โครงงาน เร่ือง : การรดนา้ ต้นไม้แบบประหยดั พลงั งาน 1. นายสมนกึ จดั ทาโดย 2. นายเอกสิทธ์ นาคทอง รหสั นักศึกษา 6022000373 3. นายอภวิ ชิ ญ์ แสงสุวรรณ รหัสนักศึกษา 6122000040 4. นางสาวบุญฑกิ า เยน็ งาม รหัสนักศึกษา 6112000436 5. นายทนิ ภทั ร นาคทอง รหสั นกั ศึกษา 6022000364 6. นายเฉลมิ พล ซุยเสนา รหัสนกั ศึกษา 6112000043 7. นายสราวุธ ดวงสาย รหสั นักศึกษา 6022000056 8. นางสาวอภญิ ญา เลก็ สาคร รหสั นักศึกษา 6112000052 แก้วสมทรง รหสั นักศึกษา 6212000055 ครูทป่ี รึกษา นางสาวสุรีรัตน์ เอยี้ วพนั ธ์ ครู กศน. ตาบลบางนกแขวก โครงงานเล่มนเี้ ป็ นส่วนหนึง่ ของวิชา โครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ ทร 23013 , ช่องทางการพฒั นาอาชีพ อช 21001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางคนที
โครงงาน เร่ือง : การรดนา้ ต้นไม้แบบประหยดั พลงั งาน 1. นายสมนึก จดั ทาโดย 2. นายเอกสิทธ์ นาคทอง รหสั นักศึกษา 6022000373 3. นายอภวิ ชิ ญ์ แสงสุวรรณ รหัสนักศึกษา 6122000040 4. นางสาวบุญทกิ า เยน็ งาม รหัสนักศึกษา 6112000436 5. นายทนิ ภทั ร นาคทอง รหสั นกั ศึกษา 6022000364 6. นายเฉลมิ พล ซุยเสนา รหสั นักศึกษา 6112000043 7. นายสราวธุ ดวงสาย รหสั นักศึกษา 6022000056 8. นางสาวอภญิ ญา เลก็ สาคร รหสั นักศึกษา 6112000052 แก้วสมทรง รหสั นกั ศึกษา 6212000055 ครูทปี่ รึกษา นางสาวสุรีรัตน์ เอยี้ วพนั ธ์ ครู กศน.ตาบลบางนกแขวก โครงงานเล่มนเี้ ป็ นส่วนหน่งึ ของวชิ า โครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ ทร 23013 , ช่องทางการพฒั นาอาชีพ อช 21001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2562 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางคนที
ก คานา โครงงานน้ีจดั ทาข้ึน โดยการบูรณาการระหว่างวิชาการเรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ประจาภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2562 ผจู้ ดั ทาไดเ้ รียบเรียงขอ้ มูลเก่ียวกบั การจดั ทาโครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบ ประหยดั พลงั งาน มีวตั ถุประสงคต์ อ้ งการจดั ทาชิ้นงานน้ีเพอื่ เป็นอีกทางเลือกหน่ึงในการทาของตกแต่งบา้ นจาก วสั ดุท่ีเหลือใชแ้ ลว้ และราคาประหยดั และยงั เป็นการพฒั นาฝี มือในการออกแบบช้ินงานท่ีเกิดจากความคิดริเริ่ม สรา้ งสรรคจ์ นิ ตนาการของผจู้ ดั ซ่ึงสามารถนาแนวความคดิ น้ีไปต่อยอดในการประกอบอาชีพได้ คณะผจู้ ดั ทาจึงหวงั เป็ นอยา่ งยงิ่ ว่าการจดั ทาโครงงานน้ี คงจะมีประโยชน์ต่อท่านที่สนใจและ สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริงในชีวิตประจาวนั เพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพฒั นาตนเองชุมชน สงั คมใหม้ ีความสุขและยง่ั ยนื ถา้ หากเน้ือหาในโครงงานฉบบั น้ีผดิ พลาดประการใดคณะผจู้ ดั ทาขออภยั มา ณ โอกาสน้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา 15 กุมภาพนั ธ์ 2563
ข กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานการรดน้าต้นไม้แบบประหยดั พลังงาน สามารถสาเร็จลงได้ด้วยดีและบรรลุ ตามวตั ถุประสงคต์ ามที่คณะผูจ้ ดั ทาต้งั เป้าหมายเอาไว้ เนื่องจากไดร้ ับความอนุเคราะห์ ในการช่วยเหลือและ ให้คาแนะนาในการจดั ทาโครงงาน จากครูสุรีรัตน์ เอ้ียวพนั ธ์ ซ่ึงท่านเป็ นครูที่ปรึกษาประจาโครงงานน้ี ที่ให้การช่วยเหลือให้คาแนะนา และขอขอบคุณห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบางคนที ท่ีใหเ้ ป็ นแหล่งคน้ ควา้ และเพื่อนนักศึกษาสมาชิกของกลุ่มทุกคน ซ่ึงมีส่วนในการศึกษา รวบรวมขอ้ มูลและ ประกอบกิจกรรมในการจัดทาชิ้นงานส่งผลให้การทาโครงงานน้ี สามารถดาเนินการไปได้ด้วยดี คณะผจู้ ดั ทาจึงขอกราบ ขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี คณะผจู้ ดั ทา
ค บทคดั ย่อ การรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาความชุ่มช้ืนของดิน ระหว่าง การรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน กบั การรดน้าตน้ ไมแ้ บบปกติ มีวธิ ีดาเนินการดงั น้ี การประดิษฐอ์ ุปกรณ์ รดน้าตน้ ไม้ โดยการนาเอาช้นั วางของมาดดั แปลงเพ่อื วางตน้ ไม้ นาภาชนะเก็บน้า มาเจาะรูเพ่อื ส่งน้าออก ต่อ ท่อประปาจากภาชนะเก็บน้าแลว้ เจาะรูท่อ พร้อมต่อวาล์วน้า เพ่ือปรับปริมาณหยดลงมารดตน้ ไม้ ซ่ึงสามารถ ประดิษฐ์ได้เองและใช้วสั ดุท่ีหาไดง้ ่ายไม่สิ้นเปลืองสามารถใช้งานไดจ้ ริง ประหยดั เวลาและประหยดั น้ า ข้นั ตอนที่ 2 ทดสอบประสิทธิภาพของอุปกรณ์รดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน โดยเปรียบเทียบกบั การ รดน้าแบบปกติ โดยใชป้ ริมาณน้า 1,332 มล. ในระยะเวลา 6 ชว่ั โมง ผลการศึกษาพบวา่ ดินที่รดน้าแบบ ประหยดั พลงั งานมีความชุ่มช้ืนกวา่ ดินท่ีรดแบบปกติ
สารบัญ ง คานา หน้า กติ ตกิ รรมประกาศ ก บทคดั ย่อ ข สารบัญ ค การเรียนรู้แบบบูรณาการโครงงาน ง บทที่ 1 บทนา จ หลกั การและเหตผุ ล วตั ถุประสงค์ 1 เป้าหมาย 1 สมมุติฐาน 1 ตวั แปรทศ่ี กึ ษา 1 ขอบเขตการศกึ ษา 1 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 2 นิยามปฏิบตั กิ าร 2 ขอบเขตของการจดั ทาโครงงาน/ข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน 2 สถานทดี่ าเนินการ 3 ระยะเวลาการดาเนินงาน 3 หนา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบของสมาชิกในกลุ่ม 3 บทที่ 2 เอกที่เกยี่ วข้อง 4 ท่อPVC น้า 7 ดิน 12 ระบบน้าหยด 12 14
(สารบญั ต่อ) หน้า บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงาน 16 วธิ ีการดาเนินงาน 16 งบประมาณ 17 วสั ดุอุปกรณ์ 20 ข้นั ตอนในการทาโครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน 29 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 29 การประเมินผล 29 ปัญหาทพี่ บ 29 การแกไ้ ขปัญหา ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ 30 30 บทท่ี 5 สรุปอภิปรายผลการดาเนินงาน 30 สรุปผลการดาเนินงาน 31 อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก รูปภาพข้นั ตอนการทาโครงงานฯ แบบเสนอโครงงาน นาเสนอร่างโครงงาน
จ การเรียนรู้แบบบูรณาการโครงงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางคนที การบูรณาการ หมายถึง การรวมเน้ือหาสาระของวชิ าต่างๆในหลกั สูตรท่ีมีลกั ษณะเหมือนกนั หรือคลา้ ยกนั ใหเ้ ชื่อมโยงสมั พนั ธเ์ ป็นส่ิงเดียวกนั โดยการต้งั เป็ นหวั ขอ้ เร่ืองข้ึนใหม่และมีหัวขอ้ ยอ่ ยตามเน้ือหา สาระทส่ี ามารถจดั การเรียนรูเ้ ป็นเร่ืองเดียวกนั ไดแ้ ละใหโ้ อกาสผเู้ รียนในการปฏิบตั ิกิจกรรม ดว้ ยตนเองให้มาก ทีส่ ุด มีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทใี่ ชห้ ลากหลายวธิ ี การเรียนรูจ้ ากการทาโครงงาน หมายถึง กิจกรรมท่ีเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รียน ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ และ ลงมือปฏบิ ตั ิ ดว้ ยตนเองตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจ โดยอาศยั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พรอ้ มกระบวนการอื่นใดไปใชใ้ นการศกึ ษาหาคาตอบในเร่ืองน้นั ๆ โดยมีครูผสู้ อนคอยกระตนุ้ แนะนา และให้ คาปรึกษาแก่ผเู้ รียนอยา่ งใกลช้ ิด ต้งั แตก่ ารเลือกหัวขอ้ ที่จะศึกษาคน้ ควา้ ดาเนินการ วางแผน กาหนด ข้นั ตอน การดาเนินงาน โดยทวั่ ๆ ไปการทาโครงงานสามารถทาไดท้ ุกระดบั การศึกษา ซ่ึงอาจทาเป็ นรายบุคคล หรือ เป็ นกลุ่มก็ได้ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะของโครงงาน อาจเป็ นโครงงานเล็ก ๆ ท่ีไม่ยงุ่ ยากซบั ซอ้ น หรือเป็ น โครงงานใหญท่ ่มี ีความยากและซบั ซอ้ นข้ึนก็ได้ การเรียนรู้จากการทาโครงการ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมาย ของ คาโครงการ ว่า หมายถึง “แผนหรือเคา้ โครงการตามที่กะกาหนดไว”้ โครงการน้ีเป็ น ส่วนประกอบ ส่วนหน่ึง ในการวางแผนพฒั นาซ่ึงช่วยให้เห็นภาพ และทิศทางการพฒั นา ขอบเขตของการที่ สามารถ ตดิ ตามและ ประเมินผล ไดโ้ ครงการเกิดจากลกั ษณะความพยายามท่ีจะจดั กิจกรรม หรือดาเนินการให้ บรรลุ วตั ถุประสงค์ เพอ่ื บรรเทาหรือลดหรือขจดั ปัญหา และความตอ้ งการท้งั ในสภาวการณ์ปัจจบุ นั และอนาคต โครงการโดยทว่ั ไป สามารถแยกไดห้ ลายประเภท เช่น โครงการเพ่ือสนองความตอ้ งการโครงการพฒั นาทวั่ ๆ ไป โครงการตามนโยบายเร่งด่วน เป็นตน้
โครงงานการรดนา้ ต้นไม้แบบประหยัดพลังงาน นามาบูรณาการกับรายวชิ าทล่ี งทะเบียนเรียนได้ 4 วชิ า คอื วิชาโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ ( ทร 23013 ) คือ ไดเ้ รียนรู้ประเภทของโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ การเตรียมการ วางแผนและข้นั ตอน กระบวนการจดั ทาโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ทกั ษะและกระบวนการท่ีจาเป็ นในการทาโครงงาน เพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ (การหาข้อมูล การเลือกใช้ข้อมูล การจัดทาข้อมู ล การนาเสนอข้อมูล การพฒั นาตอ่ ยอดความรู้) การสะทอ้ นความคิดเห็นตอ่ โครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ วชิ าการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจาวนั 2 (พว 22002) คอื ไดร้ ู้วธิ ีการใชส้ วา่ นไฟฟ้าในการเจาะท่อ PVC ไดร้ ู้จกั อุปกรณ์ไฟฟ้ามากยง่ิ ข้ึน วชิ าทักษะการเรียนรู้ (ทร 21001) คือ ไดเ้ รียนรูก้ ารทางานกลุ่มการทางานเป็นทีมและพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้การใชค้ วามคิด สร้างสรรค์ ในการออกแบบวสั ดุต่างๆ และใชห้ ลกั การและช้ินงาน ของการทาโครงงานมาพฒั นา ตอ่ ยอดต่อไป วิชาช่องทางการพัฒนาอาชีพ (อช 21001) คือ อาชีพทุกวนั น้ีตามสภาวะเศรษฐกิจท่ีเปล่ียนแปลงบ่อยทาใหท้ ุกครอบครัวไดร้ ับผลกระทบกบั เงิน เดือนไม่พอใชท้ าใหท้ กุ คนหนั มาหารายไดเ้ สริมกบั การขยายอาชีพที่ทาอยหู่ รือเร่ิมมาคา้ ขายออนไลน์ กนั มากข้ึน บางคนทาเป็ นอาชีพเสริมบางคนคนทาเป็ นอาชีพหลกั
บทที่ 1 บทนา หลกั การและเหตผุ ล “พลงั งาน” ถือเป็นส่ิงท่ีมีค่าและความจาเป็ นต่อการดารงชีวติ ประจาวนั ของเราไม่ว่าจะเป็ นพลงั งาน น้า พลงั งานน้ามนั พลงั งานไฟฟ้า ซ่ึงความตอ้ งการใชพ้ ลงั งานมีอตั ราท่ีเพมิ่ ข้ึนทกุ ปี ในขณะทพ่ี ลงั งานต่างๆมีอยู่ อยา่ งจากดั ดงั น้ัน วธิ ีการประหยดั พลงั งานซ่ึงทาไดท้ ุกแห่งไม่ว่าจะเป็ น บา้ น รถยนต์ ในสถานที่ทางานแต่ ปัญหาอยทู่ ว่ี า่ เราจะทาอยา่ งไรถึงจะช่วยกนั ประหยดั พลงั งานของชาตใิ หเ้ พยี งพอต่อความตอ้ งการของทกุ คนได้ ผทู้ ใ่ี ชน้ ้าส่วนใหญม่ ีพฤตกิ รรมการใชน้ ้าท่ีฟ่ มุ เฟือย ควรเปลี่ยนวธิ ีการใชน้ ้าตามความเคยชินมาเป็ นการ ใชน้ ้าอยา่ งประหยดั และรูค้ ุณค่า การรดน้าตน้ ไม้ ไม่ควรใชส้ ายยางต่อจากก๊อกโดยตรงเพราะจะทาให้เปลืองน้ามากจึงไดม้ ีการจดั ทา โครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ศกึ ษาความชุ่มช่ืนของดินระหวา่ งการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งานกบั การรดน้าตน้ ไมป้ กติ เป้าหมาย เชิงปริมาณ -ไดท้ ่ีรดน้าแบบประหยดั พลงั งาน 1 ชิ้น เชิงคุณภาพ -นกั ศึกษาเกิดความพงึ พอใจในโครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งานและสามารถนา ความรูไ้ ปพฒั นาช้ินงานและสามารถใชง้ านไดจ้ ริง สมมุติฐาน - ดินท่รี ดน้าแบบประหยดั พลงั งานชุ่มช้ืนกว่าดินทีร่ ดน้าตน้ ไมป้ กติ ตวั แปรท่ศี ึกษา ตวั แปรตน้ - การรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน/การรดน้าตน้ ไมป้ กติ ตวั แปรตาม - ความชุ่มช้ืนของดิน ตวั แปรควบคุม - ขนาดกระถางตน้ ไม้ ปริมาณของดิน ปริมาณน้าท่ีหยด ขอบเขตการศึกษา ในการศึกษาคร้ังน้ี มีขอบเขตการศกึ ษาดงั น้ี ส่ิงทศ่ี ึกษา การรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งานและการรดน้าตน้ ไมแ้ บบปกตแิ บบไหนใหค้ วาม ชุ่มช้ืนแก่ดินมากกวา่ กนั
ระยะเวลา ต้งั แตว่ นั ที่ 2-4 กุมภาพนั ธ์ 2563 สถานที่ กศน.ตาบลบางนกแขวก ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 1. ประหยดั น้า 2. ประหยดั เวลาในการรดน้า นิยามปฏบิ ตั กิ าร 1. ความชุ่มช้ืนของดินหมายถึง ดินทม่ี ีน้าผสมอยมู่ าก แต่ไม่แฉะหรือเละ 2. การรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน หมายถงึ การใหน้ ้าแบบน้าหยด 3. การรดน้าแบบปกติ หมายถึง การใชส้ ายยางรดน้า หรือใชถ้ งั ตกั รด
ขอบเขตของการจัดทาโครงงาน/ข้นั ตอนในการปฏบิ ัติงาน ท่ี กิจกรรม ระยะปฏิบตั งิ าน หมายเหตุ พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี. ค. 1 รบั งานจากอาจารยท์ ปี่ รึกษา/แบง่ กลุ่มรวบรวมสมาชิก 19 21 2 ประชุมวางแผนรูปแบบโครงงาน/ชิ้นงาน 21 3 ศึกษาขอ้ มลู /เก็บรวบรวมขอ้ มูล 26 4 เสนอชื่อโครงงานกบั อาจารยท์ ่ปี รึกษา/ส่งร่างโครงงาน 5 จดั หาซ้ือวสั ดุ/อุปกรณ์ 2 6 สมาชิกในกลุ่มลงมือทาทร่ี ดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั 2 พลงั งาน 2 7 นาช้ินงานตวั อยา่ งทีร่ ดน้าฯไปปรึกษาอาจารยท์ ี่ปรึกษา 10 เพอื่ แกไ้ ขปรบั ปรุงและวางแผนเพม่ิ เติม 15 8 สมาชิกช่วยกนั ทาช้ินงานทเี่ หลือท้งั หมด/เก็บรายละเอียด 9 สมาชิกช่วยกนั ทาชิ้นงานดา้ นวชิ าการ/รูปเล่มและ 28 ทาบอร์ด 29 10 ตรวจสอบความพร้อมของช้ินงานเตรียม ประเมินผลโครงงาน 11 การประเมินผลโครงงานประจาภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2562 สถานทใ่ี นดาเนินงาน - กศน.ต.บางนกแขวก หมู่ที่ 7 ตาบลบางนกแขวก อาเภอบางคนที จงั หวดั สมุทรสงคราม ระยะเวลาในการดาเนนิ โครงงาน - ต้งั แต่วนั ท่ี 19 มกราคม 2563 ถึง วนั ที่ 29 กุมภาพนั ธ์ 2563
หน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบของสมาชิกในกลุ่ม ช่ือ - นามสกลุ หน้าที่ความรับผดิ ชอบ หมายเหตุ - หวั หนา้ กลุ่มโครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน - จดั หาวสั ดุ/อุปกรณ์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การทาโครงงาน - คดิ ออกแบบโครงงาน - จดั ทาโครงงานตามทร่ี ่างรูปแบบไว้ - ตรวจดูความเรียบรอ้ ยของรูปเล่ม นายสมนึก นาคทอง ม.ตน้ รหสั นกั ศึกษา 6022000373 - รองหวั หนา้ กลุ่มโครงงานการรดน้าแบบตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน - จดั หาวสั ดุ/อุปกรณ์ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การทาโครงงาน - คิดออกแบบโครงงาน - จดั ทาโครงงานตามท่รี ่างรูปแบบไว้ -ตรวจดูความเรียบร้อยของบอร์ดโครงงาน นายเอกสิทธ์ิ แสงสุวรรณ ม.ตน้ รหสั นกั ศกึ ษา 6122000040 - สมาชิกกลุ่มโครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน - จดั หาวสั ดุ/อุปกรณ์ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การทาโครงงาน - คดิ ออกแบบโครงงาน - จดั ทาบอร์ดโครงงาน นายอภิวชิ ญ์ เยน็ งาม ม.ตน้ รหสั นกั ศึกษา 6122000040
ชื่อ - นามสกลุ หน้าท่ีความรับผดิ ชอบ หมายเหตุ - สมาชิกกลมุ่ โครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน - จดั หาวสั ดุ/อุปกรณ์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การทาโครงงาน - คิดออกแบบโครงงาน - จดั ทาบอร์ดโครงงาน นางสาวบุญฑกิ า นาคทอง ม.ตน้ รหสั นกั ศกึ ษา 6022000364 - สมาชิกกลมุ่ โครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน - จดั หาวสั ดุ/อุปกรณ์ที่เก่ียวขอ้ งกบั การทาโครงงาน - คดิ ออกแบบโครงงาน - จดั ทาบอร์ดโครงงาน นายทินภทั ร ซุยเสนา ม.ตน้ รหสั นกั ศึกษา 6012000179 - สมาชิกกลมุ่ โครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน - จดั หาวสั ดุ/อุปกรณ์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การทาโครงงาน - คดิ ออกแบบโครงงาน - จดั ทาบอร์ดโครงงาน นายเฉลิมพล ดวงสาย ม.ตน้ รหสั นกั ศึกษา 6022000056 - สมาชิกกลุ่มโครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน - จดั หาวสั ดุ/อุปกรณ์ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การทาโครงงาน - คิดออกแบบโครงงาน - จดั ทาบอร์ดโครงงาน นายสราวธุ เลก็ สาคร ม.ตน้ รหสั นกั ศกึ ษา 6112000052
ชื่อ-นามสกลุ หน้าท่คี วามรับผิดชอบ หมายเหตุ - สมาชิกกลมุ่ โครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน - จดั หาวสั ดุ/อุปกรณ์ที่เก่ียวขอ้ งกบั การทาโครงงาน - คดิ ออกแบบโครงงาน - จดั ทาบอร์ดโครงงาน นางสาวอภญิ ญา แกว้ สมทอง ม.ตน้ รหสั นกั ศึกษา 6212000055 ท่ปี รึกษาโครงงาน นางสาวสุรีรัตน์ เอ้ียวพนั ธ์ ครู กศน.ตาบลบางนกแขวก
บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วข้อง ท่อ PVC ประวตั ิความเป็นมาของท่อ พีวีซี สาร พ.ี ว.ี ซี. ไดถ้ ูกคน้ พบเป็ นคร้ังแรกในคริสตศ์ ตวรรษทีแ่ ลว้ จุดเริ่มน้นั เกิดจากการทีน่ กั วทิ ยาศาสตร์กลุ่ม หน่ึง ทาการศกึ ษาปฏิกิริยาของสารอินทรียแ์ กลชนิดใหม่ (Vinyl Chloride, C2H3CL) ที่พวกเราไดป้ ระดิษฐ์ข้ึน และพบปรากฏการณ์ประหลาด เม่ือสารน้ีตอ้ งแสงแดด คือการเกิดการรวมตวั ของของแข็งสีขาวท่ีกน้ หลอด ทดลอง อนั ที่จริงปรากฏการณ์น้ีมีชื่อทางเคมีว่าการเกิด Polymerization ซ่ึงทาให้ไดส้ ารพลาสติกชนิดใหม่ Polyvinyl Chloride นักวทิ ยาศาสตร์ได้พบวา่ สารใหม่น้ีไม่ทาปฏิกิริยากบั สารเคมีทว่ั ๆ ไป และที่สาคญั คือ ไม่สามารถทาลายมนั ได้ แต่เนื่องจาก พ.ี ว.ี ซี. มีคุณสมบตั ิต่อตา้ นการเปล่ียนแปลงใด ๆ ทาให้ยากท่ีจะนามาใช้ ประโยชน์ ดว้ ยเหตุน้ีการ พฒั นาสาร พ.ี ว.ี ซี. จงึ หมดไป กระทง่ั ปี ค.ศ. 1920 เศษ จึงไดม้ ีการคน้ ควา้ เก่ียวกบั สาร พี.วี.ซี. อีกในยโุ รปและอเมริกาเหนือ ในช่วงน้ีได้ มีการนาเอา พ.ี ว.ี ซี. มาใชป้ ระโยชน์อยา่ งจริงจงั โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในประเทศเยอรมนั โดยในปี ค.ศ. 1930 เศษ นักวิทยาศาสตร์และวิศวกร ชาวเยอรมนั ได้นาการพฒั นาและผลิตท่อ พี.วี.ซี. จานวนจากัดออกมาใช้งาน ท่อพวี ซี ี เหล่าน้ียงั คงปรากฏและใชง้ านไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพจนตราบเทา่ ทุกวนั น้ี ในตอนปลายของสงครามโลกคร้งั ที่ 2 เยอรมนั ถูกโจมตที างอากาศอยา่ งหนกั หน่วงเมืองตา่ ง ๆ ถูกทาลายแต่ ประชาชนกย็ งั เอาชีวติ รอดอยไู่ ดด้ ว้ ยการอาศยั ตามซากปรักหกั พงั ของอาคาร ส่ิงทเ่ี ป็ นปัญหาใหญ่คอื ระบบส่งน้า และระบายน้าทถี่ กู ทาลาย วกิ ฤติการณ์น้ียงิ่ ทวคี วามรุนแรงข้ึนอีกเมื่อฝ่ ายสมั พนั ธมิตรโจมตีแควน้ รูห์ และแควน้ ซาร์ ซ่ึงเป็ นแหล่งผลิตเหล็กและแร่อื่น ๆ ปัจจบุ นั ท่อท่อ พวี ีซี มีบทบาทสาคญั ในตลาดโลกมาก จากสถิตกิ ารผลิตท่อ พวี ซี ีในสหรฐั อเมริกา ปี ค.ศ. 1976 ปรากฏวา่ มีจานวนผลิตถึง 1.5 พนั ลา้ นปอนด์ ต่อปี มาตรฐานท่อ พวี ีซีในสหรฐั อเมริกาไดถ้ ูกกาหนดข้ึน ในปี ค.ศ. 1940 เศษ โดย The American Society for Testing and Materials (ASTM)
สาหรบั ประเทศไทยน้นั ท่อพวี ซี ี เริ่มเป็นทร่ี ู้จกั และใชก้ นั เมื่อประมาณ 20 ปี ทีผ่ า่ นมา และปัจจุบนั กาลงั เป็นทร่ี ูจ้ กั และใชก้ ารอยา่ งแพร่หลาย จนสานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดก้ าหนดมาตรฐาน ท่อพีวซี ี และอุปกรณ์ตอ่ ท่อพวี ีซี ข้นึ โดยแบง่ แยกสีตามการใชง้ าน เช่น มาตรฐาน ผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมท่อ พวี ซี ี แขง็ สาหรบั ใชเ้ ป็ นทอ่ ร้อยสายไฟฟ้า สายโทรศพั ท์ (มอก. 216-2520) กาหนด เป็นท่อสีเหลืองอ่อน (Primerose) มาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม ท่อพีวซี ี แขง็ สาหรบั ใชเ้ ป็ นทอ่ น้าดื่ม (มอก. 17-2523) กาหนดเป็นท่อสีน้าเงนิ (Arctic Blue) มาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมท่อ พีวซี ีแขง็ สาหรบั ใช้ ในงานอุตสาหกรรมและชลประทาน(มอก.)กาหนดเป็ นสีเทาเป็นตน้ นอกจากน้ียงั มีมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุปกรณ์ สาหรับตน้ ทอ่ ซ่ึงกาหนดสีตาม ท่อพวี ซี ี สาหรับใชง้ านต่าง ๆ กนั ท่อร้อยสายไฟสีเหลือง - เหมาะกบั ระบบไฟฟ้าท่ฝี ังในผนงั โดยติดต้งั ก่อนการฉาบปนู ปกปิ ดผวิ การดดั โคง้ มีขอ้ จากดั ดา้ นความ สวยงาม เพราะจะเห็นเน้ือสีขาวของทอ่ บริเวณที่ดดั มาตรฐานการผลิตอุตสาหกรรม (มอก.) 216-2524 • ทอ่ พวี ซี ี สีฟ้า ท่อพีวซี ีสีฟ้า หรือ ท่อพีวีซีแข็งสาหรับใชเ้ ป็ นท่อน้าด่ืม ตามมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม หรือ มอก. 17-2532 ท่อชนิดน้ีเป็นทนี่ ิยมใชง้ านประปาสุขาภิบาลภายในอาคาร เช่น ใชเ้ ป็ นท่อน้าประปา หรือใชก้ บั
ปั๊มน้า ซ่ึงท่อประเภทน้ีเป็นเพยี งประเภทเดียวใน 3 สหายของเราท่ีมีการระบุมาตรฐานความดนั หรือช้นั คุณภาพ อนั ไดแ้ ก่ PVC 5, PVC 8.5, PVC 13.5 ซ่ึงตวั เลขทีไ่ ดร้ ะบคุ อื ค่าความดนั ระบแุ ละคา่ ความดนั ระบหุ มายถึง ความ ดนั ท่กี าหนดใหส้ าหรบั ใชง้ าน ณ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส โดยในมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมไดอ้ ธิบาย ไวว้ า่ ช้นั คุณภาพคอื ความดนั ระบทุ ีม่ ีหน่วยเป็ นเมกะพาสคลั ท่อ PVC คอื ท่อทท่ี าข้ึนจากโพลิไวนิลคลอไรด์ โดยไม่ผสมพลาสตกิ ไซเซอร์ ซ่ึงชื่ออยา่ งเป็ นทางการท่ี ไดร้ ะบุใน มอก. คือ ท่อพีวีซีแข็ง แต่คนทวั่ ไปน้ันจะรู้จกั มกั คุน้ กนั ในช่ือท่อ PVC กนั มากกวา่ โดยในปัจจุบนั ท่อชนิดน้ีเป็ นที่นิยมอยา่ งมากในวงการก่อสรา้ ง เพราะดว้ ยคุณสมบตั ิท่ีดีหลายอยา่ งไม่วา่ จะเป็ น คุณสมบตั ิท่ีมี ความเหนียวยดื หยนุ่ ตวั ไดด้ ี ทนต่อแรงดนั น้า ทนต่อการกดั กร่อน ไม่เป็ นฉนวนนาไฟฟ้าเพราะไม่เป็ นตวั นา ไฟฟ้า เป็ นวสั ดุไม่ติดไฟ น้าหนักเบาอีกท้งั ยงั ราคาถูกอีกดว้ ย ท่อ PVC จึงถูกนามาใชใ้ นงานหลาย ๆ ระบบ อาทเิ ช่น ระบบประปา ระบบงานรอ้ ยสายไฟฟ้า ระบบงานระบายน้าทางการเกษตร/อุตสาหกรรม ทอ่ ร้อยสายไฟสีขาว นิยมใชใ้ นงานต่อเตมิ และงานดีไซน์ แบบเดินลอยบนผนังดว้ ยสีท่ีดูกลมกลืนกบั ผนังสามารถดดั โคง้ งอได้ถึง 90 องศา โดยใชส้ ปริงดัดท่อแทนความร้อนไดส้ ะดวก และประหยดั ข้อต่อ มาตรฐานสากล JIS C 8430 (มาตรฐานญีป่ ่ นุ ) และ BS หรือ IEC 61386 (มาตรฐานองั กฤษ)
ท่อพีวซี ี สีเทา ท่อพีวีซีสีเทา หรือท่อพวี ีซีแข็งสาหรับใช้ในงานอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม หรือ มอก. 999-2533 ท่อชนิดน้ีถูกผลิตข้ึนมาเพือ่ ใชใ้ นงานการเกษตรหรืองานระบายน้าทิ้งโดยเฉพาะ เหมาะ กบั งานทไ่ี ม่ตอ้ งใชแ้ รงดนั ของทอ่ มากนกั แต่ท่อประเภทน้ีทาง สมอ. หรือสานกั งานมาตรฐาน ผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม ยงั ไม่ไดก้ าหนดเป็ นกฎเกณฑต์ ายตวั วา่ ตอ้ งใชผ้ ลิตภณั ฑท์ ่ีมี มอก. 999-2533 สาหรับในงานระบายน้าทง้ิ หรืองานดา้ นการเกษตร แต่ถา้ หากจะนาไปใชใ้ นงานดา้ นอุตสาหกรรมจาเป็ นอยา่ ง ยง่ิ ที่จะตอ้ งใช้ท่อพีวีซีสีเทาท่ีมี มอก. 999-2533 เพราะทาง สมอ. จาเป็ นตอ้ งคานึงถึงความปลอดภยั ด้าน ส่ิงแวดลอ้ ม เพราะการระบายน้าท้ิงในงานอุตสาหกรรมอาจมีสารพษิ หรือสารเคมีเจือปน ระบายออกมาดว้ ย ท่อพวี ซี ีมีขนาดมาตรฐานเร่ิมต้งั แต่ ½” ถึง 12” โดยขนาดทอ่ พวี ซี ีท่ีทกุ คนเรียกกนั ไม่วา่ จะ ½” หกหุน หรือ 80 มม .เป็นขนาดทีเ่ รียกวา่ ‘ขนาดระบุ’ หรือขนาดที่ช่างมีไวเ้ รียกสินคา้ ซ่ึงจะไม่ตรงกบั ขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง ของจริง – ขนาดท่อพวี ซี ีที่ขายในตลาดพรอ้ มขนาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง) OD) มีดงั น้ี ½” (ส่ีหุน) หรือ 18 มม. – เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 22 มม ¾” (หกหุน) หรือ 20 มม. – เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 26 มม 1” หรือ 25 มม. – เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 34 มม 1¼” หรือ 35 มม. – เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 42 มม 1½” หรือ 40 มม. – เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 48 มม 2” หรือ 55 มม. – เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 60 มม 2½” หรือ 65 มม. – เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 76 มม 3” หรือ 80 มม. – เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 89 มม 4” หรือ 100 มม. – เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 114 มม 5” หรือ 125 มม. – เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 140 มม 6” หรือ 150 มม. – เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 165 มม 8” หรือ 200 มม. – เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 216 มม 10” หรือ 250 มม. – เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 267 มม 12” หรือ 300 มม. – เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 318 มม
นา้ ประโยชนข์ องน้าที่มีผลต่อตน้ ไม้ น้าเป็ นช่วยตวั ละลายแร่ธาตุอาหารในดิน และเป็ นตวั กลางนาธาตุอาหารเขา้ สู่ส่วนต่างๆของพืช นอกจากน้ีน้ายงั เป็นวตั ถุดิบในการสงั เคราะห์แสงทีส่ าคญั ตลอดจนช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดิน ทาใหด้ ิน ร่วนซุย ช่วยรักษาอุณหภูมิของดินให้พอเหมาะ ไม่ร้อนจดั หรือเยน็ จดั จนเกินไป ทาให้อินทรียวตั ถุสลายตวั และเก้ือกลู จลุ ินทรีในดินท่เี ป็ นประโยชนแ์ ก่พชื ใหม้ ีชีวติ อยไู่ ด้ น้าที่พชื ดูดไดจ้ ากดินน้ันส่วนใหญ่จะสูญเสียไป ในอากาศ ในรูปแบบของการคายไอน้า จะถูกนาไปสรา้ งเป็นส่วนประกอบของสารเคมีเพยี ง0.1-0.3%เท่าน้นั ดนิ เป็ นปัจจยั สาคญั อนั ดับแรก ดินท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพชื ตอ้ งเป็ นดินที่อุม้ น้าไดด้ ี ร่วนซุย มีอินทรีย์ วตั ถุมาก แต่เม่ือใชด้ ินปลูกไปนานๆ ดินอาจเสื่อมสภาพ เช่น หมดแร่ธาตุ จาเป็ นตอ้ งมีการปรับปรุงดิน ใหอ้ ุดมสมบูรณ์ ไดแ้ ก่ การไถพรวน การใส่ป๋ ยุ การปลูกพชื หมุนเวยี น เป็ นตน้
ชนิดของดินทเ่ี หมาะกบั การเพาะปลูกพืช ดินทีเ่ หมาะสมกบั การเพาะปลูกพชื ไดแ้ ก่ 1.1 ฮิวมสั คอื ซากพชื ซากสตั วท์ ่ตี ายและเน่าเปื่ อยแลว้ อาจไดจ้ ากใบหญา้ ใบไม้ ซ่ึงกองทบั ถมกนั อยนู่ าน ๆ จนเน่าเป่ื อย มูลสตั ว์ เช่น มูลววั ควาย เป็ ด ไก่ และหมู เม่ือใส่ไปในดินก็ทาใหด้ ินดี ข้ึนเพราะมูลสตั ว์ เม่ือปนอยใู่ นดินกเ็ น่าเป่ื อยกลายเป็ นฮิวมสั ดินอุดมมกั มีสีดา เมื่อแหง้ ไม่แขง็ เหมือนดินเหนียว น้าซึมผา่ นไดพ้ อสมควร เป็นดินทพี่ ชื ส่วนมากชอบ 1.2 ดินอุดม เป็ นดินที่อุม้ น้าไวไ้ ดด้ ีพอสมควร พอเหมาะที่จะทาใหต้ น้ ไมเ้ จริญงอกงามดี 1.3 ดินร่วน เป็นดินท่ีมีลกั ษณะซุยมีสีต่างๆ กนั บางชนิดมีสีคอ่ นขา้ งดามีน้าหนักเบาเน่ืองจากมีอินทรีย์ วตั ถุผสมอยมู่ าก มีอาหารบริบูรณ์ การอุม้ น้าของดินพอเหมาะแก่พชื อุม้ ความร้อนไวพ้ อเพยี งอากาศถ่ายเทได้ สะดวก การระบายน้าดี เวลาฝนตกก็ไม่ช้ืน 1.4 ดินเหนียว เป็ นดินที่มีลกั ษณะเป็ นเม็ดละเอียดมาก เวลาแห้งจะจบั กนั เป็ นก้อนแข็งแตกระแหง เวลาถูกน้าจะเป็ นโคลนตม ทาให้สมบัติของดินเปล่ียนไป เวลาฝนตกน้ าซึมลงช้า เพราะเม็ดดินละเอียด สามารถอุม้ น้าไดด้ ีกวา่ ชนิดอื่น ๆ อากาศถ่ายเท หรือผา่ นเขา้ ออกระหวา่ งเมด็ ดินไม่ไดด้ ี มีอาหารพชื บา้ งเล็กนอ้ ย แลว้ แตช่ นิดของดิน ดินเหนียวมีหลายชนิด มีสีตา่ ง ๆ กนั 1.5 ดินทราย เป็นดินท่มี ีทรายอยเู่ ป็ นส่วนใหญ่ ดินชนิดน้ีมีเน้ือหยาบร่วน ไม่จบั กนั เป็ นกอ้ น น้าซึมผา่ น ไปไดง้ า่ ย
ระบบนา้ หยด เป็นเทคโนโลยกี ารชลประทานวธิ ีหน่ึงในหลายวธิ ีเป็นการใหน้ ้าแก่พชื โดยการส่งน้าผา่ นระบบท่อและ ปล่อยน้าออกทางหวั น้าหยดซ่ึงตดิ ต้งั ไวบ้ ริเวณโคนตน้ พชื น้าจะหยดซึมลงมาบริเวณรากชา้ ๆ สม่าเสมอในอตั รา 4-20 ลิตร / ชว่ั โมง ทีแ่ รงดนั 0.3-2 บาร์ ข้ึนอยกู่ บั ระบบ ชนิดพชื ขนาดพน้ื ท่ี และชนิดของดิน จุดมุ่งหมายสาคญั ของการใหน้ ้าแบบน้ีก็เพอ่ื ที่จะรักษาระดบั ความช้ืนของดิน บริเวณรากพืชให้อยใู่ นระดบั ท่ีรากพืชดูดไปใชไ้ ด้ อยา่ งง่าย สร้างความเจริญเตบิ โตไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ พอเหมาะ และเป็ นไปตามความตอ้ งการของพืช ส่งผลใหพ้ ืช เจริญเติบโตอยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยมีคณุ ลกั ษณะที่สาคญั ดงั ต่อไปนี้ 1) เป็ นวธิ ีการใหน้ ้าดว้ ยอตั ราทลี ะนอ้ ยๆ (นอ้ ยกวา่ 250 ลิตร/ชม.) 2) เป็ นวธิ ีการใหน้ ้าที่ใชเ้ วลานาน (นานมากกวา่ 30 นาที) 3) เป็ นวธิ ีการใหน้ ้าช่วงบ่อยคร้งั (ไม่เกิน 3 วนั คร้งั ) อาจจะทาไดโ้ ดยใชเ้ ครื่องต้งั เวลาอตั โนมตั ิ 4) เป็ นวธิ ีการใหน้ ้าโดยตรงในบริเวณเขตรากพชื หรือเขตพมุ่ ใบ (เปี ยกอยา่ งนอ้ ย 60%) 5) เป็ นวธิ ีการใหน้ ้าดว้ ยระบบท่อที่ใชแ้ รงดนั ต่า ( แรงดนั ทห่ี วั จ่ายน้าประมาณ 2 บาร์ องค์ประกอบหลกั ของระบบให้น้าแบบหยด อุปกรณ์ท่ีสาคญั จะตอ้ งมีในระบบ ไดแ้ ก่ หัวจ่ายน้า ท่อแขนง ท่อประธานยอ่ ย ท่อประธาน ประตูน้า เครื่องกรองน้า และป๊ัมน้า 12V 24V หรือ 220V เป็ นตน้ นอกจากน้ี บางคร้ังก็อาจจาเป็ นตอ้ งมีอุปกรณ์พเิ ศษ เพิ่มข้ึนอีกตามความเหมาะสม โดยเฉพาะอุปกรณ์ท่ีถือว่าเป็ นเคร่ืองควบคุมการจ่ายน้ าตน้ ทาง อันได้แก่ เคร่ืองวดั ปริมาณการไหลของน้า เคร่ืองฉีดผสมป๋ ุยหรือสารเคมี เคร่ืองควบคุมความดนั วาลว์ ป้องกนั น้าไหล กลบั วาลว์ ระบายอากาศ เป็นตน้ ข้อดีของน้าหยดมหี ลายประการ ประหยดั น้ามากกวา่ ทกุ ๆวธิ ีไม่วา่ รดดว้ ยมือหรือใชส้ ปริงเกอร์หรือวธิ ีอื่นใดกต็ ามและแกป้ ัญหาภาวะวกิ ฤต การขาดแคลนน้าในบางฤดูซ่ึงเร่ิมเกิดข้นึ ในปัจจุบนั 1. ประหยดั ตน้ ทุนในการบริหารจดั การ กล่าวคอื ลงทนุ คร้งั เดียวแตใ่ หผ้ ลคุม้ ค่าในระยะยาว การติดต้งั อุปกรณ์ไม่ยงุ่ ยาก ติดต้งั คร้ังเดียวและใชง้ านไดต้ ลอดอายุ สามารถควบคุมการ เปิ ด-ปิ ดน้า โดยใชร้ ะบบ manual และ automatic หรือ micro controler โดยเฉพาะระบบต้งั เวลา ( Timer Digital ) และตรวจจบั ความช้ืนทาใหป้ ระหยดั คา่ แรง 2. ใชไ้ ดก้ บั พน้ื ที่ทกุ ประเภทไม่วา่ ดินร่วน ดินทราย หรือดินเหนียว รวมท้งั ดินเคม็ และดินด่าง น้าหยดและไมล่ ะลายเกลอื มาตกคา้ งอยทู่ ่ผี วิ ดินบน 3. สามารถใชก้ บั พชื ประเภทตา่ งๆ ไดเ้ กือบทุกชนิด เช่น มะเขอื เทศ เมล่อน ยกเวน้ พชื ทตี่ อ้ งการน้าขงั 4. เหมาะสาหรบั พน้ื ที่ขาดแคลนน้า ตอ้ งการใชน้ ้าอยา่ งประหยดั เช่น มะเขือเทศ เมล่อน 5. ใหป้ ระสิทธิภาพในการใชน้ ้าสูงท่ีสุด 75-95 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงทาใหม้ ีการสูญเสียน้านอ้ ยทส่ี ุด และเม่ือเทียบกบั การปล่อยน้าท่วมขงั มีประสิทธิภาพเพยี ง 25-50 เปอร์เซ็นต์
ในระบบสปริงเกอร์แบบตดิ ตายตวั มีประสิทธิภาพ 70-80 เปอร์เซ็นต์ และในระบบสปริงเกอร์แบบเคล่ือนยา้ ยมีประสิทธิภาพ 65-75 เปอร์เซ็นต์ 1. ประหยดั เวลาทางาน ไม่ตอ้ งคอยเฝา้ ใชเ้ วลาไปทางานอยา่ งอื่นไดเ้ ตม็ ท่ไี ปพร้อม ๆ กบั การใหน้ ้า 2. ลดการระบาดของศตั รูพชื บางชนิดไดด้ ี เช่น โรคพชื และวชั พชื 3. ไดผ้ ลผลิตสูงกวา่ การใชร้ ะบบชลประทานแบบอื่น ท้งั ดา้ นปริมาณและคุณภาพ ในขณะเดียวกนั กป็ ระหยดั ตน้ ทุนน้า ทาใหม้ ีกาไรสูงกวา่ ระบบน้าหยด สามารถใหป้ ๋ ยุ และสารเคมีอื่นละลายไปกบั น้าพร้อมๆกนั ทาใหไ้ ม่ตอ้ งเสียเวลาใส่ป๋ ุยพน่ ยาอีก ท้งั น้ีตอ้ งติดต้งั อุปกรณ์จ่ายป๋ ยุ (injector) เขา้ กบั ระบบ ข้อจากัดของระบบนา้ หยด 4. ระบบน้าหยดเป็ นเทคโนโลยใี หม่สาหรบั เกษตรไทยจึงมีขอ้ จากดั อยู่ ตอ้ งใชต้ น้ ทุนสูงในระยะแรก 5. การติดต้งั ตอ้ งอาศยั ผเู้ ชี่ยวชาญมาใหค้ าแนะนา และเกษตรกรจะตอ้ งมีความรู้ปริมาณการใชน้ ้าของพชื แต่ละชนิดทป่ี ลูก เช่น มะเขือเทศ ตอ้ งการปริมาณน้าประมาณ 40 มิลลิเมตร/ไร่/วนั หรือประมาณ 1.5 ลิตร/ตน้ /วนั เป็นตน้ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกแบบตดิ ต้งั และบริหารระบบ จะตอ้ งคานึงถึงการจดั การระบบ เช่น ระยะเวลาใหน้ ้า การใชป้ ๋ ยุ ชนิดป๋ ยุ ตลอดจนตอ้ งคานึงถึงปัจจยั แวดลอ้ มอ่ืนๆ พชื จงึ จะไดป้ ๋ ยุ หรือสารเคมี ใชอ้ ยา่ งพอทุกช่วงการเจริญเตบิ โต การบริหารระบบนา้ หยดให้ได้ผลสูงสุด มี 3 ประการ คอื 6. การใหน้ ้าปริมาณท่เี หมาะสม กบั ความตอ้ งการของพชื แต่ละชนิด 7. การใหป้ ๋ ยุ ปริมาณทีเ่ หมาะสม ซ่ึงจะละลายผา่ นเขา้ สู่ระบบ 8. การวางแผนการบารุงรกั ษาระบบ เพอื่ ใหไ้ ดป้ ระโยชน์ยาวนานทสี่ ุด
บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงาน วิธีการดาเนินงาน 1. ครูและสมาชิกกลุ่มประชุมศกึ ษาจดั เสนอหวั ขอ้ โครงงาน 2. หวั หนา้ กลุ่มวางแผนแบ่งงานใหส้ มาชิกในกลุ่มรับผดิ ชอบตามความถนดั แตล่ ะคน 3. ศึกษาคน้ คา้ หาขอ้ มูลจากเอกสาร เวบ็ ไซดใ์ นเบ้ืองตน้ เก่ียวกบั งานระบบน้าหยด 4. นดั รวมกลุ่มสมาชิกเพอื่ เตรียมความพรอ้ มและลงมือปฏบิ ตั ิ 5. นาขอ้ มลู เน้ือหาในรูปเล่มส่งใหอ้ าจารยท์ ่ีปรึกษาตรวจสอบความถูกตอ้ ง 6. ปรบั ปรุงแกไ้ ขงานตามคาเสนอแนะของอาจารยท์ ่ีปรึกษา 7. ตรวจทานรูปเล่มและปรับปรุงแกไ้ ขช้ินงานใหเ้ รียบร้อย 8. สมาชิกจดั ทาบอร์ดนาเสนอ ส่งช้ินงานและนาเสนอขอ้ มูล งบประมาณ 1. วสั ดุอุปกรณ์ ท่อ PVC 4 หุน 1 เสน้ 60 บาท 2. สามทาง 4 หุน 1 ตวั 50 บาท 3. ฝาครอบ 4 หุน 2 ตวั 60 บาท 4. สตอ๊ ปวาลว์ 4 หุน 1 ตวั 30 บาท 5. ใบเล่ือยตดั เหล็ก 1 ใบ 120 บาท 6. ช้นั วางกระถางเลก็ 1 ช้นั 99 บาท 7. กล่องโฟมขนาดเลก็ 1 กล่อง 50 บาท 8. ตน้ ไมพ้ รอ้ มกระถางเลก็ 4 ตน้ 80 บาท 9. ลวดเสน้ เลก็ 1 ขด 30 บาท 10. กาวทาทอ่ 1 กระป๋ อง 30 บาท 11. กระดาษทรายละเอียด 1 แผน่ 20 บาท 12. ดินน้ามนั 5 กอ้ น 50 บาท รวมทงั สิ้น 679 บาท
วสั ด/ุ อปุ กรณ์ในการทาโครงงานการรดนา้ ต้นไม้แบบประหยดั พลงั งาน 1.ท่อ PVC 2. สามทาง 4 หุน 3. สวา่ น 4. ใบเล่ือยตดั เหล็ก 5. สตอ็ ปวาลว์ 6. ฝาครอบ
7. กาวทาท่อ 8.ลวดเสน้ เล็ก 8. 10. ตน้ ไมพ้ รอ้ มกระถางใบเล็ก 9. ถงั น้าใบเล็ก 11.ดินน้ามนั 12 .กระดาษทราย
13.ช้นั วางกระถางเลก็
ข้นั ตอนในการทาโครงงานการรดนา้ ต้นไม้แบบประหยัดพลังงาน 1. ครูแบง่ กลุ่มและใหน้ กั ศึกษานาเสนอชื่อโครงงานและรูปแบบชิ้นงาน 2. หวั หนา้ กลุ่มวางแผนและแบง่ หนา้ ทใ่ี หส้ มาชิกโดยมอบหมายงานใหร้ บั ผดิ ชอบ
3. จดั เตรียมวสั ดุอุปกรณ์ใหพ้ ร้อม 4.ใชส้ วา่ นไฟฟ้าเจาะกน้ ถงั น้าใบเลก็ ใหพ้ อดีกบั ทอ่ น้า PVC
5. ใชม้ ีดคตั เตอร์ขดู รอบๆตรงทีเ่ จาะใหเ้ รียบรอ้ ยเพอื่ ใส่ทอ่ PVC 6.ตดั ท่อ PVC ใหย้ าวประมาณ 1 คืบเพอื่ ทจี่ ะนาไปใส่ทถี่ งั น้า
7. นาท่อ PVC ที่ตดั แลว้ มาใส่ทก่ี น้ ถงั น้าทเ่ี จาะไวแ้ ลว้ ใชก้ าวร้อนทารอบๆบริเวณทอ่ 8.เอาถงั น้าทเี่ จาะเรียบร้อยมาวดั ทช่ี ้นั วางของแลว้ ทาการเจาะ
9.เอาถงั น้ามาวางลงบนช้นั วางของเรียบร้อยแลว้ เอาดินน้ามนั มาอุดรอบๆทอ่ ท่ดี า้ นในถงั น้า เพอ่ื กนั น้าซึมออกตามรอยเจาะ 10. เอาสตอ๊ ปวาลว์ มาสวมใส่ท่อ PVC ท่ีต่อไวต้ รงกน้ ถงั น้า
11. ตดั ท่อประมาณ 1 คบื ขดั ดว้ ยกระดาษทรายทากาวทาท่อแลว้ เอามาสวมท่สี ตอ๊ ปวาลว์ จากน้นั เอากระดาษ ทรายมาขดั ทปี่ ลายทอ่ อกี ดา้ นทากาวแลว้ เอาขอ้ ตอ่ ทอ่ แบบสามทางมาสวมใส่ 12. ตดั ทอ่ ใหม้ ีความยาวประมาณ 4.5 น้ิวจานวน 2 ทอ่ น (ความยาวของท่อข้ึนอยกู่ บั ขนาดความกวา้ ง ของช้นั วาง)
13. นาเอาท่ออนั ที่ 1 มาขดั ดว้ ยกระดาษทรายท้งั สองดา้ นแลว้ ทาดว้ ยกาวมาสวมเขา้ กบั ขอ้ ต่อทอ่ สามทาง ส่วนดา้ นที่ทากาวอีกฝั่งเอาฝาครอบมาสวมใหส้ นิท (ท่ออนั ที่2ทาตามแบบท่อเสน้ แรก) 14. เมื่อกาวแหง้ สนิทใชส้ วา่ นเจาะทที่ อ่ เพอื่ ทารุใหน้ ้าหยด
15. เอาชิ้นงานมาทดสอบการไหลของน้า 16. เพม่ิ ความแขง็ แรงของถงั น้าโดยการเจาะขอบปากถงั น้าแลว้ ผกู ยดึ ดว้ ยลวดเสน้ เลก็
17. ทาการเจาะรูช้นั ล่างสุดเพอ่ื กนั น้าขงั ตรวจสอบความเรียบร้อยของช้ินงาน ผลงานที่ทาเสร็จแล้ว โครงงานการรดนา้ ต้นไม้แบบประหยัดพลังงาน
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน จากการศกึ ษาการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งานซ่ึงดาเนินการโดยทดลองเปรียบเทยี บระหวา่ งการรดน้า ตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งานกบั การรดน้าตน้ ไมป้ กตโิ ดยใชป้ ริมาณน้าเทา่ กนั ไดผ้ ลการศกึ ษาดงั น้ี ตารางที่ 1 ตารางเปรียบเทียบความชื้นของดินในการรดนา้ แบบปกติ กบั การรดน้าประหยัดพลังงาน การรดน้า 2 ชั่วโมง ความช้ืนของดิน 6 ชั่วโมง ดินมีความชุ่มช้ืน ดินความชุ่มช้ืนนอ้ ย การรดน้าแบบปกติ ดินมีความชุ่มช้ืนนอ้ ย 4 ชั่วโมง ดินมีความชุ่มช้ืน การรดน้าประหยดั พลงั งาน ดินมีความชุ่มช้ืนลดลง ดินมีความชุ่มช้ืนเพม่ิ มาก ข้ึนต่อเน่ืองในเวลาท่รี ดน้า จากตารางท่ี 1 ผลการศึกษาพบวา่ ความช้ืนของดินเพม่ิ มากข้ึนเมอ่ื ใชว้ ธิ ีการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน ส่วนดินท่ีรดน้าแบบปกตเิ มื่อสงั เกตตามระยะเวลาท่กี าหนดพบวา่ ความชุ่มช้ืนของดินลดลง ในระยะเวลา 1 นาที น้าหยด 29 หยดไดป้ ริมาณน้า 37 มล. ในระยะเวลา 6 ชม. ไดป้ ริมาณน้า 1,332 มล. การประเมนิ ผล การศึกษาขอ้ มูลและข้นั ตอนการทาโครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งานไดศ้ ึกษาและเขา้ ใจ ถึงท่ีมาและประโยชนข์ องการนาวสั ดุมาทาโครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งานมากข้ึน การปฏิบตั ิงานและการทาช้ินงานข้ึนในโครงงานไดฝ้ ึกทกั ษะในการประดิษฐช์ ิ้นงานเพอื่ นาไปสร้าง อาชีพใหก้ บั ตนเองการคดิ ในการอออกแบบอยา่ งสร้างสรรคก์ ารนาวสั ดุทใี่ ชแ้ ลว้ นากลบั มาใชใ้ หม่เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดอีกท้งั ความรูท้ ไ่ี ดย้ งั นาไปถ่ายทอดใหก้ บั บุคคลอื่นเพอ่ื เป็ นการสร้างสงั คมท่ดี ีในชุมชน ในการคดิ สร้างสรรคเ์ กี่ยวกบั อาชีพใหม่ๆ การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบความร่วมมือของสมาชิกในกลุ่มเป็ นหัวใจของการทางานการเรียนรู้ ท่จี ะแกไ้ ขปัญหาร่วมกนั รบั ฟังความคดิ เห็นของแตล่ ะคนจากการทไี่ ดร้ ่วมงานกนั มาทาใหม้ ิตรภาพของเราทุกค นแน่นแฟ้นยง่ิ ข้นึ
ปัญหาทพ่ี บในการปฏิบัตงิ าน 1. สมาชิกในกลุ่ม ไม่มคี อมพวิ เตอร์ที่บา้ นและใชค้ อมพวิ เตอร์ไม่เป็น 2. กน้ ถงั น้าเกิดรอยรา้ วจากการใส่ท่อ PVC การแก้ไขปัญหา 1. สมาชิกในกลุ่มขอใชบ้ ริการเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทีห่ อ้ งสมุดประชาชนฯและใหบ้ รรณารักษ์ สอนการใชค้ อมพวิ เตอร์ 2. แกป้ ัญหาโดยการใชก้ าวร้อนทาตรงรอยรา้ วและใชด้ ินน้ามนั ทาทบั อีกช้นั ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ 1. ประหยดั น้า 2. ประหยดั เวลาในการรดน้า 3. ฝึกการคดิ เป็น ทาเป็น ไดช้ ิ้นงานตรงตามแบบของกล่มุ เรา
บทท่ี 5 สรุปอภปิ รายผลการดาเนินงาน สรุปผลการดาเนินงาน จากการท่ีไดป้ ฏิบตั ิงานในการจดั ทาโครงงานการรดน้าตน้ ไมแ้ บบประหยดั พลงั งาน ตามเป้าหมายท่ี กาหนดเอาไว้ ทกุ ประการสมาชิกในกลุ่มใหค้ วามร่วมมือในการปฏบิ ตั งิ านเป็ นอยา่ งดี แมจ้ ะมีอุปสรรค แต่กลุ่ม เราก็ผา่ นมนั ไปไดแ้ ละนกั ศึกษาไดร้ บั ประโยชน์จากการ ปฏิบตั ิงานเป็ นอยา่ งดี ในส่วนของนกั ศึกษาสมาชิกใน กลุ่มเรียนรู้การทางานเป็ นกลุ่มการออกแบบและสร้างสรรคช์ ้ินงานที่เป็ นของส่วนรวม แกไ้ ขร่วมกนั ทาให้เกิด มิตรภาพที่ดีงามความรักความสามคั คี ซ่ึงเป็ นปัจจยั หลกั ของการทางาน และเป็ นพ้นื ฐานในการสร้าง สงั คม ชุมชน และประเทศชาติทดี่ ีตอ่ ไป อภิปรายผล การรดน้าแบบประหยดั พลงั งานเป็ นการรดน้าดว้ ยวธิ ีน้าหยดจึงทาใหด้ ินมีความช้ืนตลอดเวลาและนาน กวา่ การรดน้าแบบปกติเน่ืองจากระบบน้าหยดเป็นวธิ ีหน่ึงในหลายวธิ ีเป็ นการใหน้ ้าแก่พชื โดยการส่งน้าผา่ นทอ่ และปล่อยน้าออกจากทางหวั หยด ซ่ึงติดต้งั ไวบ้ ริเวณโคนตน้ พชื น้าจะหยดซึมลงรากชา้ ๆสม่าเสมอ ทาใหด้ ินมี ความช้ืนคงท่ใี นระดบั ทพ่ี ชื ตอ้ งการและเหมาะสมตลอดเวลาส่งผลใหพ้ ชื เจริญเตบิ โตอยา่ งมีประสิทธิภาพ ข้อเสนอแนะ ควรมีการพฒั นาเพม่ิ ช้นั วางตน้ ไมห้ ลายๆช้นั เพอ่ื ความสวยงามสามารถนาไปใชใ้ นการประดบั ตกแตง่ สวน ไดแ้ ละยงั เป็นการประหยดั น้าและกาลงั คนที่จะรดน้า
บรรณานุกรม นำ้ มีประโยชนอ์ ย่ำงไรตอ่ พืช. (ออนไลน์). เข้ำถึงได้จำก http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=44bf0af703a94298. (วันที่คน้ ข้อมูล : 30 มกรำคม 2563). ดนิ คอื อะไร และส้ำคญั อย่ำงไร. สำ้ นักส้ำรวจและวจิ ัย ทรัพยำกรดนิ . (ออนไลน์). เข้ำถึงไดจ้ ำกhttp://oss101.ldd.-go.th/web_soils_for_youth/s_meaning2.htm. (วันท่คี ้นข้อมลู : 30 มกรำคม 2563). ระบบน้ำหยด. (ออนไลน์). เข้ำถงึ ไดจ้ ำกhttp://www.sprinklethai.com/index.php?lay=show&ac=article&I- d=459021. (วันที่ค้นขอ้ มูล : 30 มกรำคม 2563).
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ประชุมวางแผน 1. ครูแบง่ กลุ่มและใหน้ กั ศึกษานาเสนอชื่อโครงงานและรูปแบบชิ้นงาน 2. หวั หนา้ กลุ่มวางแผนและแบ่งหนา้ ที่ใหส้ มาชิกโดยมอบหมายงานใหร้ บั ผดิ ชอบ
ภาคผนวก ข เครื่องมือท่ใี ช้ในการท้าส่ิงประดษิ ฐ์ 1. จดั เตรียมวสั ดุอุปกรณ์ใหพ้ รอ้ ม 2. ใชส้ วา่ นไฟฟ้าเจาะกน้ ถงั น้าใบเล็กใหพ้ อดีกบั ทอ่ น้า PVC
3. ใชม้ ีดคตั เตอร์ขดู รอบ ๆ ตรงทเ่ี จาะใหเ้ รียบรอ้ ยเพอื่ ใส่ทอ่ PVC 4. ตดั ทอ่ PVC ใหย้ าวประมาณ 1 คืบเพอ่ื ทีจ่ ะนาไปใส่ท่ถี งั น้า
5. นาท่อ PVC ที่ตดั แลว้ มาใส่ทก่ี น้ ถงั น้าทีเ่ จาะไวแ้ ลว้ ใชก้ าวร้อนทารอบๆบริเวณทอ่ 6. เอาถงั น้าทเี่ จาะเรียบร้อยมาวดั ทช่ี ้นั วางของแลว้ ทาการเจาะ
7. เอาถงั น้ามาวางลงบนช้นั วางของเรียบร้อยแลว้ เอาดินน้ามนั มาอุดรอบๆทอ่ ท่ดี า้ นในถงั น้า เพอื่ กนั น้าซึมออกตามรอยเจาะ 8. เอาสตอ๊ ปวาลว์ มาสวมใส่ทอ่ PVC ทต่ี ่อไวต้ รงกน้ ถงั น้า
9. ตดั ท่อประมาณ 1 คบื ขดั ดว้ ยกระดาษทรายทากาวทาท่อแลว้ เอามาสวมท่ีสตอ๊ ปวาลว์ จากน้นั เอากระดาษ ทรายมาขดั ทปี่ ลายทอ่ อีกดา้ นทากาวแลว้ เอาขอ้ ตอ่ ทอ่ แบบสามทางมาสวมใส่ 10. ตดั ท่อใหม้ ีความยาวประมาณ4.5นิ้วจานวน2ทอ่ น(ความยาวของท่อข้นึ อยกู่ บั ขนาดความกวา้ ง ของช้นั วาง)
11. นาเอาทอ่ อนั ที่ 1 มาขดั ดว้ ยกระดาษทรายท้งั สองดา้ นแลว้ ทาดว้ ยกาวมาสวมเขา้ กบั ขอ้ ตอ่ ทอ่ สามทาง ส่วนดา้ นท่ที ากาวอีกฝั่งเอาฝาครอบมาสวมใหส้ นิท (ทอ่ อนั ท2ี่ ทาตามแบบทอ่ เสน้ แรก) 12. เมื่อกาวแหง้ สนิทใชส้ วา่ นเจาะทที่ อ่ เพอ่ื ทารุใหน้ ้าหยด
13. เอาชิ้นงานมาทดสอบการไหลของน้า 14. เพมิ่ ความแขง็ แรงของถงั น้าโดยการเจาะขอบปากถงั น้าแลว้ ผกู ยดึ ดว้ ยลวดเสน้ เลก็
15. ทาการเจาะรูช้นั ล่างสุดเพอื่ กนั น้าขงั ตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของชิ้นงาน 16. ผลงานทีท่ าเสร็จแลว้
Search