ วนั ท่ี 11 มกราคม พ.ศ. 2550 ใน​ปจจุบัน​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​มี​การ​ใช​สารเคมี​หลายประเภท​ใน​การ​ดำเนิน​ กิจกรรม​ของ​งาน​หองปฏิบัติการ งาน​สถาน​เล้ียง​สัตว​น้ำเค็ม และ​งาน​พิพิธภัณฑ​วิทยา​ศาตร​ทางทะเล โดย​บุคคล​ ทีม่​ สี ว นเกย่ี วของส​ วนใหญเ​ ปนน​ กั ​วทิ ยาศาสตร พนกั งาน​วิทยาศาสตร เจา หนา ทวี่​ ิทยาศาสตร คนง​ าน​หองทดลอง นอกจากนี้​ยังมี​นิสิต นักศึกษา​ท่ี​เขามา​ทำ​ปญหา​พิเศษ/วิทยานิพนธ หรือ​ใช​เครื่องมือ โดย​เฉพาะ​ใน​สวน​ของ​ หองปฏิบัติการ รวมท้ัง​ลูกจาง​โครงการวิจัย​ตางๆ ที่​เขามา​ชวย​งานวิจัย​ของ​สถาบันฯ ซึ่ง​กิจกรรม​ดังกลาว​ลวน​ กอใหเกิด​ของเสีย​อันตราย ดังนั้น​สถาบันฯ จึง​มี​นโยบาย​จัด​อบรม​การ​จัดการ​ของเสีย​อันตราย​ที่เกิด​จาก​สารเคมี​ ข้ึน โดย​มุงเนน ห​ าแ​ นวคดิ แ​ ละ​แนวทางป​ ฏบิ ตั ใ​ิ นก​ ารจ​ ดั ​แยก​และก​ าร​บำบดั ข​ องเสีย​อันตราย เพ่ือให​ผ ูปฏิบัตงิ าน​และ​ ผูเกี่ยวของ​มี​ความรูความเขาใจ​ที่​ถูกตอง​ตาม​หลักวิชาการ ทาง​ดาน​การ​ใช การ​จัด​แยก และ​การ​บำบัด​ของเสีย​ อนั ตราย​ทเี​่ กดิ ขึ้น ซึ่งจ​ ะน​ ำไปสก​ู ารจ​ ดั การ​ของเสีย​อนั ตราย​ของ​สถาบนั ฯ ท​ถ่ี ูกตอง​ตอ ไป 53

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา วตั ถปุ ระสงค เพอ่ื ใหผ​ เู ขา รบั การอบรมม​ ค​ี วามรคู วามเขา ใจใ​นก​ ารใ​ชส​ ารเคมแ​ี ละก​ ารจ​ ดั การข​ องเสยี อ​ นั ตรายใ​น​ หองปฏบิ ตั ิการ สรุปผลโครงการ บคุ ลากรท​ เ​ี่ ขา รว มโ​ครงการเ​ปน บ​ คุ ลากรท​ เ​่ี กยี่ วขอ งแ​ ละท​ ำงานใ​นห​ อ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั การฝ​ กึ อบรม​ จึง​เปนการ​ทำความเขาใจ​เบ้ืองตน​ใน​การ​ใช​สารเคมี​ให​ถูกตอง ตลอดจน​การ​จัดการ​ของเสีย​อันตราย​ที่เกิด​ใน​ หอ งปฏิบัตกิ ารวิจยั ให​ถูกวิธี​และ​ไดม าตรฐาน​ไม​สงผลกระทบต​ อ ส​ ิ่งแวดลอ ม 3. โครงการฝกอบรม การระงับอัคคีภัยและการร่ัวไหลของสารเคมีเบ้ืองตนของบุคลากรสถาบัน วทิ ยาศาสตรทางทะเล เมอื่ วันที่ 12 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2550 เหตุ​เพลิงไหมต​ าม​อาคารบา นเรือน​และ​สำนักงาน​ตางๆ ลว นน​ ำมาซึ่ง​ความ​สญู เสยี ทรพั ยสิน​และ​ ชวี ติ ซง่ึ ​สาเหต​ุท่ี​กอใหเกิดเ​พลิงไหมอ​ าจเ​น่ืองมาจาก​อุบตั ิเหตุ สถาบนั ว​ ิทยาศาสตรท​ างทะเล มกี​ าร​ใชส​ ารเคม ี และ​ แกส​หลายประเภทใ​น​การด​ ำเนินก​ ิจกรรมข​ องง​ าน​หองปฏิบัติการวิจัย ซ่ึง​สารเคมี​บางป​ ระเภทแ​ ละแ​ กส​บางต​ ัว​เปน​ สารไ​วไฟ​สามารถ​ตดิ ไฟไ​ด​ง า ย หรอื ง​ าน​สำนกั งาน งาน​รา นคาก​ ม​็ ก​ี จิ กรรม​เกี่ยวของ​กบั ว​ ัสดเ​ุ ชื้อเพลิง​เชน กนั โดย​ บคุ คลท​ ม​ี่ สี ว นเกย่ี วขอ ง เปน เ​จา หนา ทท​่ี งั้ หมดข​ องส​ ถาบนั ฯ นอกจากนย​้ี งั มส​ี ว นบ​ รกิ ารท​ เ​ี่ ปด บ​ รกิ ารใ​หบ​ คุ คลภายนอก​ เขาช​ ม เพื่อค​ วามรด​ู า นว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล ดังน้ันส​ ถาบันฯ จงึ ​มี​นโยบายจ​ ดั อ​ บรมก​ าร​การ​ระงบั อ​ ัคคภี ยั เ​บอ้ื งตน ​ และก​ ารซ​ อ มแ​ ผนอ​ พยพห​ นไ​ี ฟแ​ กบ​ คุ ลากรท​ เ​ี่ กย่ี วขอ งใ​หม​ คี วามรแ​ู ละค​ วามเ​ขา ใจ สามารถป​ อ งกนั แ​ ละแ​ กไ ขปญ หาไ​ด​ อยา งถ​ กู ตอ งเ​มอื่ เ​กดิ เ​หตฉุ กุ เฉนิ จ​ ากเ​พลงิ ไหม  ซง่ึ จ​ ะส​ ามารถล​ ดค​ วามส​ ญู เสยี กอ ใหเ กดิ ค​ วามป​ ลอดภยั ต​ อ ท​ รพั ยส นิ ​ และบ​ ุคลากร​ของส​ ถาบันฯ 54

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา วตั ถปุ ระสงค 1. เพอื่ ให​ผ เู ขารับการอบรมม​ ​ีความรคู วามเขา ใจใ​นก​ าร​ปองกัน​และ​ระงบั อ​ ัคคีภยั ​เบอ้ื งตน 2. เพอื่ ​ฝึก​ทกั ษะใ​นก​ ารใ​ชอ​ ปุ กรณ​ตา ง ๆ ใน​การ​ดบั เ​พลงิ 3. เพ่ือให​ผูเขารับการอบรม​มี​ความรูความเขาใจ ใน​การ​อพยพ​คน​ออกจาก​อาคาร​กรณี​ เกิดเหตเุ​พลงิ ไหม สรปุ ผลโครงการ บคุ ลากรท​ งั้ หมดข​ องส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล ไดเ​ ขา รว มโ​ครงการจ​ ะไ​ดร บั ค​ วามรคู วามเขา ใจ​ เบ้ืองตน​ใน​การ​ระงับ​อัคคีภัย​และ​การ​รั่วไหล​ของ​สารเคมี​ตลอดจน​การ​เตรียม​ความ​พรอม​เมื่อ​เกิด​สถานการณ​ ฉุกเฉนิ 4. โครงการพฒั นาบคุ ลากรเรอ่ื ง “ความกา วหนา ของบคุ ลากรสถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล กบั การเขาสูตำแหนงผชู ำนาญการและผเู ช่ยี วชาญ” เมือ่ วนั ท่ี 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ไดพ​ ฒั นาจากศ​ นู ยว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล ตง้ั แต​ ป พ.ศ. 2527 การ​ดำเนินงาน​จึง​มี​มา​กวา 23 ป ตาม​โครงสราง​การ​ดำเนินงาน​ของ​สถาบันฯ ตอง​ประกอบดวย​ บุคลากร​ซ่ึง​เปน​องคประกอบ​หลัก​ที่​สำคัญ การ​ดูแลเอาใจใส​ตอ​ความ​เปนอยู​ของ​บุคลากร ความ​เจริญกาวหนา​ใน​ ตำแหนงหนา ท ี่ ขวัญแ​ ละก​ ำลงั ใจใ​นก​ าร​ปฏบิ ัตงิ านข​ องบ​ คุ ลากร เปน ส​ งิ่ ​ท่​ตี อง​คำนึงถงึ สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล โดย​คณะกรรมการ​พัฒนา​บุคลากร จึง​มองเห็น​ถึง​ความ​สำคัญ ใน​การ​พัฒนา​บุคลากร​ดังกลาว จึง​ได​จัด​โครงการ​พัฒนา​บุคลากร​เรื่อง “ความ​กาวหนา​ของ​บุคลากร​สถาบัน​ วิทยาศาสตร​ทางทะเล​กับ​การ​เขาสู​ตำแหนง​ผูชำนาญ​การ​และ​ผูเชี่ยวชาญ” ข้ึน​เพ่ือ​ตองการ​ให​บุคลากร​ได​ทราบ​ แนว​ทางการเ​ขาส​ูตำแหนง ทส​่ี ูงข้ึน โดยม​ ี​หลกั การแ​ ละร​ ะเบียบท​ ​ี่ชัดเจน วตั ถปุ ระสงค 1. เพอ่ื ต​ อ งการ​ใหบ​ คุ ลากรข​ อง​สถาบนั ฯ มคี วามร ู ความเ​ขา ใจ เกยี่ วกบั ก​ ารเ​ขา สต​ู ำแหนง ​ ผูช ำนาญก​ าร​และ​ผูเชย่ี วชาญ 2. เพือ่ ​ตอ งการ​สรา งขวัญแ​ ละ​กำลงั ใจ ใน​การป​ ฏิบตั ิงาน​ให​แ ก​บคุ ลากร 3. เพอ่ื ต​ อ งการใ​หบ​ คุ ลากรม​ ค​ี วามก​ ระตอื รอื รน ใ​นก​ ารพ​ ฒั นาต​ นเ​อง ในก​ ารเ​ขา สต​ู ำแหนง ท​่ี สูงข้ึน สรุปผลโครงการ ความก​ า วหนา ข​ องบ​ คุ ลากรข​ องส​ ถาบนั ฯ เปน ส​ งิ่ ท​ ผ​่ี บู รหิ ารใ​หค วามสำคญั ​การพ​ ฒั นาบ​ คุ ลากรเ​พอ่ื ​ กา วหนา ​ไปสต​ู ำแหนง ​ผชู ำนาญก​ ารแ​ ละผ​ เู ชยี่ วชาญ บ​ คุ ลากรจ​ ะไ​ดร บั ค​ วามรแ​ู ละแ​ นวท​ างในก​ ารจ​ ดั ทำเ​อกสารเ​พอ่ื ​ ขอรบั ก​ ารป​ ระเมินส​ ต​ู ำแหนงผ​ ชู ำนาญ​การแ​ ละผ​ เู ช่ียวชาญต​ อไป 55

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา 5. โครงการสง เสรมิ การพฒั นา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ของบคุ ลากรสถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา เม่อื วนั ที่ 4 กนั ยายน พ.ศ. 2550 รัฐบาล​ไดก​ ำหนดย​ ทุ ธศาสตร​ก าร​บริหารร​ าชการ​แผนดิน พ.ศ. 2548 – 2551 ใน​เรอ่ื งก​ าร​พฒั นา​ คน​และ​สังคม​ท่ี​มี​คุณภาพ โดยท่ี​สังคม​ไทย​เปลี่ยนแปลง​ไป​ในดาน​วัตถุ​อยาง​รวดเร็ว​ทำให​สังคม​ออนแอ ตก​อยู​ใน​ กระแส​วัตถุนยิ ม คนในส​ ังคมเ​กิด​ความส​ ับสน เกดิ ค​ วามเ​ส่อื มท​ างศีลธรรม วัฒนธรรม และ​เกดิ ​การข​ าดค​ ณุ ธรรม จริยธรรม ทำใหเ กดิ ​ความ​ขัดแยง ท​ างสังคม​นบั วัน​จะท​ วคี​ วามร​ ุนแรงข้ึน สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา โดย​คณะกรรมการ​พัฒนา​บุคลากร​ได​เห็น​ ถึง​ความ​สำคัญ จึง​ได​บรรจุ​การ​พัฒนา​บุคลากร​ดาน​คุณธรรม จริยธรรม ไว​ใน​แผนการ​พัฒนา​บุคลากร ป 2550 การ​จัดทำ​โครงการ​สงเสริม​การ​พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม​ของ​บุคลากร​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ขึ้นมา ก็​ เพื่อ​ตองการ​ให​บุคลากร​ของ​สถาบันฯ มี​หลัก​ที่​ดี​ใน​การ​ดำเนินชีวิต มี​ศีลธรรม​อัน​ดี โดย​นำ​เอา​คำ​ส่ังสอน​ทาง​ พระพุทธศาสนา​เปน​ฐาน​ใน​การ​หลอหลอม กลอมเกลา​จิตใจ ให​พัฒนา​ไปสู​การ​เปน​ผูปฏิบัติงาน​ที่​ดี​ของ​องคกร​ ตอ ไป วัตถุประสงค 1. เพ่ือให​ผูปฏิบัติงาน​ใน​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล ได​เขาใจ​หลักธรรม​คำ​ส่ังสอน​ของ​ พระพทุ ธศาสนาม​ ากยิ่งขึ้น 2. เพื่อ​ตองการ​ให​บุคลากร​ได​ปรับ​เปล่ียนทัศนคติความคิด เปน​ผู​ท่ี​มี​คุณธรรม จริยธรรม ​ สามารถ​เปน ผ​ ูป ฏิบัติงานท​ ่ีด​ ​ใี น​องคกร สรุปผลโครงการ การ​พัฒนา​บุคลากร​ใน​การ​ให​ความรู​และ​พัฒนา คุณธรรม จริยธรรม ของ​บุคลากร​ใน​คร้ังน้ี บคุ ลากรไ​ดม​ ห​ี ลกั ท​ ด​ี่ ใ​ี นก​ ารด​ ำเนนิ ชวี ติ มศ​ี ลี ธรรมอ​ นั ด​ งี าม ตลอดจนส​ ามารถเ​ปน ผ​ ปู ฏบิ ตั งิ านท​ ด​่ี ี ทำค​ ณุ ประโยชน ให​แกส​ ังคม​ตลอดไป 6.2 ดา นการเงินและงบประมาณ งบประมาณ​รายจาย​ประจำป​ งบประมาณ 2550 สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา ไดร บั ง​ บประมาณใ​นป​  2550 เพอ่ื ม​ าส​ นบั สนนุ การด​ ำเนินงาน 2 สว น คอื งบประมาณแผน ดนิ แ​ ละ​งบประมาณเ​งนิ รายได โดย​ใน​ปงบประมาณ 2550 สถาบนั ​ วิทยาศาสตร​ท างทะเล ไดรบั จ​ ดั สรร​งบประมาณ มรี​ ายละเอยี ดด​ งั นี้ 56

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา ตาราง​ที่ 3 งบประมาณแผนดิน ประจำป​ ง บประมาณ 2550 หมวดรายจาย จำนวนเงิน คดิ เป็นรอ ยละ 33.26 เงนิ เดอื น และคา จา งประจำ 13,099,100 8.84 คา ตอบแทน ใชสอย และวสั ดุ 3,479,800 5.97 คาสาธารณปู โภค 2,351,800 30.47 คาครุภัณฑ  ที่ดินและส่ิงกอ สราง 12,000,000 21.46 เงนิ อดุ หนนุ 8,451,500 100.00 รวม 39,382,200 คดิ เปนรอ ยละ 16.40 ตารางท​ ่ี 4 งบประมาณ​เงนิ รายได ประจำ​ปงบประมาณ 2550 28.60 5.75 หมวดรายจา ย จำนวนเงิน 24.57 15.18 คา จา งช่วั คราว 4,363,800 9.50 คาตอบแทน ใชส อย และวัสดุ 7,614,900 100.00 คา สาธารณปู โภค 1,530,000 คา ครุภณั ฑ  ทีด่ ินและส่งิ กอ สราง 6,541,200 เงินอดุ หนนุ 4,042,000 งบกลาง 2,530,000 รวม 26,621,900 หมายเหต ุ รวม​งบประมาณเ​งนิ รายได  (เพ่มิ เติม) 57

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา รายงานทางการเงนิ และบัญชี สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั ท่ี 28 กันยายน 2550 2550 2549 สินทรัพย 11,023.79 32,957.55 สนิ ทรัพยห มุนเวยี น 17,216,899.64 15,158,899.33 เงนิ สด 257,990.00 250,000.00 เงินฝากธนาคาร 46,452.15 39,124.86 ลูกหนี้เงินยมื นอกงบประมาณ 107,433.37 วสั ดุคงเหลือ 0.00 15,588,415.11 รายไดจ ากเงินงบประมาณคางรับ 17,532,365.58 รวมสนิ ทรัพยหมนุ เวียน 17,800,000.00 17,800,000.00 สินทรพั ยไ มหมุนเวียน 12,132,790.85 15,929,012.23 เงนิ ลงทุน - กอสรางหอพกั นิสติ 17,053.33 42,633.33 ครภุ ณั ฑและอปุ กรณ  (สทุ ธ)ิ 29,949,844.18 33,771,645.56 โปรแกรมสำเร็จรูป (สุทธ)ิ 47,482,209.76 49,360,060.67 รวมสินทรพั ยไ มหมุนเวียน 455,266.71 418,172.65 รวมสินทรัพย 3,855.86 2,286.13 51,522.00 หนี้สนิ และทุน 690,898.44 หน้ีสนิ หมุนเวยี น 1,150,021.01 471,980.78 เจาหน้ี ภาษคี า งจา ย คา ใชจ ายคางจาย รวมหนีส้ ินหมุนเวียน 58

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา หนส้ี ินไมห มนุ เวยี น 756,567.33 723,111.92 เงินรายไดโครงการบรกิ ารวิชาการ 1,391,860.67 1,355,778.71 รายไดจ ากเงนิ บริจาครอการรับรู 605,742.63 222,942.76 เงินรบั ฝาก 2,754,170.63 2,301,833.39 รวมหน้ีสนิ ไมหมุนเวียน 3,904,191.64 2,773,814.17 รวมหน้สี ิน 45,370,747.14 45,370,747.14 สวนทุน (1,792,729.02) 1,215,499.36 ทุน 43,578,018.12 46,586,246.50 รายไดส งู กวา / (ต่ำกวา) คาใชจ ายสะสม 47,482,209.76 49,360,060.67 รวมสว นทนุ รวมหนี้สินและสว นทุน สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล งบแสดงผลการดำเนนิ งานทางการเงิน สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี สนิ้ สุดวนั ท่ี 28 กันยายน 2550 2550 2549 รายไดจากการดำเนนิ งาน 21,382,489.15 21,382,489.15 รายไดจ ากรฐั บาล 17,105,145.00 รายไดจ ากเงินงบประมาณ 19,651,152.46 1,272,303.74 รวมรายไดจากรัฐบาล 19,651,152.46 57,900.00 41,415.17 รายไดจ ากแหลงอนื่ 96,715.34 433,392.61 รายไดจากคาเขาชม 14,642,720.00 19,006,871.86 40,389,361.01 รายไดจ ากโครงการรานคา 1,399,108.15 รายไดจ ากคา เชา หอประชุม 37,600.00 รายไดจ ากเงนิ ลงทุน 0.00 รายไดจ ากเงนิ บริจาค 305,407.58 รายไดอ ื่น 311,358.24 รวมรายไดจ ากแหลง อนื่ 16,696,193.97 รวมรายไดจากการดำเนินงาน 36,347,346.43 59

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา คา ใชจ ายจากการดำเนินงาน 18,898,920.83 19,043,226.29 คา ใชจา ยดา นบุคลากร 11,710,514.76 10,972,818.18 คา ใชจายในการดำเนนิ งาน 3,110,109.73 2,798,843.98 คาใชจ ายเงินอุดหนนุ 5,729,888.54 5,779,687.93 คาเสอื่ มราคา - ครภุ ัณฑและอปุ กรณ คา ตัดจำหนาย - โปรแกรมสำเร็จรูป 25,580.00 25,580.00 รวมคาใชจา ยจากการดำเนินงาน 39,475,013.86 38,620,156.38 (3,127,667.43) 1,769,204.63 รายไดสงู /(ต่ำ) กวา คา ใชจายจากการดำเนนิ งาน รายการพเิ ศษ 0.00 0.00 (3,127,667.43) 1,769,204.63 รายไดสูง/(ต่ำ) กวาคาใชจ ายสุทธิ การเขาชมสถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล ได​เปด​ให​เขา​ชม​ใน​สวน​ของ​สถาน​เล้ียง​สัตว​น้ำเค็ม และ​พิพิธภัณฑ​ วทิ ยาศาสตรท​ างทะเล สำหรับ​ในป​ ง บประมาณ พ.ศ.2550 มผ​ี ูเ ขา ชมด​ ังต​ าราง​ตอไปนี้ ตาราง​ที่ 5 แสดงส​ ถติ ิ​ผเู ขา ชม​ในป​ ง บประมาณ 2550 เดอื น จากการจำหนา ยบัตร กรณีพเิ ศษ รวม คดิ เปน็ รอยละ ตลุ าคม 2549 เด็ก ผูใหญ ตางชาติ เด็ก ผูใหญ เณร พระ 69,020 10.37 พฤศจกิ ายน - 35,507 ธันวาคม 26,918 40,974 823 199 106 - - 60,800 5.34 มกราคม 2550 - 61,208 9.14 กุมภาพนั ธ 15,850 17,658 1,534 344 121 - 30 50,863 9.20 มีนาคม - 80,313 7.65 เมษายน 27,949 31,087 1,651 60 53 - 36 61,539 12.07 พฤษภาคม 82 44,845 9.25 มถิ ุนายน 25,241 29,770 2,380 3,603 84 100 10 26,571 6.74 กรกฎาคม 40,496 สิงหาคม 27,113 21,778 1,781 108 83 - 9 79,522 3.99 กนั ยายน - 54,579 6.09 รวม 37,660 40,623 1,713 62 214 5 100 665,263 11.95 - 8.20 19,164 41,079 950 40 66 158 267 100.00 12,130 31,274 731 93 542 65 8,877 16,852 597 160 36 40 13,680 25,001 789 85 941 - 50,181 26,089 1,081 1,539 532 - 28,564 24,031 650 846 488 - 293,327 346,216 14,680 7,139 3,266 368 60

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา เพอ่ื ใหส​ ามารถต​ อบส​ นองความตอ งการข​ องผ​ เู ขา ชมท​ ง้ั ท​ างด​ า นวชิ าการแ​ ละค​ วามส​ นกุ สนานเ​พลดิ เพลนิ สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​โดย​คณะกรรมการ​รับฟง​ความ​คิดเห็น​ของ​ผูรับบริการ จึง​ได​ทำการ​สำรวจ​ความ​ พงึ พอใจแ​ ละ​ความ​คดิ เหน็ ​ของ​ผรู ับบรกิ าร เพอื่ น​ ำ​ขอ เสนอแนะข​ องผ​ เู ขา ชม​มาป​ รับปรงุ แกไ ข​และ​พฒั นา​งาน​ในดา น​ ตา งๆ​ของ​สถาบันว​ ิทยาศาสตร​ทางทะเลอ​ ยาง​ตอ เน่ือง ซง่ึ ​ผลก​ ารส​ ำรวจป​ ระจำป​ ง บประมาณ 2550 มด​ี ังน ้ี ÖćøïøÖĉ ćø ÿëćîđúĊĚ÷ÜÿêĆ üîŤ ćĞĚ đÙĘö óóĉ ĉíõĆèæüŤ ìĉ ÷ćýćÿêøŤìćÜìąđú ÿëćîìĊę ĒúąÿÜĉę ĒüéúšĂö                        ÖčöõćóîĆ íŤóùþõćÙö öëĉ čîć÷îÖĆî÷ć÷î êúč ćÙööÖøćÙö ýďûôġŸĒ ĒñîõöĎ ĉĒÿéÜøšĂ÷úą×ĂÜÖćøÿĈøüÝÙüćöóċÜóĂĔÝĒúąÙüćöÙéĉ đĀîĘ ×ĂÜ ภาพท่ี ñ1 öšĎ แćผøนĆïภïมูøิ แĉÖสćดøงø รąอ ĀยüลćŠ ะÜ ขđอéงĂČ ก îารê สúčำรćวÙจöค วามพ ึงพอÖใĆîจ÷ แลćะ÷ค îวาม คดิเห็น ของผ มู  า รบั บรกิ าร ระหวาง เดือน ตลุ าคม 2549 – กนั ยายน 2550 61

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา 6.3 ดานประชาสัมพนั ธแ ละการตลาด สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล มี​การ​ ดำเนนิ งานด​ า นป​ ระชาสมั พนั ธแ​ ละก​ ารต​ ลาดเ​พอ่ื เ​ผยแพร​ ผลงาน ขอ มลู ขา วสารแ​ ละก​ จิ กรรมต​ า งๆ อยา งต​ อ เนอื่ ง สำหรับใ​น​ปง บประมาณ 2550 หนว ยป​ ระชาสัมพันธ​และ​ หนว ยก​ ารต​ ลาดไ​ดด​ ำเนนิ การส​ ง ข​ อ มลู ขา วสาร และข​ า ว​ การ​จัด​กิจกรรมข​ อง​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล เพ่ือ​ เผยแพร​และ​ประชาสัมพันธ​ใน​สื่อ​ตางๆ ทั้งน้ี​มี​ส่ือ​ตางๆ ทง้ั ห​ นังสอื พมิ พ  นิตยสาร รายการวิทยุ​และโ​ทรทศั น ตดิ ​ ตอ มาเ​พอ่ื ข​ อเ​ขา มา​ถา ยทำ​สารคดห​ี รอื ส​ มั ภาษณเ​ จา ของ​ งานสัปดาหว ชิ าการสมั พันธ รสจ. คร้ังท่ี 17 ผลงาน​เพื่อ​นำไป​เผยแพร​สู​สาธารณชน​จำนวน​มาก โรงเรียนดาราสมทุ รอำเภอศรรี าชา เพอื่ ใหส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา เปน ทย่ี อมรบั แ​ ละ​รจู กั อ​ ยา งก​ วา งขวาง ทงั้ ใ​นดา น​การเ​ปน ​ แหลง เ​รยี นรทู​ างวชิ าการ​ดา น​วทิ ยาศาสตร​ทางทะเล และก​ าร​เปนแ​ หลงทองเทีย่ ว​ทน่ี​ า สนใจข​ อง​นักทองเที่ยว​ทกุ คน ดว ย​การน​ ำเสนอข​ อมูล​ที่เ​ปนจ​ ดุ เดน นวตั กรรม และอ​ งคความร​ตู างๆ ให​กับ​เยาวชน นักทองเทยี่ ว และป​ ระชาชน​ ทวั่ ไป โดย​การ​เขา รว มก​ จิ กรรม​ตา งๆ ดงั ตอ ไปน้ี รวมงานสง เสรมิ การขาย โครงการ “วนั อาทิตยปด เทอม... ในงานการประชมุ ใหญสามัญประจำป เพิม่ ความแข็งแรงใหครอบครัวพาทัวร ของวิทยาลยั อาชวี ศึกษาทว่ั ประเทศ สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล” 62

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา งานแถลงขาวเปดตวั บัตร กิจกรรมสงเสริมการขายตลาดโรงงาน Chonburi Tourist Visa # 3 นคิ มอตุ สาหกรรมภาคตะวันออก แนะนำขอมูลแหลง ทองเทย่ี วของจังหวดั ชลบรุ ี งานนมสั การพระพทุ ธสิงหิงค งานสงกรานต ในการประชาสมั พนั ธง านมหกรรมกอลฟ และงานกาชาดจงั หวัดชลบรุ ี ประจำป 2550 ภาคตะวนั ออก ครั้งที่ 2 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น ป 2550 งานประชุมสมั มนาสมาชิกสภา อบจ. ระดบั ภาคตะวนั ออก และนายก อบจ. ท่ัวประเทศ 63

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา รายงานผลการปฏิบตั ิงานหนว ยการตลาด ปง บประมาณ 2550 วันที่ กจิ กรรม สถานที่ 7 ตลุ าคม 2549 รว มงาน​สง เสรมิ ก​ ารข​ าย ในง​ านการป​ ระชุม​ใหญ​ส ามญั ​ โรงแรมจ​ อม​เทยี นป​ าลมบ​ ชี พัทย​ า ประจำป​ของว​ ิทยาลยั อ​ าชวี ศึกษาท​ วั่ ประเทศ 27 ตลุ าคม 2549 ออก​บทู ป​ ระชาสัมพนั ธ​ในง​ าน​สัปดาหว​ ชิ าการส​ ัมพนั ธ รสจ. โรงเรียน​ดาราส​ มทุ รศ​ รีราชา ครัง้ ท ่ี 17 และ​เพอื่ ร​ ว ม​เฉลมิ ฉลองใ​นว​ โรกาสท​ รงค​ รองส​ ริ ​ิ อ. ศรรี าชา จ. ชลบรุ ี ราชสมบัตคิ​ รบ 60 ป ของ​พระบาทส​ มเด็จ​พระเจา อยูหวั และ​ ในโ​อกาสค​ รบรอบ 70 ป แหง ​การส​ ถาปนาโ​รงเรยี น​ดารา​ สมทุ ร ทุกวันอาทติ ย โครงการ “วนั อาทติ ย​ปดเทอม...เพ่ิม​ความ​แขง็ แรงใ​ห​ สถาบนั ​วิทยาศาสตร​ทางทะเล ตลอดเดอื นตลุ าคม ครอบครัวพ​ า​ทวั ร​สถาบันว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล” 13 พฤศจกิ ายน เขารว มอ​ บรม​โครงการจ​ ดั ทำข​ อมูล​ดา นก​ าร​ทอ งเท่ียวท​ างส​ ื่อ​ โรงเรยี น​เทคโนโลย ี ภาคต​ ะวันออก 2549 อเี​ลคท​รอ​นิกส  ซง่ึ จ​ ัด​โดยก​ ลุมย​ ทุ ธศาสตรด​ า นก​ ารท​ องเทีย่ ว​ (อเี​ทค) จังหวดั ช​ ลบรุ ี โดย Website กลุม​จังหวัด​ภาคต​ ะวันออก เพ่ือ แ​ นะนำ​สถานที่ทอ งเทีย่ วท​ ี่​ ดังกลาว จะเ​ปด​ใหบ ริการป​ ระชาชน สำคัญ​ใน​ภาคต​ ะวันออก 4 ธันวาคม 2549 ออกบ​ ทู ป​ ระชาสมั พนั ธ​ใน​งาน​ถวายพระพรเ​น่อื งใ​น​วโรกาส​ บริเวณ​ชายหาดบ​ าง​แสน วัน​เฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธนั วาคม 2549 รว มกับ​เทศบาล​ ต.แสน​สขุ อ.เมอื ง จ.ช​ ลบรุ ี แสน​สุข 29 มกราคม 2550 รว มอ​ อก Booth แนะนำ​ขอมลู ท​ องเที่ยว ใหก​ บั ​ส่อื มวลชน​ท้ัง​ หองประชุม 401 ศาลาว​ า ​ สวนกลาง​และ​สวนภูมิภาค และน​ กั ทอ งเท่ียวใ​นง​ านแ​ ถลงขาว​ การเมืองพัทย​ า เปด ตวั บ​ ตั ร Chonburi Tourist Visa # 3 22 กุมภาพันธ ออก Booth แนะนำ​ขอ มลู ท​ องเที่ยว ในง​ าน​อบรม​หลกั สตู ร​ พฒั นา​กอลฟ แอนด  สปอรต​คลับ ​ 2550 นกั ​บรหิ าร​ระดบั ก​ ลางข​ อง​กรมส​ รรพากร ศรีราชา 25 กุมภาพันธ  ออก Booth แนะนำ​ขอ มูลท​ อ งเท่ียว ในง​ าน เปดตวั ​บริษัท หองบุ​ศราค​ มั สวน​เสอื ​ศรีราชา 2550 Grand Invitation Service ซ่งึ เ​ปน​บรษิ ัท​นำน​ กั ท​ อ ง เทย่ี วท​ ัง้ ​ ในประเทศ และ​ตา งประเทศ มาท​ อ งเทยี่ วใ​นช​ ลบุรี 23 มีนาคม 2550 รว มก​ จิ กรรม​สงเสริมก​ ารข​ าย​ตลาดโ​รงงานภ​ าคก​ ลาง โรงแรมก​ รงุ ศ​ ร ี ริเวอร รว มกับ การ​ทองเทยี่ ว​แหง ​ประเทศไ​ทย สำนักงานภ​ าค​กลาง​ จงั หวดั พ​ ระนครศรอี ยธุ ยา เขต 8 จัดให​กับผ​ บู ริหารฝ​ ายบ​ คุ ล ของ​โรงงานใ​น​นิคม​ โรงงานอุตสาหกรรมภ​ าคก​ ลาง (จงั หวดั พ​ ระนครศรีอยุธยา) 14 มนี าคม 2550 รว มก​ ิจกรรม​สง เสรมิ ก​ ารข​ ายต​ ลาด​โรงงาน คร้ังที ่ 1 บาน​สขุ าวด ี ​พทั ยา ในง​ าน “เชิญ​ชาวน​ คิ ม ชมแ​ หลง ทองเทย่ี ว” เพอื่ ประชาสมั พนั ธ  แหลง ทองเที่ยว​ในจ​ งั หวดั ช​ ลบรุ ี ใหก​ ับ​ พนกั งาน​โรงงาน​ใน​เขตน​ ิคม​โรงงานอตุ สาหกรรม ในภ​ าค​ตะวันออก 64

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วนั ที่ กจิ กรรม สถานท่ี 21 มนี าคม 2550 รว มก​ ิจกรรม​สง เสรมิ ​การข​ ายต​ ลาดโ​รงงาน ครงั้ ท่ี 2 องคการบรหิ ารสวนจงั หวัดชลบุรี ใน​งาน “เชิญ​ชาวน​ ิคม ชม​แหลงทองเทย่ี ว” เพ่อื ประชาสมั พนั ธ  แหลง ทองเทีย่ ว​ใน​จงั หวดั ช​ ลบุรี ใหก​ บั ​ พนกั งาน​โรงงาน​ใน​เขตน​ คิ ม​โรงงานอุตสาหกรรม ใน​ภาคต​ ะวันออก 7 – 15 เมษายน รวมกบั การท​ อ งเทยี่ วแ​ หง ​ประเทศไ​ทย ออก Booth ลานอ​ เนกประสงค ​ 2550 ในงาน​ มัสการ​พระพทุ ธ​สิ​หิงค  งานส​ งกรานต ศาลากลางจงั หวัดช​ ลบรุ ี และง​ าน​กาชาดจ​ งั หวดั ช​ ลบุรี ประจำป 2550 26 เมษายน – รว ม​ออก Booth แนะนำ​ขอมลู แ​ หลงทอ งเที่ยวข​ อง​จงั หวดั ​ หางสยามพารากอน กรงุ เทพฯ 6 พฤษภาคม ชลบุรี ใหก​ ับ​ผเู ขารวมง​ าน​ใน​การป​ ระชาสัมพนั ธ​งาน​มหกรรม​ 2550 กอลฟ ภาค​ตะวนั ออก คร้งั ท ่ี 2 17-18 พฤษภาคม รว ม​ออกBooth แนะนำข​ อ มลู ท​ องเที่ยว จงั หวดั ช​ ลบุร ี ให​กับ​ อาคารห​ อประชุม​ธำรง บวั ศ​ ร ี ม.​ 2550 ผูเขารว มประชุมเ​ชงิ ว​ ชิ าการท​ างค​ ณติ ศาสตร​ประจำป  2550 บรู พา 20 – 22 มถิ ุนายน รวม​ออก Booth งานป​ ระชมุ ​สมาคมส​ ันนบิ าต​เทศบาล​ โรงแรมแอมบ​ าส​เดอร  ซิต ้ี จอม​ 2550 ทัว่ ประเทศ เทยี น 31 กรกฎาคม – รว มงานศ​ ลิ ป​หตั ถกรรมน​ ักเรียน 2550 ระดบั ​ภาคก​ ลางแ​ ละ​ บรเิ วณส​ วน​ตำหนกั นำ้ ​จังหวดั ​ 2 สิงหาคม 2550 ภาค​ตะวนั ออก ชลบุรี 7-8 สงิ หาคม 2550 ประสานงานใ​น​โครงการค​ ายว​ ทิ ยาศาสตร​ท างทะเลข​ อง​ สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล นกั เรียนโ​รงเรียนช​ ลก​ ันยาน​ ุกลู ครัง้ ที ่ 3 ใหก​ ับ​นักเรยี นร​ ะดับ​ ชนั้ มัธยมศกึ ษา​ป​ท่ ี 4 12 สงิ หาคม 2550 รวมกบั โ​ครงการ​รานคา ส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล ม.บูรพา และ​บริษัท ไทย​กลู โิ กะ ประเทศไ​ทย จำกดั จัดก​ ิจกรรม​วนั แม​แหง ชาต ิ ป 2550 30 สิงหาคม 2550 จัด​เอกสาร​ประชาสัมพันธ​ให​ก ับ​ผรู ว มประชมุ ​ใน​โครงการ​ คณะศกึ ษาศาสตร  ประชมุ ​การ​คัดเลือกบ​ คุ คล​เขา ​ศึกษาใ​นม​ หาวิทยาลยั บรู พา มหาวิทยาลัยบูรพา ปการศึกษา 2551 สำหรับผ​ ูบรหิ ารงานแ​ นะแนว​ของโ​รงเรียน​ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายใ​น​ภาคต​ ะวนั ออก 12 ​จงั หวดั 12-13 กนั ยายน จดั สง ​เอกสารป​ ระชาสัมพนั ธ​ใหก​ ับ​คณะศึกษาศาสตร  มหาวิทยาลยั บูรพา 2550 มหาวทิ ยาลยั บูรพาซ​ ึง่ เปน ​เจาภาพใ​นก​ ารจ​ ัดป​ ระชุม และ​ สมั มนาท​ างวชิ าการ​ดงั น​้ีคอื คณะกรรมการบ​ ริหารส​ ภา​ คณบดี​คณะค​ รศุ าสตร/ ศกึ ษาศาสตร​แหง ป​ ระเทศไ​ทย ครั้งที่ 6/2550 ประชมุ ส​ ภาค​ ณบดีค​ ณะ​ครศุ าสตร/ศกึ ษาศาสตร​แ หง ​ ประเทศ​ไทย ครัง้ ท ่ี 6/2550 และ ประชุม​สมั มนา​ทางวชิ าการ เรื่อง​บทบาท​โรงเรยี นสาธิตฯ ในก​ ารป​ ฏิรูป​การผ​ ลติ ค​ รู การ​ พฒั นาค​ ร ู และ​การศ​ ึกษา​ไทยใ​นอนาคต 27 – 29 กนั ยายน รว ม​ออก Booth แนะนำ​ขอ มูลท​ องเทย่ี ว จังหวดั ช​ ลบุรใี​น​งาน​ โรงแรมแอมบ​ าส​ซาเดอร  ซิต ้ี 2550 ประชมุ ​สัมมนาส​ มาชกิ สภาอ​ งคก ารบ​ รหิ าร​สวน​จังหวดั และ​ จอม​เทียน นายก​องคการ​บรหิ าร​สว นจ​ งั หวัด ​ท่วั ประเทศ 65

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา 7. ดานการประกนั คณุ ภาพ สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ มหาวิทยาลัยบูรพา​ ได​ดำเนินงาน​ดาน​การ​ประกัน​คุณภาพ​มา​ตั้งแต​ป​ พ.ศ.​2543​​การ​ประกัน​คุณภาพ​มีค​ วาม​จำ​เปน ตอก​ ารด​ ำเนินแ​ ละพ​ ัฒนา​งานข​ อง​สถาบนั ฯ​ซงึ่ ​เพ่ือ​เปน การย​ ืนยนั ​วา​ สถาบันฯ​ ได​ดำเนินการ​ท่ีจะ​สงเสริม​คุณภาพ​การ​ใหบริการ​ ตลอดจน​สงเสริม​การ​วิจัย​ของ​สถาบันฯ​อยาง​ตอเน่ือง​ ทำใหเ กดิ ค​ วาม​มนั่ ใจต​ อ ส​ าธารณชน​วา ​ผลผลติ ​ทางวชิ าการ​จะ​ม​คี ุณภาพ​ทพ่ี งึ ประสงค​​และเ​พ่ือเ​ปน การ​เสริมสราง​ มาตรฐานก​ ารบ​ รกิ ารเ​ปน ทยี่ อมรบั ใ​นร​ ะดบั ประเทศแ​ ละร​ ะดบั ส​ ากล​ทงั้ นส​ี้ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​จงึ ไ​ดน​ ำร​ ะบบ​ คณุ ภาพต​ า งๆ​มาใ​ชกบั ​การด​ ำเนินงาน​ของ​สถาบนั ฯ​​​ดงั น้ี 7.1 การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาตามเกณฑ 7 มาตรฐาน​ สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ได​ดำเนินการ​ประกัน​คุณภาพ​การ​ศึกษา​ตามเกณฑ​ 7​ มาตรฐาน​ ซ่ึง​ กิจกรรม​ดังกลาว​เปนการ​ประกัน​วา​หนวยงาน​มี​การ​พัฒนา​และ​สงเสริม​คุณภาพ​การ​ศึกษา​การ​ใหบริการ​วิชาการ​ ตลอดจน​สงเสริม​การ​วิจัย​อยาง​ตอเนื่อง​ สำหรับ​ปการศึกษา​ 2550​ สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ รับ​การ​ตรวจ​ ประเมนิ ค​ ุณภาพภายใน​ดังน้ี การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​รบั ​การต​ รวจ​ประเมินคณุ ภาพ​ภายใน​เม่อื ว​ ันท่​ี 2​กรกฎาคม​2550​โดย​ คณะกรรมการท​ แี​่ ตง ต้ัง​โดย​มหาวิทยาลัยบรู พา​จำนวน​5​ทา น​ไดแก 1.​​รองศาสตราจารยเ​กษม​​พพิ ฒั น​ปญญาก​ ุล​ ประธานค​ ณะกรรมการ 2.​​ดร.​สุรินทร​​​อนิ ทะ​ยศ​ กรรมการ 3.​​ดร.​สุเมธ​​งามก​ นก​ กรรมการ 4.​​อาจารยชลิ​ตา​​มณ​ศี รี​ กรรมการ 5.​​นางสาว​เบญจวรรณ​​ทับ​พร​ กรรมการ​และ​เลขานุการ 66

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในตามองคป ระกอบ องคป ระกอบ ผลก​ าร​ประเมนิ ​โดย​สถาบนั ​ ผลก​ ารป​ ระเมินโ​ดย​ องคป ระกอบที่ 1​​ปรัชญา​ปณธิ าน​วัตถุประสงค​​ วิทยาศาสตรท​ างทะเล คณะกรรมการป​ ระเมินฯ และแผนการดำเนินการ องคประกอบที่ 4​​การวจิ ยั 2.00​​คะแนน 2.00​คะแนน องคป ระกอบท่ี 5​​การบรกิ ารวชิ าการแกสงั คม องคประกอบที่ 7​​การบริหารและการจดั การ 1.40​​คะแนน 1.80​คะแนน องคประกอบที่ 8​​การเงนิ และงบประมาณ 2.50​​คะแนน 2.50​คะแนน องคป ระกอบท่ี 9​​ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 2.40​​คะแนน 2.15​คะแนน 3.00​​คะแนน 2.00​คะแนน สรุปผล 2.00​​คะแนน 2.50​คะแนน 2.22 คะแนน 2.16 คะแนน 7.2 การประกนั คุณภาพมาตรฐานระบบการจัดการดานสงิ่ แวดลอ ม ISO 14001: 2004 ​ สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​เปน ห​ นว ยงานท​ ม​่ี ห​ี นา ทค​ี่ วามร​ บั ผดิ ชอบใ​นก​ ารด​ ำเนนิ งานด​ า นว​ จิ ยั ​ การ​ใหบริการ​วิชาการ​ดาน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ และ​สาขาวิชา​ท่ี​เกี่ยวของ​ไดแก​ นักเรียน​ นิสิต​ นักศึกษา​ และ​ ประชาชนท​ ว่ั ไป​นอกจากนย​ี้ งั ส​ นบั สนนุ ก​ ารเ​รยี นก​ ารส​ อนข​ องม​ หาวทิ ยาลยั บรู พาใ​นก​ ารใ​หค ำปรกึ ษา​การส​ นบั สนนุ ​ ดาน​สถานที่​ เคร่ืองมือ​อุปกรณ​สำหรับ​ทำ​วิทยานิพนธ​ และ​การ​ฝกงาน​ของ​นิสิต​ ​ สถาบันฯ​ ​ได​ตระหนักถึง​ความ​ สำคญั ​ของป​ ญหา​สิง่ แวดลอ มจ​ ากก​ ารด​ ำเนนิ งานเ​พอื่ ​เปน การ​สราง​คณุ ภาพชวี ิตท​ ด​่ี ใี​น​การ​ทำงาน​ของ​บคุ ลากร​จงึ ​ มนี​ โยบาย​ท่ีจะป​ รับปรุง​การ​ทำงาน​ในท​ ุกๆ​ดานท​ ​่มี ผี​ ลกระทบต​ อ​สงิ่ แวดลอ มอ​ ยา งต​ อเนอ่ื ง 67

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา การดำเนินงานในปงบประมาณ 2550 สถาบนั ฯ​ไดร บั ก​ ารร​ บั รองม​ าตรฐานร​ ะบบก​ ารจ​ ดั การส​ งิ่ แวดลอ ม​​ISO​14001​:​2004​​ตง้ั แตป​ ง บประมาณ​ พ.ศ.​2548​สำหรบั ใ​นป​ ง บประมาณ​พ.ศ.​2550​สถาบนั ฯ​ไดด​ ำเนนิ การต​ ามแ​ ผนการป​ ระกนั ค​ ณุ ภาพ​สรปุ พ​ อสงั เขป​ ดังนี้ 1.​การป​ รับปรุงเ​อกสาร​​ให​ส อดคลอ งกับข​ อ กำหนด 2.​การ​ตรวจ​ตดิ ตามค​ ณุ ภาพภ​ ายใน​​จำนวน​​2​​ครั้ง ​ -​ครงั้ ท​่ี ​1​​เมอ่ื ว​ นั ท​ี่ ​19​–​23​​​เมษายน​​2550 ​ -​ครั้งท​ี่ ​2​​เมือ่ ว​ นั ท่​ี ​16​–​17​​​สงิ หาคม​​2550 3.​การต​ รวจป​ ระเมนิ คณุ ภาพเ​พื่อร​ บั รองร​ ะบบก​ ารจ​ ดั การ​ดาน​สิ่งแวดลอม​ISO​14001:2004​ ​ 3.1 การตรวจประเมนิ คุณภาพโดยบรษิ ัท TÜV Rheinland Group ​ ​ สถาบนั ฯ​รบั ก​ าร​ตรวจ​ประเมินคณุ ภาพ​ระบบก​ าร​จัดการด​ าน​สิ่งแวดลอ ม​ISO14001​:​2004​ ประจำ​ปงบประมาณ​ พ.ศ.​ 2550​ เมื่อ​วันท่ี​ 12​ กันยายน​ 2550​ ผล​การ​ตรวจ​พบ​ส่ิง​ไม​เปนไป​ตามขอกำหนด​เพียง​ เลก็ นอ ย​โดย​สถาบนั ฯ​ไดด​ ำเนินการ​แกไ ขแ​ ละไ​ดรบั ​การ​รบั รอง​จาก​บรษิ ัท​TÜV​Rheinland​Group​เรียบรอยแ​ ลว 68

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา โครงการเดน ในรอบป 1. สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล ไดร ับการยกยอ งใหเปน “แหลง การเรียนรตู ลอดชีวติ ตน แบบ” จาก สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ความเปนมา ตามที่​สำนัก​มาตรฐาน​การ​ศึกษา​และ​พัฒนาการ​เรียนรู​ สำนักงาน​เลขาธิการ​สภา​การ​ศึกษา​ได​จัดทำ​ โครงการวิจัย​เพื่อ​พัฒนา​นโยบาย​สงเสริม​การ​เรียนรู​ตลอดชีวิต​ โดย​มี​คณะกรรมการ​สรรหา​แหลง​การ​เรียนรู​เพ่ือ​ ยกยอง​ให​เปน​แหลง​การ​เรียนรู​ตลอดชีวิต​ตนแบบ​ที่​มี​การ​จัด​กระบวนการเรียนรู​ ​ ได​อยางมีประสิทธิภาพ​ ​ เพื่อ​ เปนตน แบบ​ให​แหลง ก​ าร​เรยี นร​อู ื่นๆ​​ไดศ​ กึ ษา​แลกเปลยี่ นแ​ นวท​ างการ​พัฒนาใ​นก​ ารเ​ปน แ​ หลง ก​ าร​เรยี นรท​ู สี​่ มบูรณ​ ดา น​ตา ง​ๆ​และเ​ปน แ​ หลง ​การ​เรยี นรูต​ ลอดชีวิต​ตนแบบ จาก​ภาระหนาท่ี​ของ​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ ซึ่ง​มี​หนาที่​หลัก​ใน​การ​เผยแพร​ความรู​ทาง​ดาน​ วทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​มาม​ ากกวา ​20​ป​ สง ผลให​ ดร.​วรเ​ทพ​ม​ ธุ ว​ุ รรณ​ผอู ำนวยการส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​ ไดจ​ ดั ทำโ​ครงการ​​สถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​“แหลง ก​ ารเ​รยี นรต​ู ลอดชวี ติ ต​ น แบบ”​​เพอ่ื ข​ อเ​ขา ร​ บั ก​ ารพ​ จิ ารณา​ เปน​“แหลง ก​ ารเ​รียนรูต​ ลอดชีวติ ต​ นแบบ”​​ดังกลาว ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ ดร.​วรเ​ทพ​​ม​ ธุ ว​ุ รรณ​​ผอู ำนวยการ​สถาบัน​วทิ ยาศาสตร​ทางทะเล ระยะเวลาในการจัดทำโครงการ ประมาณ​​พฤษภาคม​​2550​–​กรกฎาคม​​2550 กจิ กรรมของโครงการ กิจกรรม​ท่ี​ดำเนิน​ใน​โครงการ​ ​ ประกอบดวย​ ​ การ​จัดแสดง​และ​การ​เปด​ให​เขา​ชม​สถาบัน​วิทยาศาสตร​ ทางทะเล​ทั้ง​2​สว น​ไดแ ก 1.​​สถาน​เล้ยี งส​ ัตวน​ ้ำเค็ม​​เปน การ​จำลองใ​ห​เห็นถ​ ึงค​ วาม​เปน อยข​ู อง​พชื แ​ ละ​สัตว​ทีม่​ ​ชี ีวิตใ​นท​ ะเล​​เชน ​ สตั ว​ท ะเลใน​แนวป​ ะการงั ​​สัตว​ทะเลในเ​ขตน​ ำ้ ขึ้น​น้ำลง​​เปน ตน 2.​​พพิ ิธภณั ฑ​ว ิทยาศาสตร​ทางทะเล​​เปนส​ ว น​จัดแสดงใ​นร​ ูปแบบข​ อง​พพิ ิธภัณฑ​ท่ี​เปน ​นิทรรศการ​และ​ แบบจำลอง​เกย่ี วกับ​วทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​ในดา นต​ าง​ๆ​เชน ​​พืช​และ​สัตว​ท ะเล​​ระบบ​นเิ วศวทิ ยา​ตาง​ๆ​เครื่องมอื ​ ประมง​​โบราณคด​ใี ตน​ ้ำ​​เปน ตน 3.​​การใ​หบรกิ าร​ทางวชิ าการ​นอกจาก​การ​ให​ความรใ​ู นส​ วน​ของ​สถานเ​ลี้ยง​สตั วน​ ้ำเค็มแ​ ละ​พิพิธภณั ฑ​ วิทยาศาสตร​ทางทะเล​แลว​ สถาบันฯ​ ยังมี​การ​ใหบริการ​วิชาการ​อ่ืน​อีก​ เชน​ กิจกรรม​ดาน​การ​อนุรักษ​ทรัพยากร​ ทางทะเล​การจ​ ดั โ​ครงการค​ า ยว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​การจ​ ดั โ​ครงการค​ า ยอ​ นรุ กั ษท​ รพั ยากรท​ างทะเล​ใหแ​ กเ​ ยาวชน​ ท่ีมา​เขารวม​โครงการ​ เปนตน​ รวมทั้ง​การ​ให​ขอมูล​เก่ียวกับ​วิทยาศาสตร​ทางทะเล​แก​บุคคล​ทั่วไป​ที่​ตองการ​ขอมูล​ เชน ​ชวี วทิ ยาข​ อง​สตั ว​และ​พืชท​ ะเล​การเ​พาะเลี้ยงส​ ตั ว​ทะเล​การ​เลย้ี งป​ ลา​สวยงาม​​เปน ตน 69

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา ผลทีเ่ กิดจากความสำเรจ็ จากผ​ ลงานท​ ส​ี่ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตรท​ างทะเล​​มหาวย​ิ าล​ ยั บ​ รู พา​​ไดด​ ำเนนิ ก​ จิ กรรมม​ าก​ วา ​20​ป​ ​ในก​ าร​ สง เสรมิ แ​ ละพ​ ฒั นาค​ วามร​ู ​ใหแ​ ก​ เดก็ ​เยาวชน​คร​ู อาจารย​ ตลอดจนผ​ ส​ู นใจท​ วั่ ไป​จงึ ส​ ง ผลใหส​ ถาบนั ว​ ทิ ยาศาสตร​ ทางทะเล​​ไดร บั ​การ​คดั ​เลอื กใหเ ปน ​​1​​ในแ​ หลง ​เรียนรต​ู ลอดชีวิตต​ น แบบ ภาพกจิ กรรมในโครงการ ดร. วรเทพ มุธวุ รรณ ผูอ ำนวยการสถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล เขา รับรางวลั “แหลงการเรียนรู ตลอดชีวติ ตนแบบ” จาก ดร. วรากรณ สามโกเศศ รัฐมนตรีชวยวา การกระทรวงศึกษา เม่อื วนั ที่ 9 สิงหาคม 2550 2. โครงการสมั มนาสถานแสดงพนั ธสุ ตั วน้ำ ครง้ั ท่ี 2 การจัดการสถานแสดงพันธสุ ตั วน้ำ ปญ หา และ อุปสรรคในการดำเนนิ การ การ​สัมมนา​สถาน​แสดง​พันธุ​สัตวน้ำ​น้ี​ตอ​เนื่องมาจาก​การ​จัดการ​ประชุม​และ​สัมมนา​คร้ังท​ี่ 1​เมื่อ​วันท่ี​ 2-4​พฤษภาคม​2549​เร่อื ง​“การจ​ ัดแสดง​พนั ธสุ​ ัตวน้ำ​คร้งั ที่​1”​โดยม​ ส​ี ถาบันว​ จิ ัยและพัฒนาท​ รพั ยากร​ทางทะเล​ ชายฝง ทะเล​และป​ า ชายเลน​จงั หวดั ภ​ เู กต็ ​เปน เ​จา ภาพซ​ ง่ึ ใ​นค​ รง้ั นนั้ ไ​ดม​ ผ​ี เ​ู ขา ส​ มั มนาแ​ ละอ​ ภปิ รายเ​กย่ี วกบั ​บทบาท​ และ​ความ​สำคญั ข​ องส​ ถานแ​ สดง​พันธ​ุสัตวนำ้ ​ระบบน​ ้ำ​ใน​สถานแ​ สดง​พันธุส​ ตั วนำ้ ​และ​การ​จัดน​ ทิ รรศการแ​ ละก​ าร​ สง เสรมิ ​องคค วามรู”​รวมท้งั ม​ ี​การ​อภิปราย​กลมุ ​เก่ียวกบั ​“แนวท​ างการ​ดำเนนิ งานส​ ถานแ​ สดง​พนั ธุส​ ัตวน ำ้ ก​ ับ​การ​ อนุรักษ​สัตว​ทะเล​สวยงาม”​ และ​ “เครือขาย​ความ​รวมมือ​ในอนาคต​เก่ียวกับ​การ​จัดการ​สถาน​แสดง​พันธุ​สัตวน้ำ​ นอกจากนย​้ี งั มก​ี ารบ​ รรยายใ​นเรอื่ งทเ​ี่ กย่ี วขอ งก​ บั ส​ ตั วน ำ้ ส​ วยงามแ​ ละก​ ฎหมายแ​ ละร​ ะเบยี บท​ เ​ี่ กยี่ วขอ ง​เพอื่ ใหเ​ กดิ ก​ าร​ พัฒนาค​ วามรูความเขาใจท​ ​่ถี ูกตอง​เกยี่ วกบั ส​ ถาน​แสดง​พนั ธุ​สัตวน ้ำห​ รือ​“Public​Aquarium”​อยา ง​ตอ เนื่องส​ ถาบนั ​ วิทยาศาสตร​ทางทะเล​ มหาวิทยาลัยบูรพา​ จึง​รับ​เปน​เจาภาพ​ใน​การ​จัดการ​ประชุม​สัมมนา​ เรื่อง​ “การ​จัดแสดง​ พันธส​ุ ตั วนำ้ ​ครั้งที่​2”​ขึ้น​ณ​สถาบนั ​วทิ ยาศาสตร​ทางทะเล​มหาวทิ ยาลยั บูรพา​ใน​ระหวา งว​ ันท่​ี 10-11​กันยายน​ 2550​ โดย​เปนการ​สัมมนา​เกี่ยวกับ​ “การ​จัดการ​สถาน​แสดง​พันธุ​สัตวน้ำ​ ปญหา​และ​อุปสรรค​ใน​การ​ดำเนินการ”​ เพ่ือ​เปนการ​แลกเปลี่ยน​ประสบการณ​ ทั้ง​ใน​สวน​ที่​เปน​สถาน​แสดง​พันธุ​สัตวน้ำ​ทั้ง​ภาครัฐ​และ​เอกชน​รวมท้ัง​ผู​ที่​มี​ กิจกรรม​ท่ี​เก่ียวของ​กับ​การ​จัดแสดง​ใน​สถาน​แสดง​พันธุ​สัตวน้ำ​ และ​ยัง​เปนการ​พัฒนา​ความรูความเขาใจ​ท่ี​ถูกตอง​ เกย่ี วกบั ก​ ารจ​ ดั การ​ใน​สถาน​แสดง​พันธุส​ ตั วน ้ำ ซึ่ง​การ​ประชุม​ใน​คร้ังนี้​ได​มี​ตัวแทน​ทั้ง​จาก​สถานแสดง​พันธุสัตว​น้ำ​ ท้ัง​จาก​ภาครัฐ​ เอกชน​และ​ ผปู ระกอบการท​ เ​่ี กยี่ วขอ งม​ าเ​ขา รว มเ​ปน จ​ ำนวน​​78​​คน​​สรปุ ป​ ระเดน็ ป​ ญ หาท​ ท​่ี ง้ั ภ​ าครฐั แ​ ละเ​อกชนเ​สนอใ​นท​ ปี่ ระชมุ ​ ไดแ ก 70

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา 1.​การ​บรหิ าร​จดั การ​ทดี​่ ต​ี ัง้ แตเ​ริ่มตน ​โครงการ​เชน​ -​​เรอื่ งข​ องก​ ารอ​ อกแบบส​ ถานแสดงพ​ นั ธสุ ตั วน ำ้ ​และก​ ารก​ อ สรา ง​รวมถงึ ค​ วามร​ คู วามช​ ำนาญข​ อง​ บรษิ ทั ​กอสราง -​​การเ​ลือกใ​ช​วสั ดุ​ใน​ระบบ​ยังชพี -​​ระบบไ​ฟฟา ​ของ​โครงการ 2.​บุคลากร​ท่มี​ ีความร​ู ความช​ ำนาญใ​น​การ​ดูแล 3.​งบป​ ระมาณการ​บริหารงาน​โดยท​ าง​ภาครฐั ​ไมม ง​ี บประมาณใ​น​การจ​ ดั การท​ เ​ี่ พยี งพอ​​เ​ปนตน นอกจากนท​ี้ างผ​ เู ขา รว มส​ มั มนาย​ งั ไ​ดเ​ สนอแ​ นวความคดิ ใ​หม​ ก​ี ารจ​ ดั ตงั้ ช​ มรมฯ​ขน้ึ ​เพอื่ เ​ปน แ​ หลง ก​ ระจาย​ ขาวสาร​ตางๆ​ และ​ชวยเหลือ​สถานแสดงพันธุ​สัตวน้ำ​ทั่วประเทศ​ และ​ขอให​มี​การ​จัดทำ​เวบไซด​ เช่ือมโยง​สถาน​ แสดงพนั ธุส ัตวนำ้ ​ตางๆ​และ​เปนการเ​ผยแพรค​ วามรู​ท​่ีทนั สมยั ต​ ลอดเวลา​อกี ดวย 71

สรุปภาพกจิ กรรมในรอบปงี บประมาณ 2550 (ตุลาคม 2549 – กันยายน 2550) $QQXDO5HSRUW ,QVWLWXWHRI

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา สรปุ ภาพกิจกรรมในรอบปีงบประมาณ 2550 (ตุลาคม 2549 – กันยายน 2550) สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล จดั กจิ กรรมวันเด็กแห่งชาติ เมอ่ื วนั ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล จัดอบรมการระงับอัคคีภัยเบื้องต้น เมอื่ วันท่ี 12 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2550 คณะกรรมการและพนักงานโครงการร้านค้าสถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล 73 ศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนจีน (ฮ่องกง-เซ้นิ เจน้ิ ) เม่ือวนั ท่ี 27 กมุ ภาพันธ์ – 1 มนี าคม พ.ศ. 2550

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล จัดกิจกรรมโครงการคา่ ยวิทยาศาสตร์ทางทะเล สำหรบั เยาวชน ครง้ั ท่ี 22 เมื่อวนั ท่ี 2 - 6 เมษายน พ.ศ. 2550 สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล จัดบรรยายทางวชิ าการโดยนกั วทิ ยาศาสตรโ์ ครงการความรว่ มมอื กับ ประเทศสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนจีน เมือ่ วันท่ี 28 มถิ ุนายน พ.ศ. 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล จดั กิจกรรมวนั คลา้ ยวันสถาปนาสถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล เม่ือวันท่ี 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 74

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล จัดโครงการพฒั นาบคุ ลากร เรื่อง ความก้าวหนา้ ของ บคุ ลากรสถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเลกับการเข้าสตู่ ำแหน่งผ้ชู ำนาญการ และผเู้ ช่ยี วชาญ เม่อื วนั ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล จดั กจิ กรรมโครงการค่ายวทิ ยาศาสตรก์ ับการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติ ทางทะเล สำหรับเยาวชน เมอ่ื วันท่ี 3 - 5 สิงหาคม พ.ศ. 2550 สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล ร่วมจัดกิจกรรมทางวิชาการกับโรงเรยี นชลกันยานุกลู เม่ือวันที่ 7 – 8 สงิ หาคม 2550 75

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล จัดโครงการส่งเสริมการพฒั นา คณุ ธรรม จริยธรรม ของบุคลากรสถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล เมือ่ วนั ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล จดั การสมั มนาสถานแสดงพันธสุ์ ตั วน์ ำ้ ครัง้ ท่ี 2 เมื่อวันท่ี 10 - 11 กนั ยายน พ.ศ. 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท์ างทะเล รบั การตรวจประเมิน ISO 14001 : 2004 จากบรษิ ัท TÜV Rheinland Group เมื่อวนั ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2550 76

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ภาค​ผนวก $QQXDO5HSRUW 77 ,QVWLWXWHRI

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา การตรวจหาชนิดและปรมิ าณกรดไขมนั ในฟองนำ้ และแบคทีเรียท่อี าศัยอยใู่ นฟองนำ้ ทะเลบางชนิด ปยิ ะวรรณ ศรวี ิลาศ รวิวรรณ วฒั นดิลก และกานตพ์ ชิ ชา ใจดี สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา อ. เมือง จ. ชลบรุ ี 20131 บทคัดย่อ จากการศึกษาหาชนิดและปริมาณกรดไขมันในฟองน้ำทะเลบริเวณจังหวัดจันทบุรีและตราด โดยเก็บ ตัวอยางเดือนกุมภาพันธ์ 2549 - พฤษภาคม 2549 สกัดหาปริมาณไขมันรวมดวยวิธีของ Bligh&Dyer ทำการ แยกกลมุ ของไขมนั ในตวั อยางฟองน้ำดวยเทคนิคคอลมั นโ์ ครมาโทรกราฟฟเปน กลุมไขมันไมมีข้วั (non polar lipid: NL) และกลมุ ไขมนั ทม่ี ขี ว้ั (polar lipid:PL) จากนน้ั หาชนดิ และปรมิ าณกรดไขมนั ดว ย GC/FID ผลการศกึ ษาพบปรมิ าณ ไขมันรวมอยใู นชวง 0.3-1.8% ,0.15-1.34% กลมุ ไขมนั ไมมขี ้ัวอยใู นชว ง 51.5-61.8%, 33.3-86.2% และกลมุ ไขมนั มีขั้วอยใู นชว ง 21.6-38.4%,11.3-53.3% โดยพบ C16:0, C18:1n9, C18:1n7 และ C16:3n4 เปนองคป์ ระกอบหลกั ของกรดไขมัน และกรดไขมันทจี่ ำเปน สำหรับสัตว์นำ้ วัยออ น Eicosapentaenoic acid, EPA (20:5n3, 11.85% ในชน้ั ไขมนั ไมมขี วั้ ) และDocosahexsaenoic acid, DHA (22:6n3, 19.63% ในชน้ั ไขมันทมี่ ขี ้วั ) ตรวจพบในตัวอยา งฟองนำ้ order Hadromerida เกาะกดู จงั หวดั ตราด จากการศกึ ษาหาชนดิ และปรมิ าณกรดไขมนั ของเชอ้ื แบคทเี รยี ทคี่ ดั แยก เช้อื จากฟองน้ำทเ่ี กบ็ จากจังหวัดชลบุรี พบวา มีองค์ประกอบกรดไขมนั ที่คลา ยกนั โดยพบกรดไขมนั palmitic acid (C16:0), palmitoleic acid (C16:1) linoleic acid (C18:2) เปนองคป์ ระกอบหลักของกรดไขมนั และ linoleic acid (C18:2n6) เปนกรดไขมันท่ีตรวจพบปริมาณสูงสุดปริมาณรอยละ 92.55 ของกรดไขมันโดยรวม และตรวจไมพบ กรดไขมนั ท่จี ำเปน EPA และ DHA ในตัวอยางเช้อื ทีท่ ำการศึกษา การแพร่กระจายและความชกุ ชมุ ของแพลงก์ตอนสัตวบ์ รเิ วณชายฝ่ังทะเลภาคตะวนั ออก​ปี​2548 ขวญั เรือน ศรีนยุ สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บรู พา บทคัดย่อ ศึกษาการแพรกระจายและความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณปากแมน้ำของชายฝงทะเลภาค ตะวนั ออกในเดือนมีนาคม 2548 (ฤดูแลง ) และในเดอื นตลุ าคม 2548 (ฤดฝู น) พบแพลงกต์ อนสตั วท์ ั้งสิน้ 15 ไฟลัม 42 กลุม ในฤดูแลงมีความชุกชุมของแพลงก์ตอนสัตว์มากกวาฤดูฝน โดยมีไฟลัม Arthropoda เปนชนิดเดน รอง ลงมาคอื Annelida, Chordata และ Chaetognatha ตามลำดับ ในฤดูฝนแพลงกต์ อนสัตวท์ ่ีชกุ ชมุ เปน ชนิดเดนไดแ ก ไฟลมั Arthropoda รองลงมาคอื Chordata, Chaetognatha และ Mollusca ตามลำดบั สวนโคพีพอดในฤดูแลงพบ 4 อันดับยอ ย 30 ชนิด อนั ดับยอ ยที่พบไดแก Calanoida, Cyclopoida, Harpacticoida และ Poecilostomatoida ชนิด ของโคพีพอดท่ีเปนชนิดเดนในฤดูแลงไดแก Paracalanus crassirostris, Oithona simplex, Bestiolina similis และ Oithona aruensis ตามลำดบั ในฤดฝู นชนดิ ทีพ่ บมากทีส่ ดุ ไดแ ก Nauplius copepods, immature Paracalanus และ immature Oithona ตามลำดบั 78

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ผลข​ อง​ปริมาณ​ไนโตรเจนท​ ​่ีใช​ใน​การเ​พาะเล้ียงส​ าหรา่ ย​(Isochrysis galbana)​ต่อป​ ริมาณ​องคป์ ระกอบ​ทาง​ เคม​ีของ​สาหรา่ ย​และอ​ ัตรา​การเ​จรญิ เติบโตอ​ ตั ราก​ าร​รอด​ของ​ลกู ปลาก​ ารต์ ูนว​ ัยอ​ ่อน อมรรตั น์ ชมรงุ จารนุ ันท์ ประทุมยศ และปิยะวรรณ ศรวี ิลาศ สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา บ​ ทคัดย่อ ศึกษาคุณคาทางอาหารของโคพีพอด พบวาโคพีพอดที่เพ่ิมคุณคาทางอาหารดวยสาหราย Isochrysis galbana ซง่ึ เจรญิ เตบิ โตในอาหารเหลวทมี่ ธี าตไุ นโตรเจน 2000 มลิ ลโิ มล มปี รมิ าณโปรตนี สงู สดุ คอื 65.74 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของนำ้ หนกั แหง ไขมนั พบในปรมิ าณสงู ทโี่ คพพี อดในชดุ ทดลอง 2500 มลิ ลโิ มล คอื 6.22 เปอรเ์ ซน็ ตข์ องนำ้ หนกั แหง คารโ์ บไฮเดรตพบสงู สดุ ในชุด 3000 มลิ ลิโมล (14.59 เปอรเ์ ซ็นตข์ องนำ้ หนกั แหง ) เยอื่ ใยในโคพีพอดพบมากสุดในชดุ ทดลองที่เปน ชดุ การทดลอง 500 มิลลโิ มล คอื 5.11 เปอร์เซน็ ต์ของ น้ำหนักแหง สว นปรมิ าณของเถาพบมาในการทดลอง 3000 มิลลิโมล คือ 24.94 เปอร์เซ็นต์ของนำ้ หนกั แหง โรติ เฟอรท์ เี่ พมิ่ คณุ คา ทางอาหารดว ยสาหรา ย Isochrysis galbana พบวา มปี รมิ าณของกรดไขมนั รวมสงู สดุ ในชดุ ทดลอง 2000 และ 3000 มลิ ลิโมล (97.72 เปอร์เซน็ ต์ของกรดไขมัน) กรดไขมันกลุม n – 3 PUFA มีปริมาณสูงในโคพีพ อดท่เี พ่มิ คุณคา ทางอาหารดวย Isochrysis galbana ซึ่งเจรญิ เติบโตในอาหารเหลว Guillards “f/2” ทมี่ ีธาตุอาหาร ไนโตรเจน 2000 มลิ ลิโมล (21.77 เปอร์เซ็นตข์ องกรดไขมนั ) กรดไขมนั กลุม n – 3 HUFA มีปรมิ าณสงู ในโคพีพ อดทเี่ พิม่ คุณคาทางอาหารดว ย Isochrysis galbana ซึ่งเจรญิ เตบิ โตในอาหารเหลว Guillards “f/2” ทมี่ ธี าตอุ าหาร ไนโตรเจน 2500 มิลลิโมล (16.60 เปอร์เซ็นต์ของกรดไขมัน) กรดอะมิโน ในโคพีพอดพบปริมาณของกรดอะมิโน รวมสูงสุดในชดุ ควบคุมการทดลองคอื 36.16 เปอรเ์ ซ็นตข์ องน้ำหนกั แหง และพบกรดอมิโนท่ีจำเปนตอสตั วน์ ้ำสงู ในชดุ ทดลอง 1500 มลิ ลิโมล (15.00 เปอร์เซน็ ตข์ องน้ำหนกั แหง) โครงการ​เฝาระวงั ​และก​ าร​วางแ​ นวทางป​ อ งกนั ก​ ารเ​กดิ ​ปรากฏการณ​ข์ ้​ีปลาวาฬ​ 79 ในบ​ รเิ วณ​ชายฝงั่ ทะเล​จังหวัดช​ ลบุรี พิชัย สนแจง แววตา ทองระอา ฉลวย มสุ กิ ะ ธดิ ารัตน์ นอ ยรักษา ขวัญเรอื น ศรีนุย วนั ชยั วงสดุ าวรรณ สเุ มตต์ ปจุ ฉาการ อาวธุ หมน่ั หาผล อัจฉรี ฟูปิง และ สพุ ตั รา ตะเหล็บ สถาบันวทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา จ. ชลบุรี 20131 บทคัดยอ่ การเฝาระวังและติดตามการเกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬในบริเวณชายฝงทะเลจังหวัดชลบุรีต้ังแต ปากแมน้ำบางปะกง ถึง เกาะสีชัง ซ่ึงเปนบริเวณที่มีรายงานการเกิดปรากฏการณ์ดังกลาวบอยครั้งในชวง ระยะเวลาทผ่ี า นมา มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงคณุ ภาพนำ้ และคณุ ภาพดนิ ตะกอนบางประการ ศกึ ษา องคป์ ระกอบชนดิ ความชกุ ชมุ และการกระจายของแพลงกต์ อนพชื และแพลงกต์ อนสตั วเ์ นน ในกลมุ ทก่ี อ ใหเ กดิ ปรากฏการณ์ ขป้ี ลาวาฬ และความสมั พนั ธก์ บั ปจ จยั สง่ิ แวดลอ มบางประการ รวมทง้ั แนวทางปอ งกนั การเกดิ ปรากฏการณด์ ังกลาว ทำการศึกษาในระหวางเดอื นมกราคม-ธนั วาคม 2548 (23 คร้ัง) และเดอื นมกราคม-ตลุ าคม 2549 (4 ครงั้ ) รวม สำรวจทง้ั หมด 27 ครง้ั จำนวน 13 สถานี ผลการศึกษา พบวาคุณภาพน้ำมีคาอยูในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำชายฝงทะเลของไทย ยกเวน ออกซเิ จนละลาย อณุ หภมู ิ และแอมโมเนยี บางสถานที มี่ คี า เกนิ เกณฑม์ าตรฐานในชว งทเ่ี กดิ ปรากฏการณข์ ป้ี ลาวาฬ สารอาหารไนเตรต ฟอสเฟต และซลิ เิ กตในนำ้ รวมทงั้ สารอนิ ทรยี ท์ ลี่ ะลายนำ้ พบสงู ในบรเิ วณปากแมน ำ้ บางปะกง- อาวชลบุรี และลดต่ำลงในสถานไี กลจากปากแมนำ้ ลงไปจนถงึ เกาะสชี ัง สวนสารอาหารในดินตะกอนนัน้ พบสงู ใน บรเิ วณปากแมน ำ้ บางปะกงเชน เดยี วกนั การสำรวจแพลงกต์ อนพชื นน้ั พบวา กลมุ ไดอะตอมมกี ารกระจายทกุ สถานี และมคี วามหนาแนนสงู สุดทุกครงั้ ทส่ี ำรวจประมาณรอ ยละ 90 ของแพลงก์ตอนพืชทง้ั หมด

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา การสำรวจการเกิดปรากฏการณข์ ป้ี ลาวาฬ พบวา เกดิ บอ ยครง้ั ในระดบั ความรนุ แรงตา งๆ กนั ในป 2548 เกดิ ขน้ึ เกอื บตลอดทง้ั ป ทำใหป ลาและสตั วน์ ำ้ ตาย 3 ครง้ั และในเดอื นสงิ หาคม เกดิ ตอ เนอ่ื งเปน ระยะเวลานานตลอดทง้ั เดอื น ในป 2549 สว นใหญเ กดิ ในระดบั ทไ่ี มร นุ แรง แตพ บ 1 ครง้ั ทท่ี ำใหป ลาและสตั วน์ ำ้ ตายจำนวนมาก ปรากฏการณ์ ดงั กลา วเกดิ ขน้ึ ในชว งตน ฤดรู อ น ตน ฤดฝู น และฤดฝู น แพลงกต์ อนพชื ทเ่ี ปน สาเหตทุ ำใหเ กดิ ปรากฏการณด์ งั กลา ว ได แก แพลงกต์ อนพชื กลมุ ไดโนแฟลกเจลเลต Noctiluca scintillans เปน สว นใหญ ในบางครง้ั พบเปน สาเหตุเกดิ รว มกบั Ceratium spp. รวมทง้ั แพลงกต์ อนพชื กลมุ ไดอะตอม Skeletonema costatum และ Chaetoceros spp. ปรากฏการณข์ ้ี ปลาวาฬ อนั มสี าเหตจุ าก Noctiluca (> 100 เซลล/์ ลติ ร) และ Ceratium (> 50,000 เซลล/์ ลติ ร) พบทค่ี วามเคม็ ระหวา ง 2 1-35 และ 25-35 สว นในพนั สว น ตามลำดบั โดยเฉพาะท่ี Noctiluca หนาแนน สงู สดุ นน้ั (19,312 เซลล/์ ลติ ร) พบทค่ี วาม เคม็ 30 สว นในพนั สว น สำหรบั Skeletonema และ Chaetoceros (> 100,000 เซลล/์ ลติ ร) พบทค่ี วามเคม็ ระหวา ง 1-3 1 และ 10-35 สว นในพนั สว น ตามลำดบั การศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา งความหนาแนน ของแพลงกต์ อนพชื ทเี่ ปน สาเหตขุ องการเกดิ ปรากฏการณ์ กับปจจัยสิ่งแวดลอมและการเปรียบเทียบสารอาหารในน้ำท่ีพบในชวงที่เกิดปรากฎการณ์และในภาวะปกติ พบวา ฟอสเฟตและสารอินทรีย์ที่ละลายน้ำ เปนปจจัยสำคัญท่ีกอใหเกิดปรากฏการณ์ข้ีปลาวาฬรวมกับระดับความเค็ม ที่เหมาะสมดังกลาวขางตน โดยแหลง ของฟอสเฟตและสารอินทรีย์ท่ีละลายน้ำมาจากกจิ กรรมตา งๆ บรเิ วณปาก แมน ำ้ บางปะกงและสถานใี กลเ คยี งทอ่ี ยถู ดั ลงมา เนอ่ื งจากพบปรมิ าณสงู ในบรเิ วณดงั กลา ว รวมทง้ั ฟอสเฟตบางสว น อาจมาจากกระบวนการธรรมชาตจิ ากการปลดปลอ ยของฟอสฟอรสั ในดนิ ตะกอนทอ่ี ยใู นรปู ของสารประกอบของเหลก็ และอลมู นิ มั ซง่ึ พบมากในบรเิ วณปากแมน ำ้ บางปะกงอกี ดว ย นอกจากน้ี การศกึ ษาความสมั พนั ธก์ บั แพลงกต์ อนสตั ว์ พบวา Noctiluca มีความสัมพันธ์ในทางเดียวกันกับไขปลา และโปรโตรซัว Favella spp. แตไมพบความสัมพันธ์ใดๆ กับ ลกู ปลา และโคพีพอด ปรากฏการณข์ ปี้ ลาวาฬเปน ปรากฏการณธ์ รรมชาตทิ มี่ คี วามซบั ซอ นตอ งอาศยั ความรว มมอื ของหลาย ฝา ยในการจดั การการแกไ ข เนอ่ื งจากสารอาหารและของเสยี ตา งๆ ทถี่ กู พดั พาจากบรเิ วณปากแมน ำ้ บางปะกงและ แมน ำ้ สายอน่ื ๆ ในบรเิ วณอา วไทยตอนบนมาจากหลายแหลง ดงั นน้ั การจดั การการแกไ ขและปอ งกนั การเกดิ จงึ ไมใ ช เปนปญหาในระดบั ทองถนิ่ หรือจังหวัดเพียงอยางเดยี ว แตเปน ปญหาในระดับชาติท่ีตอ งอาศัยการประสานงานกัน ขององค์กรท่ีเก่ียวของทั้งหนวยงานภาครัฐและเอกชน รวมทั้งประชาชนโดยเฉพาะผูท่ีเกี่ยวของ เชน ชาวประมง หรอื ผปู ระกอบการการเพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ้ เปน ตน มารว มมอื กนั ในการจดั การ วางนโยบาย รวมทง้ั การออกกฎหมาย ที่เกี่ยวของเพื่อนำไปสูการปฏิบัติ และท่ีสำคัญยังคงตองมีการติดตามและตรวจเฝาระวังการเกิดปรากฏการณ์ ข้ีปลาวาฬอยูเสมอทั้งในชวงท่ีเกิดปรากฏการณ์และในภาวะปกติ ซ่ึงการตรวจติดตามดังกลาว ควรมีการศึกษา ถึงการเปล่ียนแปลงองค์ประกอบชนิด และความหนาแนนของแพลงก์ตอนพืชแตละชนิดโดยเฉพาะกลุมที่สามารถ สรา งสารชวี พษิ รวมทงั้ ปจ จยั สงิ่ แวดลอ มตา งๆ ในบรเิ วณทท่ี ำการศกึ ษาและกจิ กรรมของมนษุ ยท์ เ่ี กย่ี วขอ งกบั การ ใชป ระโยชนจ์ ากทรัพยากรบนฝง ประกอบดว ย 80

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา การแยกเชือ้ และการจำแนกสเตรปโตมยั ซีสจากดินชายฝง่ั ของเกาะชา ง​จงั หวดั ตราด รตั นาภรณ์ ศรวี บิ ลู ย์1 จริ วรรณ เพญ็ 2 ปรากรม ประยรู รตั น์ 2 1สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบรู พา ชลบุรี 20131 2ภาควชิ าชวี วิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ชลบรุ ี 20131 บทคดั ย่อ จากการแยกเชื้อแอคติโนมียซีทจากดินบนเกาะชา ง จังหวัดตราดจำนวน10 ตัวอยาง เพื่อคน หาสเตรป โตมยั ซสี ซง่ึ เปนแอคติโนมยั ซที สกลุ ที่พบวา มีการสรางสารแอนติไบโอติกมากท่ีสดุ โดยใชอาหาร Starch Casein Agar พบแอคตโิ นมยั ซที รวมทง้ั หมด 175 ไอโซเลต จากการตรวจสอบโดยใชว ธี ที างสณั ฐานวทิ ยารวมทง้ั วธิ ที างเคมี คอื วเิ คราะหช์ นดิ ของกรดไดอะมโิ นไพมลิ คิ และนำ้ ตาลทพ่ี บในการยอ ยสลายเซลลท์ ง้ั เซลล์ (whole-cell hydrolysate) สามารถจำแนก Streptomyces ได 30 ไอโซเลต และจดั แบง กลมุ ตามสขี องสปอร์ (spore mass)ได 5 กลมุ สขี องสปอร์ สีเทาแยกเชื้อได 9 ไอโซเลต ไดแก Streptomyces 2-30, Streptomyces2-41, Streptomyces 6-17, Streptomyces 6-29, Streptomyces 6-38, Streptomyces 6-43, Streptomyces 6-57, Streptomyces 6-60 และ Streptomyces 7-21 สีของสปอรส์ ขี าวแยกเชือ้ ได 12 ไอโซเลต ไดแ ก Streptomyces 2-36, Streptomyces 2-43, Streptomyces 3-23, Streptomyces 3-28, Streptomyces 5-1, Streptomyces 5-6, Streptomyces 5-7, Streptomyces 5-14, Streptomyces 6-40, Streptomyces 9-11, Streptomyces 9-40 และ Streptomyces 10-6 สขี องสปอรส์ เี หลอื ง นำ้ ตาลแยกเชื้อได 4 ไอโซเลต ไดแก Streptomyces 5-9, Streptomyces 10-12, Streptomyces 10-14 และ Strep- tomyces 10-31 สีของสปอร์สแี ดง สม แยกเชอื้ ได 4 ไอโซเลต ไดแก Streptomyces 6-15, Streptomyces 7-18, Streptomyces 9-17 และ Streptomyces 10-8 และพบ Streptomyces ทมี่ สี สี ปอร์สเี ขียวดว ยอกี 1ไอโซเลต สถานการณค์ ณุ ภาพนำ้ ทะเลชายฝ่งั ภาคตะวนั ออก​ป​ี 2548 ฉลวย มสุ ิกะ วนั ชยั วงสดุ าวรรณ อาวธุ หมนั่ หาผล และแววตา ทองระอา สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา อ. เมือง จ. ชลบรุ ี 20131 บทคดั ยอ่ การศกึ ษาคณุ ภาพนำ้ ชายฝง ทะเลภาคตะวนั ออก ตง้ั แตป ากแมน ำ้ บางปะกง จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ถงึ ปากแมน ำ้ ตราด จงั หวดั ตราด ในพน้ื ทก่ี ารใชป ระโยชนค์ ณุ ภาพนำ้ ทะเลเพอ่ื การเพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ้ การวา ยนำ้ และบรเิ วณ แหลง อตุ สาหกรรม รวม 76 สถานี ใน 7 เขตพน้ื ท่ี โดยเกบ็ ตวั อยา งรวม 2 ครง้ั คอื ในฤดแู ลง (มนี าคม 2548) และฤดฝู น (ตลุ าคม 2548) คณุ ภาพนำ้ ทศ่ี กึ ษา ไดแ ก แอมโมเนยี ไนไตรท์ ไนเตรต ฟอสเฟต ซลิ เิ กต ออกซเิ จนละลาย อณุ หภมู ิ ความ เคม็ และความเปน กรด-ดา ง ผลการศกึ ษาพบวา นำ้ ทะเลมคี ณุ ภาพดี มคี า อยใู นเกณฑม์ าตรฐานคณุ ภาพนำ้ ทะเลชายฝง ของประเทศไทย ยกเวน ออกซเิ จนละลาย ในฤดแู ลง บรเิ วณปากแมน ำ้ บางปะกง และบางแสน มคี า ตำ่ กวา คา มาตรฐาน เมอ่ื เปรยี บเทยี บคณุ ภาพนำ้ ในแตล ะเขต พบวา เขตเพาะเลย้ี งสตั วน์ ำ้ ชายฝง บรเิ วณปากแมน ำ้ บางปะกง-อา งศลิ านำ้ ทะเลมี คณุ ภาพเสอ่ื มโทรมกวา เขตอน่ื อยา งมนี ยั สำคญั (p<0.05) และมแี นวโนม เสอ่ื มโทรมลงจาก 5 ปท ผ่ี า นมาเลก็ นอ ย ในขณะท่ี เขตอน่ื ๆคณุ ภาพนำ้ ใกลเ คยี งกนั และใกลเ คยี งกบั อดตี 81

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา ชนดิ ของปูนำ้ เคม็ ทพ่ี บท่ีท่าเทียบเรือประมงอ่างศลิ าและแหลมฉบงั ​จงั หวัดชลบุรี นริ มล แกวกณั หา1 และ นงนชุ ต้ังเกริกโอฬาร2 1สถาบนั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา ชลบรุ ี 20131 2ภาควิชาชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา ชลบุรี 20131 บทคดั ยอ่ ทำการศึกษาชนิดของปูน้ำเค็มท่ีทาเทียบเรือประมงอางศิลาและแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เพื่อใชเปน ตัวอยางอางอิงสำหรับงานศึกษาทางดานอนุกรมวิธานของปูน้ำเค็มท่ีพบบริเวณชายฝงทะเลในเขตจังหวัดชลบุรี โดยเก็บตัวอยางปูน้ำเค็มทุกเดือนจากทาเทียบเรือ 2 แหง ในจังหวัดชลบุรี คือ ทาเทียบเรือประมงอางศิลา และ ทา เทียบเรือประมงแหลมฉบัง ระหวา งเดือน กุมภาพันธ์ 2547 ถงึ มกราคม 2548 ตวั อยา งปูทไ่ี ดมาจากเรือประมง อวนลากทล่ี ากทค่ี วามลกึ นอ ยกวา 100 เมตร ทำการถา ยภาพสขี องตวั อยา งปู จากนน้ั ดองตวั อยา งปดู ว ยแอลกอฮอล์ 70 % แลวทำการจำแนกสปชีส์ โดยอาศัยลักษณะเดนที่สำคัญ ไดแก กระดองหรือคาราเปส (carapace) หนวด คูท่ี 2 (antenna) ฐานหนวดคทู ่ี 2 (basal antennal joint) รยางค์ปากคูท ี่ 3 (3thmaxiliped) ขาเดินคทู ่ี 1 หรือกา ม หนีบ (cheliped) ขาเดินคูท่ี 5 (5thpereiopod) สวนทอง (abdomen) และอวัยวะเพศผู (male gonopod) รวมท้ัง ลักษณะลวดลายและสีสนั ตางๆ บนกระดอง ตามหลักเกณฑก์ ารจำแนกตามวิธขี อง Sakai (1976) และ Aiyun & Siliang (1991) จากการศกึ ษา บริเวณทาเทียบเรอื อา งศลิ า พบปูทั้งสิ้น 9 ครอบครวั 19 สกุล 30 ชนิด และบรเิ วณ ทา เทียบเรือแหลมฉบงั พบปูทัง้ สิ้น 8 ครอบครัว 16 สกลุ 22 ชนิด รวมชนดิ ของปูน้ำเคม็ ที่พบท่ีทา เทียบเรือประมง ท้งั สองแหง ของจังหวัดชลบรุ ี มจี ำนวนทงั้ สนิ้ 9 ครอบครวั 20 สกลุ 34 ชนิด การก​ ระจายแ​ ละค​ วาม​ชุกชมุ ​ของแ​ พลงกต์ อนส​ ัตว​์บริเวณป​ ากแม่น้ำ​ ตลอดแ​ นว​ชายฝั่งทะเลภ​ าค​ตะวันออกข​ อง​ประเทศ​ไทย ขวญั เรือน ศรีนยุ สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา ต.แสนสขุ อ.เมือง จ.ชลบรุ ี 20131 บทคัดย่อ จากการศกึ ษาการกระจายและความชกุ ชมุ ของแพลงกต์ อนสตั วบ์ รเิ วณปากแมน ำ้ ตลอดแนวชายฝง ทะเล ภาคตะวนั ออกของประเทศไทยในเดอื นมนี าคม 2548 (ฤดแู ลง ) และในเดอื นตลุ าคม 2548 (ฤดฝู น) พบแพลงกต์ อน สตั วท์ ง้ั สนิ้ 15 ไฟลมั 42 กลมุ ในฤดแู ลง มคี วามชกุ ชมุ ของแพลงกต์ อนสตั วม์ ากกวา ฤดฝู น โดยฤดแู ลง พบ Arthropoda เปน ไฟลัมเดน รองลงมาคือ Annelida, Chordata และ Chaetognatha ตามลำดับ สำหรบั ฤดฝู นพบ Arthropoda เปน ไฟลมั เดน เชน เดยี วกนั รองลงมาคอื Chordata, Chaetognatha และ Mollusca ตามลำดบั และผลจากการศกึ ษาโคพพี อดในฤดแู ลง พบ 4 อนั ดบั ยอ ย จำแนกได 30 ชนดิ อนั ดบั ยอ ยทพ่ี บไดแ ก Calanoida, Cyclopoida, Harpacticoida และ Poecilostomatoida โคพีพอดชนิดเดน ที่พบในฤดูแลงไดแ ก Paracalanus crassirostris, Oithona simplex, Bestiolina similis และ Oithona aruensis ตามลำดับ ในฤดูฝนชนิดของโคพีพอดที่พบมากท่ีสุดไดแก Nauplii of copepods, copepodites of Paracalanus และ copepodites of Oithona ตามลำดบั 82

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา การ​เจริญเติบโต​การร​ อดตายข​ องป​ ลาก​ ารต์ นู ว​ ัย​ออ่ น​(Amphiprion ephippium)​ ที่​ไดจ​ าก​การใ​หโ รต​ ​เิ ฟอร์(Brachionus rotundiformis) ทีเ​่ ล้ยี ง​ในส​ าหร่าย​Isochrysis galbana​ ดว ยส​ ารอาหารไ​นโตรเจนค​ วามเ​ขม ขน​ตา่ งกนั อมรรัตน์ ชมรงุ จารุนนั ท์ ประทุมยศ ปยิ ะวรรณ ศรวี ลิ าศ และวรเทพ มธุ วุ รรณ สถาบนั วทิ ยาศาสตร์ทางทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา ต.แสนสุข อ.เมอื ง จ.ชลบรุ ี 20131 ​บทคัดย่อ ศกึ ษาปริมาณโปรตีนและไขมนั ในสาหรา ย Isochrysis galbana เมื่อเล้ียงดว ยอาหารเหลวสูตร Guillards “f/2” ท่ีมีปรมิ าณธาตอุ าหารไนโตรเจนจาก NaNO3 ที่แตกตางกัน 6 ระดับ คอื 05, 1.0, 1.5, 2.0, 2.5 และ 3.0 โม ลาร์ เม่อื ทำการวเิ คราะห์คุณคา ทางอาหาร พบวามปี รมิ าณโปรตนี และไขมันสูงสุดทค่ี วามเขม ขน 1.5 โมลาร์ จาก การวิเคราะห์คุณคาทางอาหารในโรติเฟอร์ (Brachionus rotundiformis) พบวาโรติเฟอร์ท่ีเพิ่มคุณคาทางอาหาร ดวย I. galbana ชุด 2.5 และ 3.0 โมลาร์ มีปริมาณโปรตีนสูงสุด โรติเฟอร์ที่เพิ่มคุณคาทางอาหารดวยสาหราย I.galbana พบกรดไขมนั กลมุ n – 3 PUFA และ n – 3 HUFA เม่อื นำโรติเฟอรท์ ี่เพิม่ คุณคา ทางอาหารดว ยสาหราย I.galbana เลย้ี งลกู ปลาการ์ตนู ดำแดง (Amphiprion ephippium)เปน ระยะเวลา 21 วนั ผลการทดลองพบวาลกู ปลา มกี ารเจรญิ เติบโตดีในชุดทดลอง 2.0 และ 2.5 สารตวั ยาและผลติ ภัณฑเ์ สริมอาหารจากฟองนำ้ และแบคทีเรียทะเลที่อาศยั อยู่ ชตุ ิวรรณ เดชสกลุ วัฒนา สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล มหาวทิ ยาลัยบรู พา บทคดั ยอ่ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากสัตว์และแบคทีเรียจากทะเล ไดถูกคนพบมากมายในชวงเวลา 2-3 ทศวรรษท่ีผานมา โดยเฉพาะกลุมสัตว์ไมมีกระดูกสันหลัง ไดแก ฟองน้ำ เพรียงหัวหอม จาการศึกษาสาร ออกฤทธ์ิชวี ภาพหลายดา นพบวา สารสกัดจากฟองน้ำและแบคทีเรียทะเลของไทยมีฤทธิ์ตา นจุลินทรยี ์ : แบคทีเรีย Staphylococcus aureus, Bacillius subtilis, Micrococcus luteus และ Vibrio anguillarum ทเ่ี ปน สาเหตโุ รคตดิ เชอ้ื หลายโรค และสารสกดั ฟองนำ้ หลายชนดิ มฤี ทธติ์ า นเชอื้ วณั โรค Mycobacterium tuberculosis ฤทธต์ิ า นอนมุ ลู อสิ ระ ฤทธต์ิ า นเซลล์ มะเรง็ หลายชนดิ ไดแ ก มะเรง็ ปากมดลกู (Human cervical carcinoma,HeLa), มะเรง็ ปอด (Lung, NCI-H187) และ มะเรง็ เตา นม (Breast, BC) นอกจากนย้ี งั พบวา สามารถผลติ กรดไขมนั และสารชวี รงควตั ถหุ ลายชนดิ 83

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บรู พา Antifungal​Activity​Evaluation​of​the​Constituents​of​Haliclona​baeri and​Haliclona cymaeformis, Col- lected​from​the​Gulf​of​Thail​and Rawiwan Wattanadilok 1,3 , Pichan Sawangwong 2 , Cátia Rodrigues 4,6 , Honorina Cidade 4,6, Madalena Pinto 4,6 , Eugenia Pinto 5,6 , Artur Silva 7 and Anake Kijjoa 3,8,* 1 Bangsaen Institute of Marine Science (BIMS), Burapha University, Bangsaen, Chonburi 20131, Thailand 2 Department of Aquatic Science, Faculty of Sciences, Burapha University, Bangsaen, Chonburi 20131, Thailand 3 Centro Interdisciplinar de Investigação Marinha e Ambiental (CIIMAR), Universidade do Porto, Rua dos Bragas 289, 4050-123 Porto, Portugal 4 Laboratório de Química Orgânica, Faculdade de Famácia, Universidade do Porto, Rua Anibal Cunha 164, 4050-047 Porto, Portugal 5 Laboratório de Microbiologia, Faculdade de Famácia, Universidade do Porto, Rua Anibal Cunha 164, 4050-047 Porto, Portugal 6 Centro de Estudos de Química Orgânica, Fitoquímica e Farmacologia da Universidade do Porto, (CEQO FFUP), 7 Departamento de Química, Universidade de Aveiro, 4810-1933 Aveiro, Portugal 8 ICBAS-Instituto de Ciências Biomédicas Abel Salazar, Universidade do Porto, 4099-003 Porto, Portugal Abstract A new compound maleimide-5-oxime was islated, together with 3, 4-dihydroxy-benzoic acid, tetil- lapyrone, from the ethyl acetate extract of the marine sponge haliclona baeri while tetillalpyrone, nortetil- lapyrone, p-hydroxybenzaldehyde and phenylacetic acid were isolated from the ethyl acetate extract of Hali clona cymaeformis, collected from the Gulf of Thailand. The Structures of tetillapyrone and nortetillapyrone were re-examined using HMBC correlations. Maleimide-5-oxime, tetillapyrone and nortetillapyrone were found to be inactive against three human tumor cell lines (the estrogen-dependent ER (+) MCF-7, the estrogen- independent ER (-) MDA-MB-231 and NCI-H460. Maliemide-5-oxime, p-hydroxybenzaldehyde, phenylacetic acid, tetillapyrone and nortetillaapyrone were evaluated for their growth inhibitory effect against seven yeast s and eight filamentous fungi. Only nortetillapyrone showed antifungal activity, with a preponderance on the dermatophytic filamentous fungi. 84

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา Pigmented​Actinomycetes​from​Coastal​Areas​and​their​Bioactive​Secondary​Metabolites. Srivibool, R.1 and Sukchotiratana, M.2 1 Marine Biotechnology Unit, Institute of Marine Science, Burapha University, Chonburi. 20131. Thailand. 2 Department of Biology, Faculty of Science, Chiang Mai University, 50200, Thailand. Abstract Forty soil samples were collected from coastal areas of Chonburi, Rayong and Chantaburi Prov- inces. These samples were pretreated at 55 OC and 100 OC for 15 min and 1 h,respectively, diluted by using 10-fold-dilution and then inoculated onto Starch Casein and Humic acid Vitamin Agar plates to isolate for actinomycetes having some of bioactive secondary metabolites. Various actinomycetes appeared on both agar plates were selected after 7-14 d incubation at 32 o C and purified. One hundred and seventy nine isolates were screened for antimicrobial activity and 122 were found to be active against gram positive and/ or gram negative bacteria, including yeasts. Gram positive bacterial test strains : Micrococcus luteus TISTR 884, Staphylococcus aureus TISTR 885 and methicillin resistant Staphylococcus aureus 815(MRSA 815) were inhibited by most actinomycetes antimicrobial producing strains while gram negative bacterial test strain, Pseudomonas aeruginosa TISTR 781, was inhibited by 11 isolates of actinomycetes. Most antimicrobial produc- ing strains could inhibit both bacteria and yeasts, and 29 strains found to be active against only yeasts test strains. Yeast test strains were: Candida albicans TISTR 5239, Candida tropicalis TISTR 5045, Debaryomyces hansenii TISTR5265, Pichia kluyveri TISTR 5150 and a Candida sp. hospital strain. Furthermore, most isolates, both antimicrobial producers and non-antimicrobial producers were able to produce colorful colonies as well as soluble pigments in some strains. Taxonomy​and​Distribution​of​Sargassum (Phaeophyceae)​in​the​Gulf​of​Thailand Noiraksar, T.1 and Ajisaka, T.2 1 Institute of Marine Science, Burapha University, Bangsaen, Chon Buri 20131, Thailand 2 Hall of Global Environmental Research, Graduate School of Global Environmental Studies, Kyoto University, Kyoto, 606-8502, Japan Abstract Ten species of Sargassum (Sargassaceae, Phaeophyceae) were found along the Gulf of Thailand. Morphological characteristics of Sargassum baccularia (Mertens) C.A. Agardh, S. binderi Sonder, S. cinereum J.G. Agardh, S .crassifolium J.G. Agardh, S. longifructum Tseng et Lu, S. oligocystum Montagne, S. polycystum C.A. Agardh, S. siliquosum J.G. Agardh, S. swartzii (Turner) C.A. Agardh and one unidentified species were examined and described in details. The most common species was S. polycystum distributing widely in almost all the study areas, while S. crassifolium was found restrictively in Prachuap Khirikhan Province, S. longifructum in Chumphon Province, S. siliquosum in Surat Thani Province and the unidentified species in Songkhla Province. Three species (S. cinereum, S. longifructum and S. swartzii) are new records for the algal flora of Thailand. Five species (S. baccularia, S. cinereum, S. longifructum, S. polycystum and the unidentified species) belong to the section Zygocarpicae (J.G.. Agardh) Setchell. 85

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา Development​of​Anemonefishes​Culture​Techniques​for​Commercial​Farming Muthuwan, V. Institute of Marine Science, Burapha University Abstract The successful propagation and culture techniques for twelve species of anemonefishes were developed through researches at the Institute of Marine Science for commercial farming purpose. Each pair of anemonefish broodstocks is cultured separately in a 75-liters glass aquarium equipped with a closed re- circulation systems. The females spawn regularly on a floor tile provided at 10-14 days interval. It takes 5 to 7 days for larvae to hatch out which usually occurs 2-3 hours after darkness. The larvae are fed with rotifer at 10-15 rotifers per milliliter for 10-14 days then newly hatched artemia nauplii are fed until 4 weeks. Two species of phytoplankton are added to cultured water during the rearing periods as food for rotifer. Color and pattern of the larvae start to develop at 7-days old and fully develop 3 to 4-weeks after hatching. Survival of the larvae is greatly enhanced when fed with rotifer enriched with ascorbyl palmitate. Juveniles can be weaned to artificial feed after 4-weeks and it takes 4-5 months depend on the species for juveniles to grow to the marketable size (1 inches). Drug​Agents​and​food​supplements​from​sponges​and​associated​bacteria​Collected​from​the​Gulf​of​ Thailand Dechsakulwatana, C. Institute of Marine Science, Burapha University, Chonburi 20131 Abstract Natural product from marine animals and bacteria were significantly discovered in the past decades especially invertebrates: sponges, tunicates and associated bacteria for their bioactive substances. In an attempt to investigate on Thai marine sponges and associated bacteria for antimicrobial, antioxidation and anticancer were found. The results showed activities against bacteria such as Staphylococcus aureus, Bacillius subtilis, Micrococ- cus luteus and Vibrio anguillarum which causing diseases and most sponges extracts against Mycobacterium tuberculosis. Also significant inhibitory effects were found on cancer cells of Human cervical carcinoma(HeLa), Lung (NCI-H187) and Breast (BC). In addition this investigation found the capacity to produce several fatty acids and biopigments. 86

รายงานประจำป 2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา Thermotolerant​Actinomycetes​from​Coastal​areas​producing​N-acylamino​acid​racemase Rattanaporn Srivibool1, Udomluck Thitiragpanich2 and Shinji Tokuyama3 1 Marine Biotechnology Unit, Institute of Marine Science, Burapha University, Chonburi 20131, Thailand 2Department of Biochem, Faculty of Science, BuraphaUniversity, Chonburi 20131, Thailand. 3Department of Biologicalchemmistry, Faculty of Agriculture, Shizuoka University,Shizuoka 422-8529, Japan Abstract As gram positive bacteria mainly found in soil and as saprophytes, actinomycetes take an impor- tant role in soil ecology. Moreover, some actinomycetes are prolific producers of variety of useful enzymes that could be used from both fundamental and application perspectives. In this study, 45 sample soils from Chonburi, Rayong, Chantaburi and Trad Provinces were collected and 265 isolates of actinomycetes were obtained. Eighteen isolates were able to produce N-acylamino acid racemase when cultured in the medium comprised of 0.25% glucose, 1.5% peptone, 0.5% yeast extract, 0.5% NaCl, 0.25% KH2PO4 and 0.5% N-acetyl-D-methionine. The enzyme was detected by L-methionine produced in the reaction mixture when L-aminoacylase was added. It was found that strain C12-22 and strain C15-14 were the most and the second high N- acylamino acid racemase producers, 0.723 and 0.611 in term of L-methionine produced, respectively, by HPLC analyzing. The rest of actinomycetes that could produce the enzyme were 11 different Streptomyces sp. and 5 Actinomadura sp. The results from morphological study appeared that strain C12- 22 formed retinaculiaperti spore chains or occasionally spirales and strain C15-14 formed spores in spiral chains or occasionally straight. By chemical analysis of cell wall and whole-cell hydrolysate, both strains had L-diaminopimelic acid with glycine in cell wall peptidoglycans and had no characteristic sugar in whole-cell hydrolysate in which the characteristics of the genus Streptomyces. Both strains grew well between 25o C-40o C and could tolerate at higher temperature up to 45 o C. The results from 16S DNA gene sequencing analysis of strain C12-22 and C15-14 showed 99% semilarity with S. tendae and S. Goraiensis, respectively. However, N- acylamino acid racemase producing strains were not many to be discovered among actinomycetes, and in this study S. goraiensis is a new report. 87

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรทางทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา Marine​Yeast:​A​New​Alternative​Source​For​Highly​Unsaturated​Fatty​Acids. Srivibool, R1. and Jaritkhuan, S2. 1Institute of Marine Science, Burapha University, Bangsaen, Chonburi. 20131 2Department of Aquatic Science, Faculty of Science, Burapha University, Bangsaen, Chonburi. 20131 Abstract Seawater surounding coral reef area at Ko Man Nai, Rayong, and Ko Tao, Surat-thani, were col- lected for isolation of marine yeasts having high unsaturated fatty acids. Five millilitres of each seawater sample were filtered through cellulose nitrate filter paper of 0.2 μm in diameter. Then placed the filter paper on Yeast Extract-Malt Extract Agar plate and incubated at 30 o C for 2 days. The yeast colonies appeared on the agar plates were purified on Yeast Extrat-Malt Extract Agar and were kept at 4 o C for some morphological and biochemical studies, including for fatty acids analysis. Seven strains of marine yeasts were found from 12 seawater samples from both Ko Man Nai and Ko Tao. Freezed dry cells of 100-200 mg from broth culture media were extracted for fatty acids and analized by gas chromatography. In different kinds of medium broth these marine yeasts produced different amount and kind of whole-cell fatty acids and some of same strains might not produce docosahexaenoic acid, C22:6 n-3, in Sabouraud broth but could praoduce well in Yeast Extract-Malt Extract or Potato Dextrose broth. The best yeast strain that produced highest amount of C22:6 n-3, 1.19 mg/g dry wt, was the isolate from Ko Tao and the second highly produced was the isolate from Ko Man Nai. Apart from C22:6 n-3, the strain from Ko Tao and the others from Ko Man Nai also produced high amount of other kinds of unsaturated fatty acids, oleic, linoleic, γ-linolenic and palmitoleic acids. Although some of these marine yeasts could not grow well at higher temperature but could tolerate at 45 o C and 50 o C. Furether more all of these marine yeasts still grew well in medium containing 17% ethanol. In future application some of these marine yeasts might take an important role as a new alternative source of high unsaturated fatty acids for food nutrition supplement, and even of bioenergy. 88

รายงานประจำป 2550 สถาบันวิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลัยบูรพา Isolation​and​Characterisation​of​Anticancer​and​Antimicrobial​producing​Streptomyces from​Mangrove​ Sediments R. Srivibool 1, W. Pathom-aree2,K. Jaidee1 M. Sukchotiratana2 and S. Tokuyama3 1 Institute of Marine Science, Burapha University, Chonburi.20131. Thailand. Email:[email protected] 2 Department of Biology, Faculty of Science, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200, Thailand. 3Department of Applied Biological Chemistry, Faculty of Agriculture. Shizuoka University, Shizuoka, Japan. Abstract An actinobacterium, designated as strain CH54-4, was isolated from tropical mangrove soil in the east coast of the Gulf of Thailand using starch casein agar. This isolate was found to contain chemical markers typical of members of the genus Streptomyces, that is, it contained LL-diaminopimelic acid and glycine with no characteristic sugar in whole-organism hydrolysates (wall chemotype I), major amount of phosphatidylethanolamine as the diagnostic lipid (phospholipid type II) and octahydrogenated menaquinone with nine isoprene units (MK9(H8)) as the predominant isoprenologue. This strain possessed a broad spec- trum of antimicrobial activity against Gram-positive, Gram negative bacteria and fungi namely Bacillus subtilis TISTR008, Methicillin Resistant-Staphylococcus aureus 815, Micrococcus luteus TISTR784, Pseudomonas aeruginosa NBRC13736, S. aureus NRIC1135, Aspergillus niger NRIC1221, Candida albicans IFO1594, De- baryomyces hansenii NRIC1303, Mucor racemosus NBRC4581, Pennicillium chrysogenum NRIC1271, Pichia dispora NRIC1348 and Schizosaccharomyces pombe NRIC1434. In addition, this strain also showed strong activity against breast cancer cells with the IC50 of 2.91 µgmL-1. Almost complete sequence of the 16S rDNA gene of strain CH54-4 was aligned with available corresponding sequences of Streptomyces type strains. The resultant phylogenetic trees showed that strain CH54-4 form a distinct clade in the 16S rRNA Streptomyces gene tree and closely related to Streptomyces thermocarboxydus. 89

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวิทยาลยั บูรพา Species​and​Distribution​of​Sargassum (Phaeophyceae)​from​Thailand T. Ajisaka*, T. Noiraksar** and K. Lewmanomont*** * Kyoto University, Japan ** Burapha University, Thailand *** Kasetsart University, Thailand Abstract Thirteen species of Sargassum (Sargassaceae, Phaeophyceae) were found in Thai waters. Nine spe- cies were from the west coast of the Gulf of Thailand, five species from the east coast of the Gulf of Thailand, and six species from the Andaman Sea. They are: Sargassum baccularia (Mertens) C.A. Agardh, S. binderi Sonder, S. cinereum J. Agardh, S .crassifolium J.G. Agardh, S. cristaefolium C. A. Agardh, S. longifructum Tseng et Lu, S. oligocystum Montagne, S. polycystum C.A. Agardh, S. siliquosum J.G. Agardh, S. stolonifolium Phang et Yoshida, S. swartzii (Turner) C.A. Agardh and two unidentified species. The most common species are S. polycystum and S. stolonifolium distributing widely in the Gulf of Thailand and the Andaman Sea, respectively. S. longifructum was found restrictively in Chumphon Province, S. siliquosum in Surat Thani Province, unidenti- fied species 1 in Songkhla Province and unidentified species 2 in Krabi Province. S. crassifolium, S. polycystum and S. swartzii were found in both coasts of Thailand. Three species (S. cinereum, S. longifructum and S. swartzii) were new records for the flora of Thailand. Five species (S. baccularia, S. cinereum, S. longifructum, S. polycystum and the unidentified species 1 from Songkhla Province) have zygocarpic receptacles. Three​Species​of​Sargassum​(Phaeophyceae)​with​Compressed​Primary​Branches​​ in​the​Gulf​of​Thailand Noiraksar, T.1, Ajisaka, T.2 and Ogawa, H.3 1 Institute of Marine Science, Burapha University, Bangsaen, Chon Buri 20131, Thailand 2 Graduate School of Agriculture, Kyoto University, Kyoto 606-8502, Japan 3 School of Fisheries Science, Kitasato University, Iwate 022-0101, Japan Abstract Three species of Sargassum with compressed primary branches, S. binderi Sonder, S. oligocystum Montagne and S. swartzii (Turner) C.A. Agardh, has been described from the Gulf of Thailand. S. swartzii is the first report from the coast of Thailand. A key for these three species and each description have been completed. The clear distinction among these three species has clearly shown and discussed. S. binderi has slender lanceolate leaves, dentate margin along the compressed stem of vesicles, and clear spines along the whole margin of flattened receptacles. S. oligocystum has broader lanceolate leaves with acute to round apex, almost entire, spherical vesicles, and few spines on the margin of slightly compressed receptacles. S. swartzii has linear lanceolate leaves, pointed or crowned vesicles, and few spines near the tip of almost terete receptacles. 90

รายงานประจำป 2550 สถาบนั วิทยาศาสตรท างทะเล มหาวทิ ยาลยั บูรพา คณะผจู ัดทำรายงานประจำป​ี ​2550 สถาบันวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล ทีป่ รกึ ษา ผูอำนวยการสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล นายวรเทพ มุธุวรรณ คณะผจู ัดทำ ประธานคณะทำงาน นางสาวเสาวภา สวัสดิพ์ ีระ คณะทำงาน นายภัทรพงศ์ สมนกึ คณะทำงาน นางเออื้ งนภา กำบญุ เลศิ คณะทำงาน นางสาวแววตา ทองระอา คณะทำงาน นางสาวสพุ รรณี ลโี ทชวลิต คณะทำงาน นายกำพล กงั วาลโชคชยั คณะทำงาน นางสาวเบญจวรรณ ทับพร คณะทำงาน นายเฉลิมชยั ลบั ก่ิม คณะทำงานและเลขานกุ าร นางสาวดารา ศรีรัตน์ คณะทำงานและผชู ว ยเลขานกุ าร นายสบื พงษ์ เสมอวงษ์ ออกแบบและจ​ ัดพ​ ิมพ์ เก็ทกูด ครเี อช่นั โทร. 038-443202 91


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook