สารบัญ หน้า บทสรุปสาหรบั ผูบ้ ริหาร (ก) – (ช) บทที่ 1 บทนา 1 ๑. ความเปน็ มาในการตรวจสอบ 1 ๒. วตั ถุประสงค์การตรวจสอบ 1 ๓. ขอบเขตการตรวจสอบ 2 ๔. วิธกี ารตรวจสอบ 2 ๕. ระยะเวลาท่ีใช้ในการตรวจสอบ 3 ๖. งบประมาณที่ใชใ้ นการตรวจสอบ 3 ๗. คณะผตู้ รวจสอบ 3 4 บทที่ 2 ความเป็นมาของโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลติ สนิ ค้าเกษตร 22 27 บทที่ 3 สรุปผลการตรวจสอบ และข้อเสนอแนะ 30 ข้อตรวจพบท่ี 1 เม่อื ดาเนินการเสรจ็ สนิ้ ในแตล่ ะปีงบประมาณ ไม่มีการ ประเมินผลสมั ฤทธ์ิโครงการ 33 ข้อตรวจพบท่ี 2 การบรหิ ารงานโครงการพฒั นาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ 33 เกษตรบางสว่ นยังคลาดเคลื่อนจากกฎหมาย ระเบียบ และ หนงั สอื สง่ั การทีเ่ ก่ียวข้อง 34 ข้อสังเกตท่ี 1 ณ สน้ิ ปีงบประมาณ ผลการดาเนนิ งานตา่ กว่าแผนการ 34 ปฏิบตั ิงาน 35 ขอ้ สังเกตท่ี 2 ระบุขอ้ ความ ในหลกั ฐานการจา่ ยเงนิ ไม่ครบถว้ นตามทร่ี ะเบยี บ กาหนด ขอ้ สงั เกตที่ 3 จดั ทาเอกสารประกอบการจ่ายเงิน บางรายการแนบเอกสาร ประกอบการจ่ายเงินไมค่ รบถว้ นตามที่ระเบียบกาหนด ขอ้ สงั เกตท่ี 4 ไม่ปรากฏหลกั ฐานการเทียบตาแหนง่ บคุ คลภายนอก กรณกี าร เบิกจ่ายค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางใหก้ ับเกษตรกรท่ีมาชว่ ยปฏิบตั ิ ราชการ ขอ้ ตรวจพบท่ี 3 การจดั วางระบบการควบคุมภายใน ยงั ไม่ครอบคลมุ กิจกรรม/ ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานของโครงการ ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายละเอียดแสดงแผน – ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ ภาคผนวก ข รายละเอยี ดรายการเอกสารการขอเบิกเงิน ที่อาจไม่เกีย่ วข้องกับวตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย ผลผลติ ผลลัพธ์
สารบัญตาราง หน้า ตารางท่ี 3.1 รายละเอียดกิจกรรม/โครงการย่อยภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการ 23 - 24 ตารางที่ 3.2 ผลิตสินค้าเกษตร และกรอบตัวชี้วัดผลการดาเนินงานระดับ Output และ 24 - 26 Outcome ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 แผน – ผล การดาเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้า เกษตร
ก บทสรปุ ผูบ้ ริหาร โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ภายใตแ้ ผนงานบรู ณาการพฒั นาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร ทีด่ าเนินการในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กาหนดให้มกี ารดาเนินงานโครงการ พัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาค การเกษตรโดยมีส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมบูรณาการขับเคล่ือนโครงการฯ เพ่ือให้ ผลผลิตต่อหน่วยสินค้าเกษตรเพิ่มข้ึนร้อยละ 3 และเกษตรกรมีรายได้เพิ่มข้ึน ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เป็นส่วนราชการหนึ่งที่ร่วมบูรณาการขับเคลื่อนโครงการพัฒนา ศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร โดยได้รับจัดสรรงบประมาณจากแผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพ การผลติ ภาคการเกษตร หมวดงบรายจ่ายอืน่ จานวน 15,123,000 บาท เพื่อใช้ดาเนินงานในกิจกรรมข้อมูล สารสนเทศเพ่อื การบริหารจัดการ ประกอบดว้ ย 4 โครงการยอ่ ย ไดแ้ ก่ 1) โครงการติดตามสถานการณ์สินคา้ เกษตร ปัจจัยการผลติ และภาวะเศรษฐกิจสังคมครวั เรอื น และสถาบันเกษตรกร (2,325,000) 2) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทาสารสนเทศต้นทุนการผลิต เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิต ภาคเกษตร (2,798,000) 3) โครงการศึกษาวิเคราะห์แนวทางการจัดการความเสี่ยงตลอดห่วงโซ่อุปทานภายใต้เกษตร ยุคใหม่ (3,000,000) 4) โครงการจัดทาภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรระดบั ภมู ิภาค (7,000,000) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาข้อมูลสารสนเทศการเกษตร ใหค้ รอบคลุมระดับจังหวัด ภมู ิภาค ประเทศ และเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยงของสินค้าเกษตรที่สาคัญตลอดห่วงโซ่อุปทาน และมีการกาหนด ตวั ชี้วัดเชิงปรมิ าณเพ่ือประเมินผลสาเร็จของการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินคา้ เกษตร ท่ดี าเนินการในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ดงั นี้ 1) มกี ารจดั ทาสารสนเทศต้นทุนการผลิตภาคเกษตร จานวน 2 ชนดิ (นา้ นมดบิ และปลานลิ ) 2) มีการรายงานข้อมูลบริหารจัดการศักยภาพการผลิตสนิ คา้ เกษตร จานวน 3 เรอื่ ง อนึ่ง ผลการประเมินความเส่ียงโครงการ/กิจกรรมสาคัญ เพื่อวางแผนการตรวจสอบประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ของกลุ่มตรวจสอบภายใน พบวา่ โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนการผลติ สนิ ค้าเกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร มีความเส่ียงอยู่ในเกณฑ์สูง ได้รับจัดสรร งบประมาณสงู ประกอบกบั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561 ผ้ตู รวจสอบภายในระดับกระทรวง ได้เคยมี ข้อตรวจพบเก่ียวกับข้อคลาดเคลื่อนในการขับเคล่ือนโครงการในประเด็นเรื่องการประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการ การเบิกจ่ายงบประมาณภายใต้แผนงานบรู ณาการ กล่มุ ตรวจสอบภายใน จึงไดว้ างแผนเขา้ สอบทาน ตรวจสอบ ความก้าวหน้าของการดาเนินงานโครงการฯ รวมถึงการปรับปรุงแก้ไขตามข้อสั่งการของปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณว์ า่ เปน็ อยา่ งไร จากการสอบทานผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรมข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาค การเกษตร ที่ดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยผู้ตรวจสอบภายในได้ใช้พระราชบัญญัติวิธีการ โครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนการผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
ข งบประมาณ พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ ระเบียบว่าด้วยการบริหาร งบประมาณ พ.ศ. ๒๕62 และหลักเกณฑ์ว่าด้วยการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย การโอนเงินจัดสรร หรือการโอน เปล่ียนแปลงเงินจัดสรร พ.ศ. 2562 รวมถึงกฎหมาย ระเบียบ หนังสือส่ังการอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องเป็นเกณฑ์ในการ อา้ งอิงผลการตรวจสอบ ซึ่งภายหลงั จากกระบวนการตรวจสอบแล้วเสร็จ พบว่า ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร สามารถดาเนินการพัฒนาข้อมูลสารสนเทศการเกษตรให้ครอบคลุมระดับจังหวัด ภูมิภาค และประเทศ มีการนาข้อมูลสารสนเทศมาใช้เพื่อการบริหารจัดการความเส่ียงของสินค้าเกษตรที่สาคัญ ตลอดห่วงโซ่อุปทาน โดยมกี ารเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศให้กับส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่เก่ียวข้องเพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ แต่อย่างไรก็ตาม ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562 ยังไม่พบการประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการ หรือเอกสารหลักฐานการประเมินผลการ ดาเนินการโครงการฯ ที่แสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์ได้อย่างสมเหตุสมผล ว่าการดาเนินงาน บรรลุตาม วัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์และตัวชี้วัดตามที่ระบุไว้ในเอกสารเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2562 (ขาวคาดแดง) มีเพียงการติดตามผลการดาเนินการตามแผน – ผลการปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรม/ โครงการย่อย ซึ่งการติดตามผลการดาเนินงานดังกล่าวเป็นเพียงการติดตามผลการดาเนินงานและผลการเบิกจ่าย งบประมาณ แต่ยังไม่มีการติดตามผลการดาเนินงานว่าเป็นไปตามตัวช้ีวัดท่ีระบุไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่าย ประจาปี พ.ศ. 2562 รวมถงึ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (Output) และระดับผลลัพธ์ (Outcome) ที่กาหนดไว้ในแต่ละ กจิ กรรม/โครงการย่อย ซ่ึงการดาเนินการดังกล่าวยังไม่เป็นไปตามที่พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562 กาหนด ประกอบกับ ณ วันท่ี 2 มีนาคม 2563 ยังมีบาง กิจกรรมย่อยที่ไม่สามารถแสดงผลการดาเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานท่ีกาหนด จึงทาให้ไม่ทราบผลการ ดาเนินงานในภาพรวม ท้ังน้ี จากการสอบทานเอกสารหลักฐานการเบิกจ่ายงบประมาณโครงการฯ ยังพบข้อ คลาดเคลือ่ นจากการเบิกจ่ายค่าใชจ้ า่ ยบางรายการที่ไมส่ อดคลอ้ งกบั กิจกรรมหรอื รายการคา่ ใชจ้ า่ ยของโครงการตามท่ี ได้รบั อนุมัตกิ รอบวงเงินงบประมาณ ตามเอกสารงบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2562 ซงึ่ เปน็ จุดออ่ น/ความเส่ยี ง ท่ีสาคัญจากการปฏิบัติงานที่ส่งผลกระทบต่อภาพรวมของการบริหารจัดการโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการ ผลิตสินค้าเกษตรให้บรรลุวัตถุประสงค์ เปา้ หมาย ผลผลิต ผลลพั ธ์ ได้แก่ 1) การจัดทาข้อเสนอโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ภายใต้แผนงาน บูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร ยังไม่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ กรอบรายการค่าใช้จ่ายท่ีใช้ในการขับเคลื่อนโครงการฯ ตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน ประกอบกับไม่ได้มีการเสนอ ขอ้ เสนอโครงการฯ ให้เลขาธิการสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรหรือผูท้ ี่มีอานาจในการกากับดแู ลพิจารณาอนุมัติ กอ่ นดาเนนิ งาน ๒) ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ ีการประเมินผลสมั ฤทธ์ิโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร 3) การบริหารงบประมาณ เพื่อการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้า เกษตร ยังมีข้อคลาดเคลื่อนจากกฎหมาย ระเบียบ หนังสือส่ังการอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง เช่น เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายให้กับ เกษตรกร โดยไมม่ ีการเทียบตาแหน่ง เบกิ คา่ ใชจ้ า่ ยที่นอกเหนือจากการขับเคล่ือนโครงการ เป็นตน้ โดยกลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้ดาเนินการวเิ คราะห์และสรุปผลการ ตรวจสอบปรากฏเป็นข้อตรวจพบ/ข้อสังเกต สาเหตุ ผลกระทบ และเสนอแนะแนวทางปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อย แล้ว ปรากฏตามเล่มรายงานผลการตรวจสอบการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้า เกษตร ท่ีแนบ ซ่ึงมีประเด็นสาคัญท่ีควรปรับแก้ไข โดยผู้บริหารต้องดาเนินการติดตาม และกากับดูแลการ ปฏิบตั ิงานของผปู้ ฏิบตั ิงานให้เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ ครอบคลมุ ตามกรอบกฎหมาย ระเบยี บ หนังสือสง่ั การ เพ่อื ใหก้ ารดาเนินงานบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดงั น้ี โครงการพฒั นาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
ค ขอ้ ตรวจพบ/ขอ้ สังเกต ข้อเสนอแนะ 1) เมื่อดาเนินการเสร็จส้ินในแต่ละปีงบประมาณ เห็นควรพิจารณา ดงั นี้ ไม่มีการประเมินผลสมั ฤทธิ์โครงการ ๑) มอบหมายให้สานักงานเลขานุการกรม เป็น เจ้าภาพในการจัดให้มีการซักซ้อมความเข้าใจหรือจัด ให้ มี ก า ร ถ่ า ย ท อ ด อ ง ค์ ค ว า ม รู้ เกี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด ท า ข้อเสนอโครงการ เพ่ือให้การกาหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด ผลผลิต ผลลัพธ์โครงการมีความชัดเจน และ สามารถติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์ได้อย่างเป็น รปู ธรรมเมือ่ โครงการแลว้ เสรจ็ 2) มอบให้ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ในฐานะ ห น่ ว ย ง า น ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ โค ร งก ารพั ฒ น าศั ก ย ภ าพ กระบวนการผลิตสินค้าเกษตรในภาพรวม ทบทวนการ ก า ห น ด ก ร อ บ ตั ว ชี้ วั ด ผ ล ก า ร ด า เนิ น ง า น ใน ร ะ ดั บ ผลผลิตและผลลัพธ์ของโครงการ ให้มีความชัดเจน ครอบคลมุ ทั้งเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และต้องกาหนด เกณฑ์การวัดผลท่ีเป็นรูปธรรม โดยส่ือสารให้กับ ผูเ้ ก่ยี วขอ้ งรับทราบและถือปฏบิ ัติในทิศทางเดียวกัน 3) มอบให้ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ในฐานะ ห น่ ว ย ง า น ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ โค ร งก ารพั ฒ น าศั ก ย ภ าพ กระบวนการผลิตสินค้าเกษตรในภาพรวม กาหนด แ น ว ท าง/ วิ ธี ก า ร ติ ด ต า ม ป ร ะ เมิ น ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ข อ ง กิจกรรม/โครงการ และกากับดูแลให้หน่วยงานท่ี รับผิดชอบดาเนินการจัดทารายงานการประเมินผล สัมฤทธิ์โครงการ ภายหลังการดาเนินงานเสร็จส้ิน และ รายงานผู้บริหารทราบตามลาดับช้ันต่อไป โดยให้ถือ ปฏิบัติตามหนังสือสานักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร 0729.1/ว51 ลงวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2562 เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการติดตามและประเมินผลตาม แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ของหน่วยรับงบประมาณ หนังสือสานักงบประมาณ ที่ นร 0729.1/ว6 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2562 เรื่อง ระบบการติดตามประเมินผล โดยระบบการติดตามแบ่ง ออกเป็น 3 ระยะ (1) การติดตามและประเมินผลก่อน การจัดสรรงบประมาณ (2) การติดตามและประเมินผล ระหว่างการใช้จ่ายงบประมาณ (3) การติดตามและ ประเมินผลภายหลังจากการใช้จ่ายงบประมาณทั้งนี้ การ ประเมินผลสัมฤทธ์ิโครงการต้องครอบคลุมทุกมิติ ท้ังใน มิติภารกิจของหน่วยรับงบประมาณ มิติพื้นท่ี และมิติ โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนการผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
ง ข้อตรวจพบ/ขอ้ สังเกต ข้อเสนอแนะ แผนงานบูรณาการ โดยสะท้อนให้เห็นถึงผลสมั ฤทธ์ิหรือ ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณและ การนาผลผลิตไปใช้ประโยชน์กับกลุ่มเป้าหมายท่ี กาหนดสามารถวัดผลไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม 4) ผู้บริหารทุกระดับควรกากับ ดูแล เร่งรัด ติดตาม ให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ รวบรวมข้อมูลผล การดำเนินการตามกิจกรรมภายใต้โครงการพัฒนา ศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร จากหน่วยงานที่ ร่วมดาเนินงานเพื่อประมวลผลว่ามีการดาเนินการ บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่กาหนดอย่างไร โดยให้เสนอรายงานผลการดาเนินงานโครงการฯ พร้อม ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขให้เลขาธิการ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร หรือรองเลขาธิการฯ ที่ รับผิดชอบกากับดูแลแผนงานบูรณาการฯ ทราบและ พิจารณานาข้อมูลผลการดาเนินงานดังกล่าวไปใช้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ก า ห น ด น โ ย บ า ย ใน ก า ร ขั บ เค ลื่ อ น โครงการฯ ตอ่ ไป ๕) แจ้งเวียนให้หัวหน้างานทุกระดับควรกากับดูแล ผูป้ ฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เพื่อลดข้อคลาดเคล่ือนจากการ ปฏบิ ตั งิ าน 2) การบริหารงานโครงการพัฒนาศักยภาพ เห็นควรพจิ ารณา ดังน้ี กระบวนการผลิตสินค้าเกษตร บางส่วนยังคลาดเคลื่อน 1) มอบหมายใหส้ านักงานเลขานกุ ารกรม ในฐานะ จากกฎหมาย ระเบยี บ และหนังสอื สั่งการทีเ่ กยี่ วข้อง ผรู้ บั ผิดชอบการบรหิ ารงบประมาณภาพรวมระดับกรม ด าเนิ น ก ารท บ ท ว น แ น วท างก ารจั ด ท าค าข อ งบประมาณโครงการ เพื่อให้ครอบคลุมรายการ คา่ ใช้จ่ายที่จาเปน็ ต้องใช้ในการบริหารจัดการโครงการ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ที่ กาหนด โดยให้มีการกาหนดแนวทางการจัดทา ข้อเสนอโครงการในภาพรวมระดับส่วนราชการ และ ระดับหน่วยงานท่ีดาเนินการ เสนอเลขาธิการ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรหรือผู้ได้รบั มอบอานาจ พิ จ า ร ณ า อ นุ มั ติ ก ร อ บ ทิ ศ ท า ง/ วิ ธี ก า ร ด า เนิ น ง า น โครงการ และแจ้งเวียนให้ผู้เก่ียวข้องทุกระดับ รับทราบและถือปฏิบตั ิอย่างเครง่ ครดั 2) มอบหมายให้หน่วยงานที่รับผดิ ชอบดาเนินการ กจิ กรรม/โครงการย่อย สอบทานเอกสารการเบิกจ่าย จานวน 494,291.86 บาท (รายละเอียดตามท่ี โครงการพฒั นาศกั ยภาพกระบวนการผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
จ ขอ้ ตรวจพบ/ขอ้ สังเกต ขอ้ เสนอแนะ ปรากฏในภาคผนวก ข) หากเป็นไปตามข้อตรวจพบให้ พิจารณาดาเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ เป็นไปตาม พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.๒๕61 และ ระเบยี บว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62 และ ระเบียบวา่ ด้วยการโอนงบประมาณรายจ่ายบูรณาการ และงบประมาณรายจ่ายบุคลากรระหว่างหน่วยรับ งบประมาณ พ.ศ.2562 ใหแ้ ล้วเสร็จโดยเรว็ ท้ังนี้ ในการดาเนินการบริหารจัดการงบประมาณ ของส่วนราชการตัง้ แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ การ ด า เนิ น ก า ร โ อ น เป ลี่ ย น แ ป ล งให้ พิ จ า ร ณ า ถึ งค ว า ม จาเป็นและเหมาะสมโดยพจิ ารณาดาเนินการให้เป็นไป ตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62 และระเบียบว่าด้วยการโอนงบประมาณ รายจ่ายบูรณาการและงบประมาณรายจ่ายบุคลากร ระหว่างหน่วยรับงบประมาณ พ.ศ.2562 กาหนด อยา่ งเคร่งครดั ต่อไป ข้อสังเกต ๑) ณ ส้ินปีงบประมาณ ผลการดาเนินงานต่ากว่า - เห็ น ค วรม อ บ ห ม ายให้ ผู้ อาน วยก ารศู น ย์ แผนการปฏิบตั ิงาน สารสนเทศการเกษตร และหัวหน้างานทุกระดับ กากับ ดูแลให้เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบเร่งรัดการ ดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงานที่กาหนด โดยเร็ว หากมีปัญหา/อุปสรรคในการดาเนินงาน เห็น ควรนาเสนอให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ เพ่ือหาแนวทาง ปรับปรงุ แก้ไขร่วมกัน ทั้งน้ี ควรมีการสอบทานผลการ ดาเนินงานจริงกับข้อมูลการรายงานที่มีการนาเสนอ ห รือ เผ ย แ พ ร่ให้ กั บ ส่ ว น งาน อ่ื น ๆ เพื่ อ ล ด ข้ อ คลาดเคลอ่ื นจากการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 2) ระบุข้อความ ในหลักฐานการจ่ายเงินไม่ - ในคราวต่อไป การจัดทาเอกสารประกอบการจัด ครบถว้ นตามท่ีระเบียบกาหนด ประชุม/สัมมนา ส่วนราชการต้องดาเนินการจัดทา เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ให้ เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิก เงินจากคลัง การรับเงิน การจา่ ยเงนิ การเก็บรักษาเงิน และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2562 และระเบียบ กระท รว งการ คลั งว่ าด้ ว ย ค่า ใช้ จ่ า ย ใน การ ฝึ กอบ ร ม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 255 5 โดยให้ส่วนการเงินและบัญ ชี โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
ฉ ขอ้ ตรวจพบ/ข้อสังเกต ขอ้ เสนอแนะ สานักงานเลขานุการกรมจัดทาแบบฟอร์มการลง ลายมือช่ือผู้เข้าร่วมประชุม/สัมมนา โดยต้องแบ่งแยก ช่องลงลายมือช่ือ ตามช่วงเวลาท่ีมีการดาเนินการจริง แยกระยะเวลาเช้า – บ่ายให้ชัดเจน เพื่อแสดงให้เห็น ว่ามีผู้เข้าร่วมประชุม/สัมมนาแต่ละช่วงเวลามีจานวน เท่าใด ซ่ึงต้องสัมพันธ์กับการเบิกจ่ายค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องด่ืม พร้อมแจ้งเวียนให้หน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องทราบและถือปฏิบัติให้เป็นไปในทิศทาง เดยี วกนั 3) จัดทาเอกสารประกอบการจา่ ยเงนิ บางรายการ - ในกรณีท่ีข้าราชการ พนักงานราชการ หรือ แนบเอกสารประกอบการจ่ายเงินไม่ครบถ้วนตามท่ี ลูกจ้างของส่วนราชการ จ่ายเงินให้กับบุคคลภายนอก ระเบียบกาหนด ที่ไม่อาจเรียกใบเสร็จรับเงินได้ ต้องให้ข้าราชการ พนักงานราชการหรือลูกจ้างนั้น จัดทาใบรับรองการ จ่ายเงินเพ่ือนามาเป็นเอกสารประกอบการขอเบิกเงิน ต่อส่วนราชการ โดยให้ถือปฏิบัติตามระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับ เงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนาเงินส่ง คลัง พ.ศ. 2562 ขอ้ 48 4 ) ไม่ ป รากฏ ห ลั กฐาน การเที ยบ ต าแห น่ ง - เห็นควรมอบหมายให้สานักงานเลขานุการกรม บุคคลภายนอก กรณีการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการ ดาเนิ นการทบทวนแนวทางการจัดประชุมของ เดินทางใหก้ ับเกษตรกร ทม่ี าชว่ ยปฏิบัตริ าชการ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือการประชุมอ่ืนใน ลักษณะเดียวกันและการประชุมประสานงานระหว่าง ส่วนราชการและหรือรัฐวิสาหกิจหรือบุคคลภายนอก ซ่ึ ง มี ก า ร แ จ้ ง เวี ย น แ ล้ ว ต า ม ห นั ง สื อ ที่ ก ษ 1301.01/2119 ลงวันท่ี 14 มิถุนายน 2561 ให้ ครอบคลุมสาระสาคัญตามหนังสือกระทรวงการคลังท่ี กค 0406.6/ว 104 ลงวันท่ี 22 กันยายน 2551 เร่ือง การเทียบตาแหน่ง ในคราวต่อไป ให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่มีการ จัดประชุมราชการและมีเป้าหมายเป็นบุคคลภายนอก หรือมีบุคคลภายนอกเข้าร่วมประชุม ซึ่งมิได้เป็น ข้ าราช ก ารแ ล ะมี ต าแ ห น่ งห น้ าท่ี น อ ก เห นื อ จ าก ท่ี กระทรวงการคลังได้เที ยบตาแหน่ งไว้แล้ว ต้อง ดาเนินการเทียบตาแหน่ง โดยกรอบการพิจารณาให้อยู่ ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ และการพิจารณาต้องคานึงถึงตาแหน่งหน้าที่ปัจจุบัน คณุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทางาน และภารกิจท่ี โครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร ภายใต้แผนงานการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
ช ขอ้ ตรวจพบ/ข้อสังเกต ขอ้ เสนอแนะ ได้รับมอบหมาย ให้มาช่วยปฏิบัติราชการเพ่ือให้เกิด คว ามเห ม าะส มแ ล ะป ระโยช น์ ต่ อท างราช การ ส่ ว น ราชการ 3) การจัดวางระบบการควบคุมภายใน ยังไม่ เห็นควรมอบหมายให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ครอบคลุมกิจกรรม/ขั้นตอนการดาเนินงานของ พิจารณาทบทวนการจัดวางระบบการควบคุมภายใน โครงการ ก า ร ป ร ะ เมิ น ค ว า ม เสี่ ย ง ข อ ง อ ง ค์ ก ร ให้ ค ร อ บ ค ลุ ม จุดอ่อน/ความเสี่ยงจากการดาเนนิ งานท่ีสาคญั โดยให้ พจิ ารณาขอ้ ตรวจพบและขอ้ เสนอแนะของผู้ตรวจสอบ ภายใน มาใชป้ ระกอบการกาหนดกิจกรรมการควบคุม เพื่อป้องกันความเสี่ยงทีอ่ าจเกดิ ขึ้นจากการดาเนินงาน กิจกรรม/โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิต สินค้าเกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพ การผลิตภาคการเกษตร รวมถึงโครงการอื่นๆ ที่มีการ ดาเนนิ งานลกั ษณะเดยี วกนั ตอ่ ไป โครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๑ บทที่ ๑ บทนำ 1. ควำมเป็นมำในกำรตรวจสอบ กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร มีภารกิจในการให้บริการงานด้านการ ตรวจสอบผลการดาเนินงานของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยดาเนินการตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบัญชี ดาเนินการตรวจสอบ วิเคราะห์ความเพียงพอของกระบวนการบริหารความเส่ียง กระบวนการควบคุม และการกากับดูแล รวมถึงการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือส่ังการ เพื่อให้ส่วนราชการมีความมั่นใจว่าการปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ มีความ สอดคล้องกับนโยบายของส่วนราชการ โดยปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สานักงานงานเศรษฐกิจได้รับจัดสรร งบประมาณจานวน 3 แผนงาน รวมงบประมาณท้ังส้นิ ประมาณ 642,717,800 บาท แยกเป็นแผนงานบุคลากร ภาครัฐ จานวน 354,779,700 บาท แผนงานพ้ืนฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จานวน 242,915,100 บาท และแผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร จานวน 45,023,000 บาท ซ่ึงแผนงานบูรณาการดังกล่าวสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ต้องดาเนินการขับเคลื่อน โครงการภายใต้แผนงานบูรณาการฯ จานวน 6 โครงการ ได้แก่ ๑) โครงการบริหารจัดการผลิตสินค้าเกษตรตาม แผนที่เกษตรเพ่ือการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) งบประมาณจานวน 8,000,000 บาท ๒) โครงการศูนย์ เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร งบประมาณจานวน 8,000,000 บาท ๓) โครงการระบบ ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ งบประมาณจานวน 4,000,000 บาท ๔) โครงการธนาคารสินค้าเกษตร งบประมาณจานวน 900,000 บาท ๕) โครงกำรพัฒนำศักยภำพกระบวนกำรผลิตสินค้ำเกษตร งบประมำณ จำนวน 15,123,000 บำท ๖) โครงการพฒั นาเกษตรกรรมย่งั ยืน งบประมาณจานวน 9,000,000 บาท กระบวนการตรวจสอบภายในเป็นเครื่องมือที่สาคัญของฝ่ายบริหารในการกากับดูแล และติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานของส่วนราชการ เพื่อให้ผลการดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายท่ีกาหนด บทบาท สาคัญของงานตรวจสอบภายใน คอื การสนบั สนุนสง่ เสริมให้การปฏิบัติงานของส่วนราชการบรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้ทรพั ยากรอย่างคุ้มค่าภายใตก้ ารบริหารความเส่ียง การควบคุมและ การกากับดูแลท่ีดี กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้ดาเนินการประเมินความเสี่ยงเพ่ือ คัดเลอื กโครงการ/กจิ กรรม ท่จี ะเข้าสอบทานและตรวจสอบพิจารณาคัดเลอื กจากแผนงาน/โครงการสาคัญของ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เพื่อก่อให้เกิดความโปร่งใสในการปฏิบัติงานของส่วนราชการ มุ่งเน้นการ ประเมินผลสัมฤทธ์ิของโครงการ ซ่ึงโครงกำรพัฒนำศักยภำพกระบวนกำรผลิตสินค้ำเกษตรเป็นหน่ึงใน โครงการ/กิจกรรม ท่ีมีความเส่ียงอยู่ในเกณฑ์สูง เนื่องจากไม่เคยได้รับการตรวจสอบ และได้รับงบประมาณสูง กลุ่มตรวจสอบภายใน จึงมีการกาหนดแผนการเข้าตรวจสอบการดาเนินงาน เพ่ือติดตาม ประเมินผลลัพธ์การ ดาเนินงานโครงกำรพัฒนำศักยภำพกระบวนกำรผลิตสินค้ำเกษตร กิจกรรมข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดการ ทด่ี าเนนิ การในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. วัตถปุ ระสงคก์ ำรตรวจสอบ 2.1) เพ่ือให้ทราบว่าหน่วยรับตรวจมีผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิต สินค้าเกษตรเป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนปฏิบัติงาน ผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดท่ีกาหนด และผลการ ดาเนินงาน สอดคล้องกับแนวทาง กฎหมาย ระเบยี บหนงั สือส่ังการ มติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ยี วข้อง หรอื ไม่ โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนการผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๒ 2.2) เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ หน่วยรับตรวจ มรี ะบบการควบคุมภายในที่เพยี งพอ เหมาะสม 2.3) เพ่ือใหท้ ราบ ปญั หา อุปสรรค สาเหตุ และผลกระทบในการปฏิบตั งิ าน พร้อมทงั้ ให้คาปรกึ ษา ใหข้ ้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขปรับปรงุ 3. ขอบเขตกำรตรวจสอบ 3.1) ตรวจสอบ/สอบทานผลการดาเนินงานในภาพรวมของโครงการพัฒนาศักยภาพ กระบวนการผลิตสินค้าเกษตรจากเอกสารหลักฐานการรายงานผลการดาเนินงานท่ีดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ภายใต้กรอบวงเงินของแผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร จานวน 15,123,000 บาท ในส่วนกลางและเข้าตรวจสอบ สอบทานเอกสารการดาเนินงานจริง จานวน 1 พ้ืนที่ โดย ดาเนนิ การ ดังน้ี 3.1.1) เข้าตรวจสอบ ณ หน่วยงานที่รับผิดชอบในส่วนกลาง คือ สานักวิจัยเศรษฐกิจ การเกษตร ศูนย์สารสนเทศการเกษตร กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร ส่วนการเงินและบญั ชี สานักงาน เลขานุการกรม เพ่ือสอบทานผลการดาเนินงานในภาพรวมของกิจกรรมย่อยภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพ กระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร 3.1.2) สุ่มตรวจสอบและติดตามผลการดาเนินงานในพื้นท่ีดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพ กระบวนการผลิตสินค้าเกษตรของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี ๓ จังหวัดอุดรธานี เพื่อสอบทานผลการ ดาเนินการในระดบั พน้ื ท่ี 3.2) เอกสาร/หลกั เกณฑท์ ี่ใชส้ าหรับการตรวจสอบ ได้แก่ - กรอบการจัดสรรงบประมาณตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2562 (ขาวคาดแดง) - กรอบข้อเสนอโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) - แผนปฏิบัติการของกิจกรรม/โครงการย่อย ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพ กระบวนการผลติ สินค้าเกษตร - กรอบข้อเสนอโครงการย่อย/กิจกรรมย่อย ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการ ผลิตสินคา้ เกษตร - รายงานผลการดาเนินงานในภาพรวมรายปี - รายงานผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน/กระบวนการบริหารความเส่ียง โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร 4. วธิ กี ำรตรวจสอบ 4.1) ศึกษาเอกสารหลักฐาน โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร เพ่ือให้ ทราบถึงความเป็นมา หลกั การเหตุผล ความคาดหวงั ของการดาเนินงานโครงการ ดงั น้ี - รายละเอียดการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร เชน่ เหตผุ ลความจาเปน็ วัตถุประสงค์ สาระสาคญั สถานท่ดี าเนินการ ข้นั ตอนและระยะเวลาดาเนนิ การ ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ และงบประมาณการคา่ ใช้จ่ายของโครงการ - ระเบียบ กฎหมาย คาส่ัง หนังสอื เวียน และรายงานต่างๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง - พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กฎกระทรวง 7 ฉบับ แนวทางในการปฏิบัติจัดซ้ือจัดจ้างพัสดุด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : E– bidding) ข้อบังคบั มติคณะรฐั มนตรี และหนังสอื สั่งการทีเ่ ก่ียวข้อง โครงการพฒั นาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๓ 4.2) สุ่มตรวจสอบ/สอบทานหลักฐาน/เอกสารที่เก่ียวกับการดาเนินงานของโครงการในส่วนกลาง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี ๓ จังหวัดอุดรธานี เพื่อให้ทราบว่า มีการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับแนวทาง กฎหมาย ระเบียบ หนังสือสง่ั การ มตคิ ณะรัฐมนตรี ท่ีเกี่ยวขอ้ ง โดยดาเนินการ ดังนี้ - เปรยี บเทยี บและวเิ คราะห์ แผนกบั ผลการปฏบิ ตั งิ านและการใชจ้ ่ายเงินโครงการฯ วา่ เปน็ ไปตามระเบียบฯ หลักเกณฑ์ทก่ี าหนด และสอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการฯ หรอื ไม่ อยา่ งไร - ตรวจสอบและสอบทานเอกสารการจดั สรรงบประมาณ - สอบทานการจัดวางระบบควบคุมภายในของการดาเนินงานว่ามีความเหมาะสม ครอบคลมุ สามารถป้องกนั /ควบคมุ ความเส่ียงไดห้ รือไม่ - ตรวจสอบ/สอบทานหลกั ฐาน/เอกสารทีเ่ กี่ยวกับการปฏิบัติ งานดา้ นการจัดซื้อจัดจ้าง การทาข้อผูกพัน และการบริหารสัญญา เพ่ือให้ทราบถึงสาเหตุของการแก้ไขสัญญา ผู้รับผิดชอบตามสัญญามี หรอื ไม่ อย่างไร - ตรวจสอบ/สอบทานผลการดาเนินการเป็นไปตามเป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ของ โครงการ/กิจกรรมตามท่ีกาหนดหรือไม่ 4.3) สอบถามเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้อง ในการปฏิบัติงาน เพื่อสอบถามกระบวนการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน การประชุมการติดตามงาน การนาข้อมูลสารสนเทศไปบริหารจัดการ การ เผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ และแนวทางแก้ไข ๕. ระยะเวลำที่ใช้ในกำรตรวจสอบ ชว่ งระหวา่ งเดอื น กมุ ภาพนั ธ์ – มนี าคม ๒๕63 (จดั ทารายงาน ภายในเดอื นมนี าคม ๒๕๖3) ๖. งบประมำณท่ใี ชใ้ นกำรตรวจสอบ เป็นเงิน 13,640 บาท ๗. คณะผตู้ รวจสอบ นกั วิชาการตรวจสอบภายในชานาญการพิเศษ ๑. นางสาวจิราวรรณ สมัคร หวั หน้าคณะตรวจสอบภายใน นักวิชาการตรวจสอบภายในชานาญการ ๒. นางณวรรณ์ศา บุญญกนก ภำยใต้กำรกำกับดแู ลของ นางสาวเพียงเพ็ญ บญุ ชดู วง ผู้เชยี่ วชาญด้านตรวจสอบภายใน โครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร ภายใต้แผนงานการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
1. ชื่อโครงการ บทที่ ๒ โครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนการผลติ สนิ คา้ เกษตร โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลติ สินคา้ เกษตร 2. เหตผุ ลความจาเปน็ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เป็นหน่วยงานท่ีอยู่ภายใต้สังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เป็นเสมือนเสนาธิการของกระทรวงเกษตรฯ โดยมีบทบาทสาคัญในการเป็นองค์กรช้ีนาในการพัฒนา เสนอแนะนโยบาย จัดทายุทธศาสตร์และแผนพัฒนาการเกษตร และการวิเคราะห์ วิจัยเศรษฐกิจการเกษตร เป็นศูนย์กลางการให้บริการข้อมูลสารสนเทศการเกษตรของประเทศ สาหรับเกษตรกร ผู้ประกอบการ และหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อนาไปใช้ประกอบการวางแผนและตัดสินใจได้อย่างมี ประสิทธิภาพ แต่การท่ีจะสามารถวางแผนและกาหนดยุทธศาสตร์ที่มีความถูกต้องแม่นยา สอดคล้องกับ สถานการณ์ที่มีการแข่งขันทางด้านการลงทุนและการตลาดในตลาดโลกอย่างเข้มข้น อีกท้ังสามารถรองรับ ความไม่แน่นอนในอุปทานสินค้าเกษตรอันเนื่องมาจากความผันแปรของสภาวะภูมิอากาศของโลกที่ส่งผล กระทบตอ่ การผลติ สนิ คา้ เกษตรเปน็ อย่างมากนั้น ดังนั้น สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรจาเป็นต้องมีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูล สารสนเทศการเกษตรให้มีการจัดเก็บข้อมูลที่เก่ียวข้องกับกระบวนการผลิต การตลาด และสถานการณ์สินค้า เกษตร ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศท่มี ีประสิทธภิ าพมากข้ึน โดยมีข้อมูลเชิงลึกในระดบั จังหวัดท่ีมีความ ครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และตรงตามความต้องการของผู้ใช้ สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของ เศรษฐกิจโลก รวมทั้งต้องมีการพัฒนาบุคลากรของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรให้มีความรู้เท่าทันต่อ สถานการณ์การผลิตและการตลาดของโลก สามารถให้ความรู้ คาแนะนาแก่เกษตรกรและผู้ประกอบการให้ พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกระบวนการผลิตและการตลาดของตนเอง เพ่ือที่จะสามารถผลิตสินค้า เกษตรแขง่ ขันในตลาดโลกได้ อีกทั้งสามารถลดต้นทุนการบริหารจัดการของตนเอง และเพ่ิมรายได้ให้เกษตรกร และผูป้ ระกอบการได้อย่างยัง่ ยืน 3. วตั ถุประสงค์โครงการ (Outcomes) 3.1 เพ่ือพฒั นาข้อมลู สารสนเทศการเกษตร ให้ครอบคลุมระดบั จงั หวดั ภาค และประเทศ 3.2 เพอื่ บรหิ ารจัดการความเสยี่ งของสินคา้ เกษตรที่สาคญั ตลอดหว่ งโซ่อุปทาน 4. เปา้ หมายโครงการ (Outputs) เพอ่ื บริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดหว่ งโซ่อปุ ทานใหเ้ กินประสทิ ธผิ ลและสร้างความเขม้ แข็ง ให้กับครัวเรือนเกษตร และสถาบันเกษตรกร รวมทั้งการวางแผนและกาหนดนโยบายด้านการเกษตรท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานบรู ณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๕ 5. กลมุ่ เป้าหมายโครงการ (Target group) (Outputs) กิจกรรมที่ 1 การติดตามสถานการณ์สินค้าเกษตร ปัจจัยการผลิต และภาวะเศรษฐกิจสังคม ครวั เรอื นและสถาบันเกษตรกร เกษตรกร ผู้ประกอบการโรงงาน พ่อค้าทุกระดับที่เกี่ยวข้อง และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ท้ังใน ด้านการผลิต การตลาดสินค้าเกษตร รวมทั้งติดตามภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร จากครัวเรือนเกษตร และเกษตรกร ผู้ประกอบการโรงงาน พ่อค้าทุกระดับที่เก่ียวข้องกับปัจจัยการผลิต และ เกษตรกรในการปรับเปลยี่ นระบบการผลิต จากผลกระทบการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ กิจกรรมท่ี 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทาสารสนเทศต้นทุนการผลิต เพื่อพัฒนาศักยภาพ การผลิตภาคเกษตร เกษตรกรผู้เล้ียงโคนม/ปลานิล และเจ้าหน้าที่ของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 1-12 กจิ กรรมท่ี 3 การศึกษา วิเคราะหแ์ นวทางการจัดการความเส่ียงตลอดหว่ งโซ่อุปทานภายใต้เกษตร ยคุ ใหม่ ภาครฐั เอกชน และเกษตรกร กจิ กรรมที่ 4 การจดั ทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมภิ าค หน่วยงานที่เก่ียวข้องทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และเกษตรกร 6. ตัวช้ีวดั เปา้ หมายโครงการ (Outputs) และตัวชวี้ ดั ผลลพั ธ์ (Outcomes) (Outcoผmลผeลsติ ฉตฉ่อฉหฉนฉ่วฉยฉสฉนิ ฉคฉา้ ฉเกฉษฉตฉรฉเพฉฉมิ่ ฉขึน้ฉฉรฉอ้ ฉยฉลฉะฉ3ฉฉเกฉษฉตฉรฉกฉรฉมฉีรฉายฉไฉดฉเ้ พฉมิ่ฉขฉ้ึนฉฉฉฉ ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ 7ฉฉ. ฉกฉิจฉกฉรรฉมฉ-ฉวฉธิ ฉดี ฉาเฉนฉินฉกฉาฉรฉ(ฉAฉcฉtiฉvฉitฉyฉ) ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ (ฉOฉuฉtฉc)o7tm.c1oemกsฉาeฉรsตฉ)ิดฉตฉฉามฉสฉถฉาฉนฉกฉาฉรฉณฉฉ์สินค้าเกษตรปัจจัยการผลิตและภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและ สฉฉฉถาฉฉฉบฉฉฉนัฉฉฉเฉฉฉก777ฉฉฉษ...ฉฉฉ342ตฉฉฉรกกเฉฉฉกพาาฉฉฉร่ิมรรฉฉฉจศปฉฉฉดัึกรฉฉฉทะษฉฉฉสาาฉฉฉภทิ วฉฉฉาธเิ วภิคฉฉฉะราฉฉฉเาพฉฉฉศะกฉฉฉรหาษฉฉฉ์แรฐฉฉฉนจกฉฉฉดัวจิ ฉฉฉททกฉฉฉาาางสรกาเการรษสจนตดั เรทกราศะรดตคบัน้ วภทาูมุนมิภกเสาา่ยี รคงผตลลติ อเดพหื่อ่วพงโฒั ซนอ่ าปุ ศทกั ายนภภาาพยกใตารเ้ กผษลติตรภยาุคคใเหกษม่ตร ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ 8ฉ. ฉตฉวั ฉชฉ้ีวฉัดฉกฉิจฉกรฉรฉมฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ (Oฉuฉฉtcฉoฉm8ฉ.ฉe1ฉsฉขฉ้อฉฉมฉฉูลฉฉสฉฉถฉาฉนฉก)ารtณco์ดm้านeกsา)รผลิต และการตลาด ตลอดจนปัญหาท่เี กิดขน้ึ ของสินคา้ เกษตรท่ีสาคัญ ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ8888ฉฉฉ....ฉฉฉ5432ฉฉฉขขขขฉฉฉ้้อออ้้อฉฉฉมมมมฉฉฉลลูลลููู ฉฉฉใสสสฉฉฉนถถถกาาาานนนรกกกจาาาดั รรรทณณณา์์์ขกดขอา้าอ้ รนงเเภสปปนาัจลวอจ่ียะแัยนเนกศแาะรปรษแลผนฐงลกวสติ ทิจภสาตางังพลกคอภามดรูมคแจิอรนกาัว้ไกปเขราญั ือปศหนัญแแาลหทละาเี่ะผกสลดิ ถกขารึน้บะนัทเบกทษ่ีเตกรดิ กขรนึ้ ฉฉฉฉฉฉ8ฉ.ฉ6ฉขฉอ้ ฉมฉูลฉตฉ้นทนุ การผลติ น้านมดบิ และปลานลิ ในระดบั จงั หวัด ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ โฉคฉรงฉกาฉรพฉัฒฉนฉาศฉกั ฉยภฉาพฉกฉระฉบฉวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานบูรณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ
๖ 8.7 เกษตรกร สถาบนั เกษตรกร สามารถปรับลดต้นทนุ การผลติ ได้รอ้ ยละ 3 8.8 รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัดและระดับภาค เป็นรายไตรมาสและรายปี ประกอบด้วย สาขาพืช สาขาปศุสัตว์ สาขาประมง สาขาบริการทางการเกษตร และสาขาป่าไม้ จานวน 53 จังหวดั 9. ระยะเวลาดาเนนิ การโครงการ (Outco1mตeลุsฉาคฉมฉฉ2ฉ5ฉ6ฉ1ฉฉ-ฉ3ฉ0ฉฉกันยายน 2562 1ฉฉ0ฉฉ.ฉฉงฉฉบฉฉปฉฉรฉฉะฉฉมฉฉาฉฉณฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ (ฉOฉuฉtฉcฉoฉmงฉบeฉปsฉรฉฉะฉมฉฉาฉณฉฉรวฉมฉฉ1ฉ5ฉ,ฉ1ฉ2ฉ3,000 บาท ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉกฉฉิจฉฉกฉฉรฉรฉมฉฉทฉี่ ฉ1ฉกฉาฉรฉตฉิดฉตฉาฉมฉสถานการณ์สนิ ค้าเกษตร ปัจจยั การผลติ และภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือน แฉฉลฉฉะฉฉสฉฉถฉฉาฉฉบฉฉนั ฉฉเกฉฉษฉฉตฉฉรฉกฉรฉจฉาฉนฉวฉนฉ2ฉ,ฉ3ฉ25,000 บาท ผใฉฉฉฉฉหลฉฉฉฉฉมิตฉฉฉฉฉ่ ภฉฉฉจฉฉาฉฉฉาฉฉคนฉฉฉฉฉกกเวฉฉฉกฉฉิจิจนฉฉฉษฉฉกกฉฉฉต3ฉฉรรฉฉฉรรรฉฉ,0มฉฉฉมฉฉจ0ททฉฉา0่ีี่น)ฉ32,วฉt0นcกฉก0oาฉา20mรรฉ,ศเ7ฉบพeึก9ฉาsิ่มษท)ฉ8ปาฉ,ร0วฉะ0ิเสค0ิทราธบะิภาหาท์แพนกวาทรจางัดกทาารสจาัดรกสานรเคทวศาตม้นเสท่ียุนงกตาลรอผดลหิต่วงเพโซื่ออพุปัฒทนานาศภักายยใภตา้เพกษตรกยาุคร ฉฉฉฉฉฉกฉิจฉกฉรฉรมฉที่ 4 การจัดทาภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรระดบั ภูมิภาค จานวน 7,000,000 บาท ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ ฉ1ฉ1ฉ.ฉสฉถฉาฉนฉทฉี่/ฉพฉืน้ ที่ดาเนินการ ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ ฉ(Oฉฉuฉtcฉoฉพmฉืน้ ฉeทฉsี่กฉาฉรฉผฉลฉติ ฉโฉรฉงงฉาฉนฉแฉปฉรรปู และตลาดสินค้าเกษตรท่สี าคัญ ทกุ จงั หวดั ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ ฉฉ1ฉฉ2ฉฉ.ฉฉหฉฉนฉฉว่ ฉฉยฉฉงฉฉาฉนฉฉผฉรู้ฉบัฉผฉดิฉชฉอฉบฉโฉคฉรฉงการ ฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉฉ tฉฉฉฉฉcฉฉฉฉฉoฉฉฉฉฉmฉฉฉฉฉฉeฉฉฉฉฉsฉฉฉฉกกกก)ฉฉฉฉฉิจิจจิจิ ฉฉฉฉฉกกกกฉฉฉฉฉรรรรฉรรรรฉฉฉฉมมมมฉฉฉฉฉทททท)ฉฉฉฉี่ี่่ี่ี ฉฉฉฉ3124ฉฉฉฉสกศสฉฉฉฉาาอูนฉฉฉฉนนงยฉฉฉฉนกัักส์ฉฉฉฉโงวาฉ)ฉฉยาจิรฉฉฉบนยัสฉฉฉาเเนศศยเรรแทษษลศฐฐะกกกแาิจิจผรกกเนกาาพษรรัฒเเตกกรนษษาแตตกลรราทะร่ีเส1กาษ-น1ตัก2รงาแนลเะศสราษนฐกั กงจิ ากนาเรศเรกษษฐตกริจทก่ี า1ร-เ1ก2ษตรท่ี 1-12 tc1o3m. eผsล)ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ (Impact) กจิ กรรมที่ 1 ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีข้อมูลท่ีถูกต้อง และแม่นยาจากการติดตาม สถานการณ์สินคา้ เกษตร ปจั จัยการผลิต และภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร มาใช้ในการ โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร
๗ ตัดสินใจกาหนดนโยบาย มาตรการ ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนภาคเกษตร และช่วยเหลือเกษตรกรให้มี ความมัน่ คง มงั่ คงั่ ยัง่ ยนื ในอาชพี เกษตรตอ่ ไป กิจกรรมท่ี 2 1) เกษตรกรได้รับความรู้ด้านการบริหารจัดการต้นทุน ทาให้ลดค่าใช้จ่าย เพ่ิมรายได้ เพ่ือให้ เกิด ความสามารถในแขง่ ขนั และสามารถอยู่ในอาชีพไดอ้ ย่างมนั่ คง และย่ังยนื 2) ผู้กาหนดนโยบาย มีข้อมูลระดับจังหวัดที่เพียงพอสามารถนาไปใช้กาหนดนโยบาย มาตรการ/ โครงการ กิจกรรมในการพัฒนา ส่งเสริมดา้ นการผลิต และการตลาดของสินค้าเกษตรได้ ตลอดจนนาข้อมูลเพื่อ ตัดสินใจ ในสินค้าทางเลือก หรือ Zoning by Agri-Map เกษตรทฤษฎีใหม่ ได้อย่างมีเป้าหมายและทิศทางท่ี ชดั เจน กจิ กรรมท่ี 3 1) มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่สามารถแก้ไข/บริหารจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นของพืชท่ีสาคัญตั้งแต่ ขบวนการผลิต เกบ็ เกย่ี ว การตลาดจากฟาร์มถงึ ผูบ้ ริโภค 2) หน่วยงานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถนาข้อมูลไปใชป้ ระกอบการดาเนินการสง่ เสริมการ กาหนดกิจการทเ่ี หมาะสมเพอื่ จดั การความเสี่ยงแก่เกษตรกร 3) เกษตรกร เกิดการรับรู้ สามารถบริหารจัดการความเส่ียงตลอดห่วงโซ่อุปทาน สามารถปรับตัว ตลอดจนมีวธิ ีการควบคุม ลด และปอ้ งกันความเสี่ยง เพ่ือความมั่นคงด้านรายได้ของครัวเรือนเกษตรกร กจิ กรรมท่ี 4 1) การจัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรในระดับจังหวัด เป็นรายไตรมาสและรายปี ที่มี คุณภาพ สามารถสะท้อนให้เห็นถึงทิศทางการเติบโตของภาคเกษตรในระดับจังหวัดอย่างถูกต้อง มีความ สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจการเกษตรในระดับประเทศ และสามารถใช้เป็นแนวทางประกอบการจัดทา แผนพฒั นาการเกษตรในภมู ิภาคไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 2) เจ้าหน้าที่สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรมีความรู้ความเข้าใจในโครงสร้างภาคเกษตรและ สถานการณ์การเกษตรในระดับภูมิภาค รวมทั้งสามารถให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัดทาแผน ยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนงาน/โครงการ ในระดับภูมิภาคได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพิ่ม บทบาทการเป็นองค์กรช้นี าการพัฒนาการเกษตรในระดบั จงั หวดั และเสริมสรา้ งภาพลกั ษณท์ ่ีดใี หก้ ับองค์กร 14. นิยามศพั ท์ สารสนเทศการเกษตร หมายถงึ สารสนเทศด้านการผลิต การตลาดปัจจยั การผลิตต้นทุนการผลติ ของ สินค้าเกษตรที่สาคัญ ภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนเกษตร สถาบันเกษตรกร ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร และ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 15. ผลสัมฤทธิโ์ ครงการ 1. มขี ้อมูลสารสนเทศทค่ี รอบคลุมระดบั จังหวัด ภาค และประเทศ 2. เกษตรกรสามารถบรหิ ารจดั การฟารม์ และลดต้นทุนการผลติ ได้ร้อยละ 3 โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานบรู ณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร
๘ จากกรอบแนวทางการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ภายใต้แผนบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้มอบหมายให้ หนว่ ยงานที่รับผิดชอบจัดทาข้อเสนอโครงการยอ่ ย จานวน 4 โครงการยอ่ ย ดังนี้ กิจกรรมย่อยที่ 1 : โครงการติดตามสถานการณ์สินค้าเกษตร ปัจจัยการผลิต และภาวะเศรษฐกิจ สงั คมครัวเรอื นและสถาบนั เกษตรกร 1. เหตผุ ลความจาเปน็ ในปี 2561 คาดว่ามีมูลค่าส่งออกสินค้าเกษตรรวม 1.39 ล้านล้านบาท ผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ประเทศภาคการเกษตร มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนเพียงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ จานวน ครัวเรือนเกษตรมีจานวน 5.908 ล้านครัวเรือน ประชากรเกษตรและแรงงานเกษตรสูงอายุมีจานวนลดลง อย่างต่อเนื่อง สัดส่วนแรงงานเกษตรต่อประชากรเกษตรคิดเป็นร้อยละ 67.62 พื้นท่ีทาการเกษตรส่วนใหญ่ เป็นที่นา ร้อยละ 46.05 รองลงมาเป็นไม้ผล ไม้ยืนต้น และพืชสวน ร้อยละ 24.74 ในปี 2560 เนื้อที่ใช้ ประโยชน์ทางการเกษตร มีทั้งหมด 149.25 ล้านไร่ แบ่งเป็นเน้ือท่ีชลประทาน 32.80 ล้านไร่ (ร้อยละ 21.98) เน้ือที่นอกเขตชลประทาน 116.45 ล้านไร่ (ร้อยละ 78.02) พ้ืนท่ีชลประทานเพ่ิมข้ึนเฉลยี่ ร้อยละ 1 ต่อปี ประกอบกับพื้นท่ีเกษตรบางส่วนขาดโครงสร้างพ้ืนฐานและการบริหารจัดการ ขาดการเช่ือมโยง เครือข่ายด้านการเงิน การตลาดและองค์ความรู้ รวมถึงสภาพปัญหาดินมีความเส่ือมโทรม ปัญหาภัยธรรมชาติ น้าทว่ ม อุทกภัย ภยั แล้ง ทาใหไ้ ม่สามารถแข่งขนั กับประเทศคแู่ ข่งได้ ทั้งนี้ภาคเกษตรกรรมของไทยได้ก้าวข้ึนสู่การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว จากการเปล่ียนแปลงการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศทั้งสถานการณ์ในระดับโลกและระดับประเทศ ตามกรอบเศรษฐกิจยุคโลกาภิวัตน์ จนถึงเศรษฐกิจยุคดจิ ิตอล และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ รวมถงึ กติกาการค้าทั้งในรปู แบบทวิภาคี และ พหุภาคี ซ่ึงปัจจัยดังกล่าวส่งผลต่อวิถีการผลิตและชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรกรไทย และถูกผูกโยงไปส่รู ะดับ ระหว่างประเทศมากขึ้น รวมทั้งในช่วงทศวรรษท่ีผ่านมาแรงงานภาคเกษตรได้ลดลงอย่างต่อเน่ือง โดยกล่าวได้ ว่าสถานการณ์และปัญหาด้านการเกษตรนั้นมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา รวมทั้งสินค้าเกษตรแต่ละชนิดมี สาเหตุและลักษณะของปัญหาท่ีแตกต่างกัน ซ่ึงรัฐบาลจาเป็นจะต้องมีข้อมูลสถานการณ์ของปัญหาต่าง ๆ เพื่อ ประกอบการตัดสินใจกาหนดแนวทาง มาตรการในการแกไ้ ขปญั หา สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เป็นหน่วยงานราชการที่มีภารกิจเก่ียวกับการวิเคราะห์ วิจัยเศรษฐกิจ การเกษตร และมีอานาจหน้าที่ในการศึกษาและวิจัยระบบเศรษฐกิจการผลติ การตลาด ระบบการจดั การฟาร์ม การทาธุรกิจเกษตร ตลอดจนภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนเกษตรและแรงงานภาคเกษตร ซ่ึงมีความจาเป็น จะตอ้ งติดตามสถานการณส์ ินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุปทาน ท้ังด้านการผลิตและการตลาด และปัญหาที่เกิดขึ้น ของสินค้าเกษตรท่ีสาคัญ ด้านเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร และด้านทรัพยากรตลอดจนการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบท่ีเกิดข้ึน เพื่อให้ทราบสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลงไปในพื้นท่ีอย่าง ต่อเนื่อง ทาให้ทราบข้อมูลท่ีถูกต้องและคาดการณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดข้ึนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ทา ให้สามารถแกไ้ ขปญั หาท่ีจะเกดิ ขนึ้ ไดท้ ันทว่ งที ดังนั้น สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรจึงได้จัดทาโครงการติดตามการศึกษาสถานการณ์สินค้าเกษตร ปัจจัยการผลิต และภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกรข้ึน เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีมีความถูกต้อง ครบถว้ น และทันต่อเหตุการณ์ เพ่ือมาใชก้ ารรายงาน จัดทาข้อเสนอแนะ แนวทาง มาตรการ ทม่ี ีประสิทธภิ าพ โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร
๙ ในการเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงและรัฐบาลเพ่ือพัฒนาและแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจการเกษตรอย่างม่ันคง และย่ังยนื ตอ่ ไป 2. วัตถุประสงคโ์ ครงการ 2.1 เพือ่ ตดิ ตามสถานการณ์ด้านการผลิต และการตลาด ตลอดจนปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ ของสนิ ค้าเกษตรท่ี สาคัญ 2.2 เพือ่ ติดตามภาวะเศรษฐกจิ สังคมครวั เรือนและสถาบนั เกษตรกร 2.3 เพอ่ื ตดิ ตามสถานการณ์ด้านปจั จยั การผลิต ตลอดจนปัญหาท่ีเกดิ ข้นึ 2.4 เพ่ือตดิ ตามสถานการณก์ ารเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและผลกระทบที่เกดิ ข้ึน 2.5 เพื่อใช้เปน็ ข้อมูลในการจดั ทาข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา 3. เปา้ หมาย พื้นที่การผลติ สินค้าเกษตร โรงงานแปรรปู และตลาดสนิ คา้ เกษตร ทั่วทั้งประเทศ 4. กลุ่มเป้าหมายโครงการ เกษตรกร ผู้ประกอบการโรงงาน พ่อค้าทุกระดับที่เก่ียวข้อง และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งในด้านการ ผลิต การตลาดสินค้าเกษตร รวมทั้งติดตามภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร จากครวั เรือน เกษตรและเกษตรกร ผู้ประกอบการโรงงาน พ่อค้าทุกระดับท่ีเกี่ยวข้องกับปัจจัยการผลิต และเกษตรกรในการ ปรับเปลี่ยนระบบการผลิต จากผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 5. ตวั ชี้วัดเปา้ หมายโครงการ (Outputs) 5.1 ขอ้ มลู สถานการณ์ด้านการผลิต และการตลาด ตลอดจนปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ ของสนิ ค้าเกษตรทส่ี าคัญ 5.2 ขอ้ มลู สถานการณข์ องภาวะเศรษฐกจิ สังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร 5.3 ข้อมูลสถานการณด์ ้านปจั จัยการผลิต ตลอดปัญหาท่เี กิดข้ึน 5.4 ข้อมลู สถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและผลกระทบท่ีเกิดขนึ้ 5.5 ขอ้ มูลในการจดั ทาขอ้ เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปญั หา 6. ตวั ชีว้ ัดผลลพั ธ์ (Outcomes) ผู้บังคับบัญชาระดับสูงสามารถนารายงานสถานการณ์การผลิต และการตลาดของสินค้าเกษตร และ ปจั จัยการผลติ รวมทั้งภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบนั เกษตรกร และผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ ตลอดจนปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน และแนวทางการแก้ไขปัญหา มาใช้ในการตัดสินใจกาหนด นโยบาย ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนภาคเกษตร และช่วยเหลือเกษตรกรให้มีความมั่นคง ม่ังค่ัง ย่ังยืนใน อาชพี เกษตรตอ่ ไป 7. ระยะเวลาดาเนนิ งาน 1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562 8. วิธีดาเนินการ 8.1 ดาเนินการสารวจสนิ ค้าเกษตรในพืน้ ที่แหล่งผลิต โรงงานแปรรปู และตลาดสินค้าเกษตร โดยการ สอบถามเกษตรกร ผู้ประกอบการโรงงาน พ่อค้าทุกระดับที่เก่ียวข้อง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยสินค้า เกษตรท่ที าการติดตามสถานการณ์ ได้แก่ 8.1.1 พชื ไร่ เชน่ ข้าว มันสาปะหลัง ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ เปน็ ตน้ 8.1.2 พชื นา้ มนั เช่น ปาล์มนา้ มัน มะพร้าว ถ่ัวเหลอื ง อ้อยโรงงาน เปน็ ตน้ 8.1.3 พืชสวน เช่น ยางพารา กาแฟ สับปะรด ไม้ผล พืชผัก เคร่ืองเทศสมนุ ไพร ไม้ดอกและ ไม้ประดับ เปน็ ต้น โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร
๑๐ 8.1.4 ปศุสัตว์ เชน่ โคเน้ือ โคนม สุกร ไก่เนอ้ื ไขไ่ ก่ แพะ เป็นตน้ 8.1.5 ประมง ได้แก่ กุ้ง ปลา และสตั วน์ ้าอ่ืน ๆ เชน่ หอยแครง ปลาทูน่า เปน็ ตน้ 8.2 ดาเนินการสารวจครัวเรือนเกษตร โดยสอบถามเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรเก่ียวกับภาวะ เศรษฐกิจสังคม และสถานการณ์ต่าง ๆ อาทิ ภัยธรรมชาติ ที่ส่งผลกระทบต่อรายได้ หนี้สิน และความเป็นอยู่ ของเกษตรกร 8.3 ดาเนินการสารวจปัจจัยการผลิต ด้านการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิต และการตลาด โดยการ สอบถามเกษตรกร ผู้ประกอบการโรงงาน พ่อค้าทุกระดับท่ีเก่ียวข้อง โดยปัจจัยการผลิตที่ทาการติดตาม สถานการณ์ เช่น เมล็ดพันธุ์ ป๋ยุ สารเคมี และเครอ่ื งจกั รกลการเกษตร เปน็ ต้น 8.4 ดาเนินการสอบถามเกษตรกรในการปรับเปลี่ยนระบบการผลิต จากผลกระทบการเปลี่ยนแปลง สภาพภมู ิอากาศ 8.5 รายงานสถานการณส์ ินค้าเกษตรที่สาคัญรายสปั ดาห์ รายเดอื น และรายปี 9. แผนปฏิบตั ิงานและงบประมาณ รวม 2,325,000 บาท ประกอบดว้ ย 3 กจิ กรรม ดังนี้ 1. สารวจและเกบ็ รวบรวมข้อมลู เรม่ิ ระหว่างเดอื น ตุลาคม 2561 – กนั ยายน 2562 2. ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมลู เริม่ ระหวา่ งเดือน พฤศจกิ ายน 2561 – กนั ยายน 2562 3. จัดทารายงาน เรม่ิ ระหวา่ งเดือน พฤศจิกายน 2561 – กนั ยายน 2562 10. หน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบ สานักวจิ ัยเศรษฐกิจการเกษตร สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร 11. ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Impact) ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีข้อมูลท่ีถูกต้องและแม่นยาจากการติดตาม สถานการณ์สินค้าเกษตร ปัจจัยการผลิต และภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร มาใช้ในการ ตัดสินใจกาหนดนโยบาย มาตรการ ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนภาคเกษตร และช่วยเหลือเกษตรกรให้มี ความมัน่ คง มัง่ ค่งั ยง่ั ยนื ในอาชีพเกษตรตอ่ ไป โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานบรู ณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๑๑ กจิ กรรมย่อยท่ี 2 : โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการจัดทาสารสนเทศต้นทุนการผลติ เพ่ือพัฒนา ศกั ยภาพการผลิตภาคเกษตร 1. เหตผุ ลความจาเป็น จากยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ในการสร้างความสามารถในการแข่งขัน และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี (ปี 2560 – 2579) ท่ีต้องการสรา้ งความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับ มาตรฐานสินค้า และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ประกอบกับ แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) กาหนด ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุปทาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลด ต้นทุนการผลิตและสร้างโอกาสในการแข่งขันของสินค้าเกษตร ดังน้ัน เพ่ือให้การกาหนดยุทธศาสตร์ดังกล่าวมี ความถูกต้อง สอดคล้องกับสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงในตลาดโลก จาเป็นที่จะต้องมีข้อมูลเชิงลึก มีรายละเอียดที่หลากหลายท้ังตามแหล่งผลิต ซึ่งความมีอยู่ของข้อมูลต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตรท่ีสานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร ดาเนินการจัดทาไว้ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลระดับภาค ประเทศ ยังไม่มีข้อมูลถึงระดับจังหวัด ทั้งด้านการเลี้ยงของปศุสัตว์และประมง ซ่ึงต้องมีการจัดเก็บข้อมูลรายละเอียดจานวนมาก และต้องมีจานวน ตวั อย่างท่เี พียงพอสามารถใช้เป็นตัวแทนที่ดีได้ ด้วยเหตุดังกล่าว สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรในฐานะหน่วยงาน ที่มภี ารกิจหน้าท่ีในการจัดทาและเผยแพร่ข้อมลู เศรษฐกิจการเกษตรจึงจัดทาโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทา สารสนเทศต้นทุนการผลิต เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตรเพื่อที่จะเตรียมการจัดหาข้อมูลสารสนเทศ ต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญ โดยเฉพาะสินค้าเศรษฐกิจให้มีรายละเอียดเชิงลึกเพื่อสนับสนุนการจัดทา มาตรการ นโยบายต่าง ๆ ตามนโยบายกระดาษ A4 เช่น โครงการพัฒนาระบบการเกษตรแปลงใหญ่ โครงการ Zoning by Agri-map แผนการผลิตข้าวครบวงจร เป็นต้น เพ่ือให้โครงการต่าง ๆ ดังกล่าวได้มีฐานข้อมูลไว้ศึกษา วิเคราะห์เปรียบเทียบเพื่อขับเคลื่อนในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต และจัดทาสินค้าให้มีคุณภาพ มีตลาดรองรับ นาไปสู่เป้าหมายคุณภาพชีวิตของเกษตรกรท่ีดีขึ้น มีฐานะทางสังคมมีความภูมิใจในอาชีพ และมีรายได้เพิ่มขึ้น หนี้สินลดลง 2. วัตถุประสงคโ์ ครงการ 2.1 เพื่อจัดทาข้อมูลต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญ โดยเน้นโคนม (น้านมดิบ) และปลานิล จัดทา ในระดบั จังหวัด 2.2 เพ่ือพัฒนาบุคลากรของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ให้มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดทาต้นทุน การผลติ สินคา้ เกษตร 2.3 เพ่ือใหเ้ กษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทาข้อมลู ต้นทนุ การผลิต 3. เปา้ หมายโครงการ (Outputs) และตวั ชี้วัด 3.1 ข้อมูลต้นทุนการผลิตน้านมดิบ/ปลานิล ระดับจังหวัด (สศท.จัดทาต้นทุนการผลิต ระดับจังหวัดได้ อยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ 50 ของจงั หวัดท่มี ีการเลย้ี ง) 3.2 เจ้าหน้าท่ี สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 1-12 ได้รับการอบรมเก่ียวกับการจัดทาข้อมูลต้นทุน การผลติ นา้ นมดิบ/ปลานลิ (เจ้าหน้าท่ี สศท. ผ่านการอบรมอย่างน้อยร้อยละ 60) โครงการพฒั นาศกั ยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานบรู ณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร
๑๒ 4. ตัวชวี้ ัดผลลัพธ์ (Outcomes) ผู้บริหารมีข้อมูลต้นทุนการผลิตน้านมดิบ/ปลานิล ระดับจังหวัด สาหรับใช้ประกอบการตัดสินใจในการ กาหนดมาตรการและนโยบายได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพมากขึน้ 5. กลุ่มเปา้ หมายโครงการ (Target group) เจา้ หน้าท่ขี องสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 1-12 และเกษตรกรผเู้ ล้ียงโคนม/ปลานลิ 6. กจิ กรรม – วิธีดาเนินการ (Activity) ตน้ ทาง 0 จัดทาต้นทุนการผลิตน้านมดิบ/ปลานิล ระดับจังหวัด และสินค้าเกษตรอื่นที่สาคัญระดับประเทศ โดยวธิ ีการสารวจ 0 จดั อบรมสารวจ/จัดทาตน้ ทนุ การผลิตน้านมดิบ/ปลานลิ - ศนู ย์สารสนเทศการเกษตร จดั อบรมการสารวจและจัดทาต้นทุนการผลติ ให้กับเจ้าทขี่ อง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 1-12 (เจ้าหน้าท่ีของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 1-12 ผ่านการไดร้ ับความรูใ้ นการจัดทาและวเิ คราะห์ข้อมลู ต้นทุนการผลติ จานวน 30 คน 7. แผนการปฏบิ ัตงิ าน ประกอบดว้ ย 2 กิจกรรม 1. สารวจเพื่อจัดทาฐานขอ้ มลู ตน้ ทนุ เรมิ่ ระหว่างเดือน พฤศจกิ ายน 2561 – กันยายน 62 2. อบรมหลักสตู รจัดทาและวเิ คราะห์ข้อมูลต้นทุนการผลติ ในเดอื น มกราคม 2562 8. ระยะเวลาดาเนนิ การโครงการ ระหวา่ งเดอื น ตลุ าคม 2561 – กันยายน 2562 9. งบประมาณ รวมทงั้ สนิ้ 2,798,000 บาท (ทุกรายการถวั เฉลยี่ กันได)้ 9.1 ค่าใช้จ่ายในการอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การวิเคราะห์ต้นทุนน้านมดิบและปลานิล ท่ีส่วนกลาง จานวน 129,200 บาท 9.2 ค่าใช้จ่ายในการสารวจต้นทุนสินค้าเกษตรท่ีสาคัญ โดยจัดทาข้อมูลน้านมดิบและปลานิล ในระดับ จงั หวดั จานวน 2,668,800 บาท 10. สถานท/่ี พ้ืนทด่ี าเนนิ การ จังหวดั ท่มี ีการเล้ียงโคนม/ปลานิล ท่อี ยู่ในความรบั ผิดชอบของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 1-12 11. หน่วยงานทีร่ บั ผดิ ชอบ ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตรและสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 1-12 12. ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ (Impact) 12.1 เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั ข้อมูลต้นทุนการผลิต และสามารถนาความรู้ที่ได้ไปปรับปรุง การบริหารจัดการฟาร์มให้มีประสิทธภิ าพมากขน้ึ เพ่ือลดตน้ ทนุ การผลิตและเพิม่ รายไดไ้ ดอ้ ย่างย่ังยืน โครงการพฒั นาศกั ยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๑๓ 12.2 เจ้าหน้าท่ีสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรได้รับการพัฒนาศักยภาพ เพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับการ จัดทาตน้ ทุนการผลติ นา้ นมดบิ /ปลานลิ และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้เกษตรได้ 12.3 ผู้บริหารมีข้อมูลต้นทุนการผลิตน้านมดิบ/ปลานิล ระดับจังหวัด และข้อมูลสินค้าเกษตรที่สาคัญ สามารถนาไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจในการกาหนดยุทธศาสตร์และนโยบายท่ีมีความเหมาะสม สอดคล้องกับ สถานการณก์ ารผลิตในแต่ละท้องท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขน้ึ 13. ผลสมั ฤทธ์ิ เป็นศูนยก์ ลางข้อมูลที่มีรายละเอียดเชิงลึก ท่ีเกษตรกรสามารถนาข้อมูลวางแผนการผลิตของตนเอง หรือ ภาครัฐมีข้อมูลเพียงพอ ที่จะส่งเสริมสนับสนุนการจัดทานโยบาย มาตรการ/โครงการ กิจกรรมในการพัฒนา ส่งเสริมด้านการผลิต และการตลาดของสินค้าเกษตรได้อย่างมีเป้าหมายและทิศทางท่ีชัดเจน บรรลุวัตถุประสงค์ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับต่าง ๆ กิจกรรมย่อยที่ 3 : แนวทางการจดั การความเสี่ยงตลอดโซ่อุปทานภายใตเ้ กษตรยคุ ใหม่ 1. ความเป็นมาโครงการ ภาคการเกษตรเป็นภาคการผลิตท่ีมีบทบาทที่สาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ ในปี 2558 ประเทศ ไทยมีมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร 1.21 ล้านล้านบาท (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร , 2560) ซ่ึง GDP ภาค เกษตรมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเล็กน้อยเม่ือเปรียบเทียบกับ GDP รวมของประเทศ จากบริบทของโลกที่ปัจจุบันมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ กระแสโลกมุ่งเน้นสินค้าที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ การผลิตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และมี ความต้องการอาหารของโลกสูงข้ึน แนวโน้มภาคเกษตรของโลกในอนาคตจึงมุ่งเน้นไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต การใช้นวัตกรรมเพ่ือลดปัญหาทรัพยากรที่มีจากัด การใช้โอกาสด้านพลังงานการเปล่ียนผ่านสู่ยุคคนรุ่น ใหม่ การเพิ่มความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค เน้นภาคบริการและการเป็นหุ้นส่วนเศรษฐกิจ โดยตาม แนวทางของรัฐบาลเพ่ือให้ประเทศหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และย่ังยืน ได้ กาหนดการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ Thailand 4.0 มีนโยบายสร้างความเข้มแข็งจากภายในเช่ือมโยงสู่ประชาคม โลกผ่านกลไกประชารัฐ ปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ Value Based Economy หรือเศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือน ด้วยนวัตกรรม เปลี่ยนการเกษตรแบบดั้งเดิมสู่บริบทการเกษตรยุคใหม่ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) ซ่งึ จากบรบิ ททีเ่ ปลยี่ นแปลงไปส่ผู ลให้เกษตรกรต้องปรับเปลี่ยนตนเอง การปรับตัวของเกษตรกรภายใต้สถานการณ์การเกษตรในปัจจุบันมีแนวโนม้ ทาให้เกษตรกรประสบปัญหา ความเสี่ยงตลอดโซ่อุปทาน (Supply Chain) ทั้งจากปัจจัยภายนอก ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติเส่ือมโทรม การ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น ภาวะความไม่สมดุลทางธรรมชาติ ฝนแล้ง น้าท่วม ความเสี่ยงราคาผลผลิตไม่ แน่นอนขึ้นกับอุปสงค์และอุปทาน วัตถุดิบการผลิตมีราคาสูงขึ้น การไม่สามารถเข้าถึงการสนับสนุนของภาครัฐ และการแข่งขันทางการค้าและการกีดกันท่ีมิใช่มาตรการด้านภาษีสูงขึ้น เป็นต้น สาหรับความเสี่ยงปัจจัยภายใน ได้แก่ เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นรายย่อยมีวิธีการปฏิบัติการผลิตแบบเดิม แรงงานเกษตรในปัจจุบันมีอายุมากและ ยุวชนเกษตรขาดการสืบทอดอาชีพเกษตร การไม่มีกรรมสิทธิ์ที่ดินทากิน การขาดความรู้นวัตกรรมและ เทคโนโลยีการเกษตร และสถาบันเกษตรกรและสหกรณ์ไม่เข้มแข็ง รวมถึงความเส่ียงจากการใช้สารเคมีใน กระบวนการผลิตสง่ ผลอันตรายต่อสุขภาพระยะยาว เป็นต้น ซึ่งรัฐบาลมีความตระหนักถงึ ปัญหาความเสี่ยงในภาค เกษตรจึงมีมาตรการเพื่อแก้ไขและบรรเทาปัญหาความเส่ียงมาโดยตลอด นโยบายหนึ่งคือการจัดทาเขตเกษตร โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานบรู ณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๑๔ เศรษฐกจิ เพื่อให้เกิดความสมดุลระหวา่ งอุปทานและอุปสงค์ โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้มีการประกาศเขต เหมาะสมสาหรับการปลูกพืชจานวน 13 ชนิด ตามการวิเคราะห์ความเหมาะสมของดินและปัจจัยความต้องการ พืชแต่ละชนิดตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นมา ในการศึกษาคร้ังนี้จะศึกษาพืชจานวน 7 ชนิด ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้ามัน ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ เน่ืองจากเป็นพืชเศรษฐกิจที่นายกรัฐมนตรีมีข้อสั่งการเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2561 ให้มีการจัดทาข้อมูลพืชเกษตรครบวงจรเพื่อแสดงให้เห็นถึงการดาเนินการที่เก่ียวข้องตลอดโซ่ อุปทาน รวมถึงสับปะรดโรงงานและมะพร้าวท่ีปัจจุบันเป็นพืชที่ประสบปัญหาด้านราคาค่อนข้างมาก โดย ความสาคญั ของพืชดังกล่าวมีดังนี้ ข้าว เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญทั้งการบริโภคภายในประเทศและส่งออกไปในตลาดโลก ประเทศไทยผลิต และส่งออกข้าวอันดับต้น ๆ ของโลก แต่ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านการผลิตและรสนิยมการบริโภคที่ แตกตา่ ง เทคโนโลยีนวัตกรรมสมัยใหม่ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของภูมอิ ากาศ มีผลกระทบและเกดิ ความเสี่ยงท้ัง ด้านการผลิตและการตลาดของข้าวในอนาคตได้เช่นกัน ซ่ึงความเส่ียงนี้มีผลกระทบต่อผลผลิตข้าว รายได้ของ เกษตรกร และมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในกระบวนการผลิต เช่น วิธีการปลูก ระยะเวลาที่เพาะปลูกการเลือกพันธ์ุ รวมท้ังการใช้เทคโนโลยีการผลิตตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ มันสาปะหลัง ในปี 2559 เกิดภาวะภัยแล้งทาให้พ้ืนท่ีบางส่วนได้รับความเสียหายเกษตรกรต้องปลูก ทดแทนหลายรอบ จึงขาดแคลนท่อนพันธ์ุ รวมถึงประเทศคู่ค้าหลัก คือ จีน พยายามกดราคา เพ่ือให้ได้ราคามัน เส้นและแป้งมันสาปะหลังต่าที่สุด และประเทศคู่แข่งที่สาคัญคือ เวียดนาม ขายผลิตภัณฑ์ในราคาต่า จึงส่งผล กระทบให้ราคามนั สาปะหลังและผลิตภัณฑล์ ดต่าลงอย่างต่อเนื่อง ยางพารา ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่เป็นลาดับ 2 ของโลก โดยการผลิตในปี 2560 ผลผลิตลดลง เนื่องจากภาคใต้ซึ่งเป็นแหล่งผลิตท่ีสาคัญมีจานวนวันฝนตกเพ่ิมข้ึนทาให้เกษตรกรมีวันกรีดยางน้อยลงด้านความ ต้องการใช้ยาพารา มีความต้องการใช้ยางในตลาดโลกเพิ่มข้ึนโดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรม ต่อเน่ืองในประเทศจีนและอินเดีย ประกอบกับภาครัฐมีการส่งเสริมและสนับสนุน ให้มีการแปรรูปยางพาราเป็น ผลติ ภณั ฑต์ ่างๆ เพ่อื ใช้ภายในประเทศเพ่ิมมากข้ึน ปาล์มน้ามัน ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่เป็นอันดับท่ี 3 ของโลก โดยในช่วงท่ีผ่านมาพื้นท่ีเพาะปลูก และผลผลิตมีแนวโน้มเพิม่ ข้นึ เนอื่ งจากเน้ือท่ีให้ผลในชว่ งปาล์มน้ามันอายุ 7-16 ปี ซึ่งเป็นชว่ งอายุปาล์มน้ามันให้ ผลผลติ สูงมีสัดส่วนมากข้ึนและสภาพอากาศเอ้ืออานวย ด้านความต้องการใชป้ าลม์ น้ามันปี 2561 ตลาดโลกมี ความต้องการใช้ปาล์มนา้ มันเพิม่ ขน้ึ อย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะเพ่ือผลิตนา้ มันไบโอดีเซล อย่างไรก็ตามเน่ืองจาก ประเทศอินโดนเี ซียและมาเลเซยี ซ่ึงเป็นผสู้ ่งออกรายใหญ่มีการผลักดนั การส่งออกปาลม์ น้ามนั เพิ่มขึ้น เพือ่ ลดสตอ็ กภายในประเทศ ประกอบกบั ปริมาณความต้องการใชเ้ พ่ิมขน้ึ น้อยกวา่ ปรมิ าณการผลิตทเ่ี พิ่มขนึ้ ทาให้ ราคานา้ มนั ปาล์มในตลาดโลกมีแนวโน้มลดลง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ พ้ืนที่เพาะปลูกมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากราคาที่เกษตรกรได้รับไม่จูงใจ จึงมีการ ปรับเปล่ียนพื้นท่ีไปปลูกพืชอื่นท่ีให้ผลตอบแทนสูงกว่า ประกอบกับภาคเอกชนมีมาตรการไม่รับซ้ือข้าวโพดเล้ียง สัตว์ทปี่ ลกู ในพืน้ ทป่ี ลูกไม่เหมาะสม เช่น พ้ืนที่ไม่มเี อกสารสทิ ธิ/พนื้ ทปี่ ่า ทงั้ นี้ในปี 2560-61 รัฐบาลมีมาตรการ ช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้างโพดเลี้ยงสัตว์ผ่านโครงการสินเช่ือเพื่อรวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และสร้างมูลค่าเพ่ิม โดยสถาบันเกษตรกร มีเป้าหมายสนับสนุนสินเช่ือแก่สถาบันเกษตรกรเพื่อให้มีเงินทุนหมุนเวียนการรับซื้อที่ หลากหลาย โครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานบรู ณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร
๑๕ สับปะรดโรงงาน ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่เป็นลาดับ 3 ของโลก และมีปริมาณและมูลค่าการ ส่งออกเป็นลาดับที่ 1 ของโลก โดยในชว่ งปี 2557-2558 ราคาสับปะรดโรงงานสูงขึ้นอยา่ งต่อเน่ืองจงู ใจให้ เกษตรกรเพิ่มพ้ืนที่ปลูก อย่างไรก็ตามในปี 2560 เป็นต้นมา ราคาลดลงอย่างมาก เนื่องจากปริมาณผลผลิต เพ่ิมข้ึนจากสภาพอากาศที่เอื้ออานวย ประกอบกับโรงงานแปรรูปสับปะรดประสบปัญหาการส่งออกในตลาด ต่างประเทศ เชน่ การถกู ตดั สทิ ธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากร GSP (Generalized System of Preferences) จากยโุ รป ทาใหป้ ริมาณการสง่ ออกสับปะรดลดลงจากเดมิ กว่าร้อยละ 20 สง่ ผลให้ราคาทเ่ี กษตรกรไดร้ ับลดลง มะพร้าว ในช่วง 5 ปี ท่ีผ่านมาพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตมีแนวโน้มลดลง ส่วนหนึ่งจากปัญหาการ ระบาดของแมลงศัตรูมะพร้าว ด้านความต้องการใช้มะพร้าวในภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ืองมี อัตราการเติบโตสูงประมาณร้อยละ 10 ทาให้มีการนาเข้ามะพร้าวเพ่ิมมากข้ึน ประกอบกับมะพร้าวเป็นสินค้าที่ ประเทศไทยต้องเปิดตลาดตามข้อผูกพัน สง่ ผลใหร้ าคามะพรา้ วในประเทศลดต่าลง จากความส าคั ญ ของปั ญ หาความเสี่ ยงท่ี เกิ ดขึ้ น ได้ ตลอดโซ่ อุ ป ทานภ าย ใต้ บ ริ บทการเปลี่ ยน แป ลง แม้ว่าท่ีผ่านมารัฐบาลจะมีนโยบายเพื่อจัดความเสี่ยงภาคเกษตร แต่ส่วนใหญ่ยังไม่มีการนาประเด็นการประเมิน และจัดการตามระดับความเส่ียง รวมถึงการวิเคราะห์ความอ่อนไหวอันเกิดจากความไม่แน่นอนมาร่วมพิจารณา แบบองค์รวมตลอดโซ่อุปทาน สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 1-12 จึงสนใจศึกษา แนวทางการจัดความเส่ียง ตลอดโซ่อุปทานภายใต้เกษตรยุคใหม่ ในพืช 7 ชนิด คือ ข้าว มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ยางพารา สับปะรดโรงงาน และมะพร้าว เพื่อวิเคราะห์เหตุปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเส่ียง การประเมินระดับความ เสี่ยง ตลอดจนจัดทาแนวทางบริหารจัดการความเสี่ยงตลอดโซ่อุปทาน เพ่ือเป็นข้อเสนอแนะในการกาหนด นโยบายการจัดการความเสีย่ งในภาคการเกษตรต่อไป 2. วตั ถุประสงค์ 2.2.1 เพอื่ ศึกษาปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อความเสีย่ งตลอดโซอ่ ุปทานของพ้นื ท่สี าคัญได้แก่ ขา้ ว มันสาปะหลงั ปาล์มน้ามัน ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ ยางพารา สับปะรดโรงงาน และมะพรา้ ว 2.2.2 เพื่อวิเคราะห์และประเมินระดับความเสีย่ งของปจั จัยทสี่ ่งผลต่อความเสย่ี งตลอดโซ่อุปทานของพืช ที่สาคญั ไดแ้ ก่ ข้าว มันสาปะหลัง ปาล์มนา้ มนั ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ ยางพารา สัปปะรดโรงงาน และมะพรา้ ว 2.2.3 เพ่ือจัดทาแนวทางการจัดการความเสี่ยงตลอดโซ่อุปทานของพืชที่สาคัญได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง ปาลม์ นา้ มนั ข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ ยางพารา สบั ปะรดโรงงาน และมะพร้าว 3. เป้าหมาย/ตัวชว้ี ดั Output รายงานผลการศึกษาแนวทางการจัดการความเสีย่ งตลอดโซอ่ ุปทานภายใต้เกษตรยุคใหม่ จานวน 1 เรื่อง 4. พ้นื ท่ีดาเนินการ 4.1 พ้นื ท่ีเปา้ หมาย ศึกษาในจงั หวัดทีเ่ ป็นแหลง่ ผลติ ที่สาคัญของพืชที่ทาการศึกษาจานวน 7 ชนดิ ดังน้ี 1) ข้าว ได้แก่ จังหวัดเชียงราย พิษณุโลก ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ นครราชสมี า สุรนิ ทร์ สุพรรณบุรี พระนครศรอี ยุธยา อบุ ลราชธานี ศรสี ะเกษ ยโสธร นครสวรรค์ และพจิ ิตร 2) มันสาปะหลัง ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก เลย อุดรธานี มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ขอนแกน่ บรุ ีรมั ย์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระแก้ว ลพบุรี มุกดาหาร อุบลราชธานี กาแพงเพชร และเพชรบรู ณ์ 3) ยางพารา ได้แก่ จังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน เลย บึงกาฬ ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ุ สุรินทร์ บุรีรัมย์ จนั ทบรุ ี ระยอง ชมุ พร สุราษฎรธ์ านี นครศรธี รรมราช ตรัง พัทลงุ สงขลา ยะลา นราธิวาส กาญจนบุรี โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๑๖ ประจวบคีรขี นั ธ์ มกุ ดาหาร อุบลราชธานี ศรสี ะเกษ และเพชรบูรณ์ 4) ปาล์มน้ามัน ได้แก่ จังหวัดเชียงราย พะเยา พิษณุโลก บึงกาฬ กาฬสินธุ์ ตราด ระยอง ชลบุรี สระแก้ว สุพรรณบุรี ปทุมธานี ชุมพร สุราษฎร์ธานี พังงา กระบ่ี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา สตูล นราธิวาส อุบลราชธานี ศรสี ะเกษ และเพชรบรู ณ์ 5) ข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ ไดแ้ ก่ จังหวดั เชียงราย พะเยา ลาปาง ตาก แพร่ น่าน เลย ขอนแกน่ ชัยภมู ิ นครราชสีมา ลพบรุ ี อบุ ลราชธานี นครสวรรค์ อทุ ัยธานี และเพชรบูรณ์ 6) สับปะรดโรงงาน ได้แก่ จังหวัดเชียงราย ลาปาง อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม ชัยภมู ิ ระยอง ชลบุรี สุพรรณบุรี พทั ลุง ประจบคีรขี ันธ์ และอุทยั ธานี 7) มะพร้าว ได้แก่ จังหวัดตาก อุดรธานี สกลนคร ขอนแก่น ฉะเชิงเทรา ตราด ระยอง ชลบุรี ปทุมธานี ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา ปัตตานี นราธิวาส ราชบุรี สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ศรสี ะเกษ และเพชรบูรณ์ 4.2 ประชากรเป้าหมาย ได้แก่ เกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ท่ีเก่ียวข้องตลอดโซ่อุปทานของพืชที่ สาคัญที่มีการประกาศเขตเหมาะสมสาหรับการปลูกจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จานวน 7 ชนิด ไดแ้ ก่ ข้าว มันสาปะหลงั ปาล์มน้ามัน ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ ยางพารา สับปะรดโรงงาน และมะพร้าว 5. กิจกรรม/วธิ ีการดาเนินงาน 5.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 5.2 วิธกี ารวิเคราะหข์ อ้ มูล 1) ใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็นการนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ืออธิบายข้อมูลทั่วไปของเกษตรกร และข้อมูลจากการประชุม Focus Group รวมถึงอธิบายแนวทางการจัดการ ความเส่ยี งตลอดโซ่อปุ ทาน โดยใชว้ ธิ กี ารวิเคราะหท์ างสถิติอย่างง่าย ได้แก่ คา่ เฉลย่ี และค่าร้อยละ 2) การวิเคราะห์เชิงสถิติอนุมานหรือสถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) เป็นการวิเคราะห์ ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง เพ่ือหาปัจจัยเส่ียง การประเมินระดับความเส่ียงการเกษตร และการวิเคราะห์ความ ออ่ นไหวของทางเลือก โดยใชก้ ระบวนการวิเคราะห์ตามลาดบั ช้นั (Analytic Hierachy Process) 6. แผนปฏิบัติงาน การศึกษาแนวทางการจัดการความเสี่ยงตลอดโซ่อุปทานภายใต้เกษตรยุคใหม่ มีแผนปฏิบัติงานระหว่าง เดือนตลุ าคม 2561 – กนั ยายน 2562 1. เตรียมงานและวางแผนงาน จัดทาเค้าโครงการวิจัยและอบรมพัฒนาความรู้ ระหว่างเดือน ตลุ าคม 2561 – มกราคม 2562 2. ดาเนินการวิจัย จัดประชุม Focus Group และสัมมนาผู้ท่ีเกี่ยวข้องตลอดโซ่อุปทาน ระหว่าง เดอื นกุมภาพันธ์ 2562 – พฤษภาคม 2562 3. ประมวลผล วิเคราะห์ และสรุปผล ระหวา่ งเดือนมถิ ุนายน 2562 – กรกฎาคม 2562 4. จัดทารายงานผลการศึกษา ระหวา่ งเดอื นสงิ หาคม 2562 – กนั ยายน 2562 โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานบรู ณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร
๑๗ 7. ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ ระหว่างเดือนตลุ าคม 2561 – กันยายน 2562 8. ผลลพั ธ์ รายงานผลการศึกษาและบทความทางวิชาการ แนวทางการจัดการความเส่ียงของสินค้าสาคัญท่ีจะต้อง เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ตามกรอบแผนงานบูรณาการการพัฒนาศักยภาพการผลิต 7 สินค้า ได้แก่ (ข้าว มันสาปะหลงั ยางพารา ปาลม์ นา้ มนั ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ สบั ปะรด มะพร้าว) 9. งบประมาณ ปีงบประมาณ 2562 ท่ีได้รับ สานักงบประมาณจดั สรรเบ้ืองต้น จานวน 3,000,000 บาท 10. หนว่ ยงาน/ผรู้ บั ผดิ ชอบ 10.1 สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร เป็นหนว่ ยงานหลัก 10.2 กรมสง่ เสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมพัฒนาท่ีดิน กรมชลประทาน สานักงานมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กรมวิชาการเกษตร และกรมการข้าว รวมถึงหน่วยงานกระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงพาณชิ ย์ เปน็ หน่วยงานสนบั สนนุ 11. ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับ 11.1 มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงท่ีเกิดข้ึนของพืชที่สาคัญตลอดโซ่ อุปทาน ตั้งแต่ขบวนการผลิต เก็บเกี่ยว การตลาด จากฟาร์มถึงผู้บริโภค รวมถึงหน่วยงานกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์สามารถใช้ข้อมูลไปประกอบการวางแผนเพื่อจัดการความเสี่ยงในโซ่อุปทานรายสินค้าได้เหมาะสมตาม บรบิ ทการเปลีย่ นแปลง 11.2 เกษตรกร สามารถบริหารจัดการความเส่ียงตลอดโซ่อุปทาน สามารถปรับตัว และมีวิธีการควบคุม ลด และปอ้ งกนั ความเส่ียงได้ กิจกรรมย่อยที่ 4 : การจดั ทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดบั ภมู ิภาค 1. หลกั การและเหตุผล การวิเคราะห์และประมาณการภาวะเศรษฐกิจการเกษตร (ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร: GDP ภาค เกษตร) และรายสาขาการผลิตที่สาคัญ ประกอบด้วย สาขาพืช (ข้าว ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน ยางพารา สับปะรด มะพร้าว) สาขาปศุสัตว์ สาขาประมง สาขาบริการทางการเกษตร และสาขาป่าไม้ จะทาให้ ผู้บริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสาธารณชนท่ัวไป ทราบถึงปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อการเติบโตของภาคเกษตรและทิศทางการเติบโตของภาคเกษตรระดับประเทศ สามารถนาไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย ใช้แนวทางในการแก้ปัญหา/อุปสรรค การเตรียมการ มาตรการรองรับสถานการณ์ต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึน รวมถึงการทบทวนนโยบายและมาตรการด้านการเกษตรให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้การดาเนินนโยบายและมาตรการด้านการเกษตรมี ประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ท้ังนี้ ในการจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรจะมีขั้นตอนการดาเนินการ ได้แก่ การ รวบรวมข้อมูล การติดตามสถานการณ์และปัจจัยท่ีเก่ียวข้องทั้งภายในและภายนอกประเทศ อาทิ นโยบายและ มาตรการของภาครัฐ เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจการเกษตรโลก อัตราแลกเปล่ียน ราคาน้ามัน และภัยธรรมชาติ ทา การวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเติบโตของภาคเกษตรประกอบกับมีการ ติดตามสถานการณ์ในพื้นท่ี เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์และเขียนรายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตร นอกจากน้ี ยังมีการจัดสัมมนาเพื่อนาเสนอและเผยแพร่ผลการประมาณการภาวะเศรษฐกิจการเกษตร รวมท้ัง โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานบรู ณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๑๘ แลกเปล่ียนข้อคิดเห็นกับผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับภาคเกษตร ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการกาหนดแนวทางหรือ ปรับปรุงนโยบายและมาตรการด้านการเกษตรของประเทศในระยะต่อไป ในปัจจุบันการดาเนินนโยบายของรัฐบาลได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับจังหวัดและ ระดับภูมิภาคมากขึ้น เน่ืองจากต้องการกระจายการพัฒนาและกิจกรรมทางเศรษฐกิจออกไปสู่ภูมิภาคเพื่อ สนับสนุนให้ภูมิภาคต่าง ๆ สามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมได้อย่างเต็มที่ตามศักยภาพและโอกาสช่วยยกระดับ รายได้ ลดความเหล่ือมล้าในการกระจายรายได้ และทาให้คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น ดังนั้น สานักงาน เศรษฐกิจการเกษตรที่ 1 – 12 ในฐานะเป็นหน่วยงานส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในภูมิภาค จึงเป็นส่วนสาคัญในการ พัฒนาการเกษตรระดับภูมิภาค โดยดาเนินการจัดทาข้อมูลและสถานการณ์ที่เก่ียวข้องกับภาคเกษตรท้ังด้านการ ผลิต ราคาสินค้าเกษตร ปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีผลกระทบต่อภาคเกษตร และจัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ระดับภูมิภาค เป็นรายไตรมาสและรายปี ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้างภาคเกษตร และชี้นาแนวโน้มภาวะ เศรษฐกิจการเกษตรในระดับภูมภาค รวมทั้งเป็นประโยชน์ต่อการบูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ ในภูมิภาคเพ่ือใช้ เป็นข้อมูลในการกาหนดแนวทาง นโยบาย หรือแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรในระดังภูมิภาค ให้มี ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศในภาพรวม ท้ังน้ี ในช่วงท่ีผ่านมา สานักงานเศรษฐกิจ การเกษตรท่ี 1 - 12 ไดท้ าการวิเคราะห์และประมาณการภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรระดับจังหวดั เป็นรายไตรมาส และรายปี ซึ่งเริ่มดาเนินการใน 12 จังหวัด และปัจจุบันขยายเป็น 25 จังหวัด สาหรับในอนาคตมีเป้าหมายท่ีจะ ดาเนินการให้ครอบคลุมทุกจังหวัด เพ่ือให้ได้ผลการวิเคราะห์ในระดับจังหวัดท่ีสามารถนามาวิเคราะห์เป็นระดับ ภาค ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นถึงภาพเศรษฐกิจที่มีความครบถ้วนสมบูรณ์ย่ิงขึ้น นอกจากน้ี ยังสามารถให้เป็นข้อมูล ประกอบการให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัดทาแผนงาน/โครงการในเวทีระดับภูมิภาคได้ ทั้งนี้ ใน การดาเนินการดังกล่าวให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ได้กาหนดได้ จาเปน็ ต้องอาศยั บุคลากรท่ีมอี งค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะทางวิชาการ รวมทั้งต้องมีบุคลากรท่ีเพียงพอสาหรับการติดตามสถานการณ์ การวิเคราะห์ การประมาณการ และการจัดทารายงาน เพื่อทาให้การจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาค มี ประสทิ ธิภาพ มีความถูกตอ้ งและแมน่ ยามากย่ิงขึ้น 2. วัตถปุ ระสงค์โครงการ (Outcomes) 2.1 เพ่ือจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรในระดับจังหวัดและระดับภาค เป็นรายไตรมาสและรายปี ใหค้ รอบคลมุ ท้งั ประเทศ 2.2 เพื่อสนับสนุนบทบาทการเป็นองค์กรชี้นาการพัฒนาการเกษตรในระดับจังหวัดและระดับภาคของ สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 3. เปา้ หมายโครงการ (Outputs) รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัดและระดับภาค เป็นรายไตรมาสและรายปี ประกอบด้วย สาขาพืช (ข้าว ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน ยางพารา สับปะรด มะพร้าว) สาขาปศุสัตว์ สาขา ประมง สาขาบริการทางการเกษตร และสาขาป่าไม้ จานวน 76 จังหวัด โดยมีระยะเวลาดาเนินการตั้งแต่ ปี 2562 – 2564 (ปี 2562 จานวน 53 จงั หวัด ปี 2563 และ ปี 2563 จานวน 76 จงั หวดั ) 4. กิจกรรมการดาเนนิ งาน 4.1 การอบรมเชิงปฏิบั ติการเกี่ยวกับการจัดท า GPP แบบปริมาณ ลูกโซ่ (Chain Volume Measures: CVM) โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานบรู ณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร
๑๙ 4.2 การจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด ดาเนินการ โดย สานักงานเศ รษฐกิจ การเกษตรท่ี 1 - 12 1) รวบรวมข้อมูลและสถานการณ์ที่เก่ียวข้องกับเศรษฐกิจการเกษตร วิเคราะห์และประมาณการ ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจงั หวัด 2) สารวจและติดตามสถานการณ์ในพื้นท่ี เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวเิ คราะห์และเขียนรายงาน ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจงั หวดั 3) จัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด รายปี 1 ฉบับ (ปี 2561 และแนวโน้มปี 2562) และรายไตรมาส 3 ฉบบั (ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ของปี 2562) กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร ลงพ้ืนที่เพื่อรว่ มติดตามและให้คาปรึกษาเก่ียวกับการจัดทา ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรระดบั จงั หวัด 4.3 การประชุมเชิงปฏบิ ัติการเกี่ยวกบั การจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดบั ภาค กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรดาเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือช้ีแจงและให้ความรู้ เกี่ยวกบั การจัดทาภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรระดับภาค 4.4 การสัมมนาเชิงปฏบิ ตั ิการ เร่ือง ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภมู ิภาค กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร ร่วมกับสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 1 – 12 จัดการ สัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ าร เร่ือง ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมภิ าค โดยจัดสัมมนาในส่วนภูมิภาค จานวน 1 ครั้ง เพ่ือ นาเสนอผลการวเิ คราะห์ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมภิ าคให้ผู้ที่มีส่วนเก่ยี วข้องท้ังภาครัฐและเอกชน นักวชิ าการ และเกษตรกรสามารถนาผลการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาคไปใช้ประกอบการวางแผนและการ ตัดสนิ ใจเชิงนโยบายดา้ นการเกษตรในระดับพื้นท่ีให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 4.5 การจัดนทิ รรศการเผยแพร่ขอ้ มลู ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรระดับจงั หวัด ดาเนินการจดั นิทรรศการในงานสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ าร เร่ือง ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาค จานวน 1 ครั้ง เพอ่ื จัดแสดงนิทรรศการการเผยแพรข่ ้อมลู ผลการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรระดบั ภมู ิภาค ให้ผู้ ที่มีสว่ นเกี่ยวข้องทง้ั ภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และเกษตรกร 5. งบประมาณ ปี 2562 รวมทั้งสิน้ 7,000,000 บาท (ประชาสัมพันธ์ 40,780 บาท) 5.1 การอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การจัดทา GPP แบบปริมาณลูกโซ่ (Chain Volume Measures: CVM) งบประมาณ จานวน 271,800 บาท 5.2 การจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด งบประมาณ จานวน 4,571,520 บาท ดาเนนิ การโดย สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 1-12 5.3 การประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภาค งบประมาณ จานวน 1,880,000 บาท 5.4 การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาค งบประมาณ จานวน 235,900 บาท โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๒๐ 5.5 การจัดนิทรรศการเผยแพร่ข้อมูลภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาค งบประมาณ จานวน 40,780 บาท 6. แผนการปฏิบตั ิงาน 1. การอบรมเชิงปฏิบัติการ เร่ือง การจัดทา GPP แบบปริมาณลูกโซ่ (Chain Volume Measures: CVM) ดาเนนิ การจัดช่วงเดือน พฤศจกิ ายน 2561 2. การจดั ทาภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรระดบั จังหวดั - รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด รายปี ช่วงเดือนธันวาคม 2561 – กันยายน 2562 - การจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด รายไตรมาส ช่วงเดือนมกราคม – มีนาคม 2562, เมษายน – มิถนุ ายน 2562 และเดอื นกรกฎาคม – กันยายน 2562 - สารวจและติดตามสถานการณ์ในพ้ืนที่ รวมท้ังรวบรวมข้อมูลและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องเพ่ือใช้เป็น ข้อมูลประกอบการวเิ คราะห์และเขียนรายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด ดาเนินการช่วงเดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562 - จัดประชุมเกี่ยวกับการจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด ดาเนินการช่วงเดือนตุลาคม 2561 – มนี าคม 2562 - ลงพื้นท่ีเพื่อร่วมติดตามและให้คาปรึกษาเก่ียวกับการจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด ดาเนินการชว่ งเดือนพฤษภาคม 2562 – มิถนุ ายน 2562 - ค่าจ้างพนกั งานจ้างเหมาบริการ ชว่ งเดอื นตลุ าคม 2561 – กันยายน 2562 3. การประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภาค ดาเนินการช่วงเดือน เมษายน 2562 – มิถนุ ายน 2562 4. การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาค ดาเนินการช่วงเดือน กรกฎาคม 2562 – สงิ หาคม 2562 5. การจัดนิทรรศการเผยแพร่ข้อมูลภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาค ดาเนินการช่วงเดือน กรกฎาคม 2562 – สิงหาคม 2562 7. หน่วยงานดาเนินการ กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร และสานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 1 – 12 8. ระยะเวลาดาเนินการ ปงี บประมาณ 2562 – 2564 9. ผลผลิต 9.1 ปีงบประมาณ 2562 รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัด (53 จังหวัด) เป็นรายไตรมาส และรายปี 9.2 ปีงบประมาณ 2563 รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัดและระดับภาค (76 จังหวัด) เป็นรายไตรมาสและรายปี โครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร
๒๑ 9.3 ปีงบประมาณ 2564 รายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับจังหวัดและระดับภาค (76 จังหวัด) เปน็ รายไตรมาสและรายปี 10. ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 10.1 การจัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจการเกษตรในระดับจังหวัด เป็นรายไตรมาสและรายปีท่ีมีคุณภาพ สามารถสะท้อนให้เห็นถึงทิศทางการเติบโตของภาคเกษตรในระดับจังหวัดอย่างถูกต้อง มีความสอดคล้องกับ ภาวะเศรษฐกิจการเกษตรในระดับประเทศ และสามารถใช้เป็นแนวทางประกอบการจัดทาแผนพัฒนาการเกษตร ในภูมิภาคไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 10.2 เจ้าหน้าที่สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรมีความรู้ ความเข้าใจในโครงสร้างภาคเกษตร และ สถานการณ์การเกษตรในระดับภูมิภาค รวมทั้งสามารถให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดทา แผนยุทธ์ศาสตร์ นโยบาย และแผนงาน/โครงการ ในระดับภูมิภาคได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ เพ่ิมบทบาทการเป็นองคก์ รช้นี าการพัฒนาการเกษตรในระดับจงั หวัด และเสริมสรา้ งภาพลักษณ์ท่ีดีให้กับองค์กร ซึ่งผลการตรวจสอบการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ภายใต้ แผนงานบูรณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร ทด่ี าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จะกลา่ ว ไว้ในบทท่ี 3 .................................................................................................................... โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลิตภาคการเกษตร
บทที่ 3 สรปุ ผลการตรวจสอบ และขอ้ เสนอแนะ กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้เข้าสอบทาน ติดตาม และตรวจสอบ เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรมข้อมูล สารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ เพื่อให้ทราบว่าการดาเนินงานดังกล่าว สามารถพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ การเกษตรให้ครอบคลุมระดับจังหวัด ภูมิภาค ประเทศ และสามารถนาข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการบริหาร จัดการความเส่ียงของสินค้าเกษตรท่ีสาคัญตลอดห่วงโซ่อุปทาน โดยใช้เอกสารพระราชบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจาปี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (ขาวคาดแดง) เอกสารโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิต สินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 รายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบ GFMIS ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562 รายงานแผน – ผลการดาเนินงานรายกิจกรรม/โครงการย่อย แผนปฏิบัติงาน กฎหมาย ระเบยี บ หลักเกณฑ์ เงือ่ นไข หนังสอื ส่งั การที่เกี่ยวข้องกบั การดาเนนิ งานโครงการฯ เป็นเกณฑ์ในการตรวจสอบ เพอ่ื ดาเนนิ การประเมินผลสัมฤทธโิ์ ครงการ ฯ เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ เปา้ หมาย ตัวช้ีวัด ผลผลติ ผลลพั ธ์ ที่ ส่วนราชการกาหนด โดยเปรียบเทียบกับผลการดาเนินงาน และวิเคราะห์ความเส่ียงหรือจุดอ่อนที่ส่งผลให้การ ดาเนนิ งานไม่เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ เปา้ หมาย ตัวชีว้ ัดทีก่ าหนด ซงึ่ ไดก้ ล่าวรายละเอยี ดไว้แล้วในบทท่ี ๒ ผลการตรวจสอบ กลุ่มตรวจสอบภายใน สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้ดาเนินการเข้าสอบทานและตรวจสอบ เอกสารหลักฐานผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรมข้อมูล สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ ภายใต้กรอบวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากแผนงานบูรณาการพัฒนา ศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร หมวดงบรายจ่ายอ่ืน จานวน 15,123,000 บาท (ที่มา : ระบบบริหารการเงินการ คลังภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ GFMIS) และเข้าสังเกตการณ์ผลการดาเนินงานของสานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ ๓ จังหวัดอดุ รธานี จากการตรวจสอบ สอบทาน เอกสารหลักฐานผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพ กระบวนการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรมข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ ณ วันที่ 30 กันยายน ๒๕62 โดยใช้เอกสารงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ (งบประมาณ/วตั ถุประสงค์/กิจกรรม/ตวั ช้ีวัด เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ) พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลัง ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐพ.ศ. ๒๕๖๐ ระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ระเบียบว่าด้วยการบริหาร งบประมาณ พ.ศ. ๒๕62 และหลักเกณฑ์ว่าด้วยการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย การโอนเงินจัดสรร หรือการโอน เปล่ียนแปลงเงินจัดสรร พ.ศ. 2562 แผน-ผลการปฏิบัติงานของกิจกรรม/โครงการย่อยภายใต้โครงการพัฒนา ศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร เป็นเกณฑ์ในการสอบทาน ตรวจสอบและวิเคราะห์ผลสาเร็จของการ ดาเนินการ พบว่า สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร มีการกาหนดกิจกรรม/โครงการย่อย ภายใต้โครงการ พัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร เป็น 4 กิจกรรม/โครงการ พร้อมกาหนดกรอบตัวชี้วัดระดับ Output และ Outcome และมอบหมายให้หน่วยงานในสังกัดสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร รับผิดชอบ ดาเนินการ ดงั ตารางที่ 3.1 โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๒๓ ตารางท่ี 3.๑ รายละเอียดกิจกรรม/โครงการย่อยภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร และกรอบตัวช้ีวัดผลการดาเนนิ งานระดบั Output และ Outcome ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 กจิ กรรม ตวั ช้ีวดั ระดบั Output ตวั ช้ีวัดระดับ Outcome 1. การติดตาม 1. ข้อมูลสถานการณด์ า้ นการผลติ และการตลาด ผู้บังคับบัญชาระดับสูงสามารถ สถานการณส์ นิ ค้า ตลอดจนปัญหาทเี่ กิดขึน้ ของสินค้าเกษตรที่ นารายงานสถานการณ์การผลิตและ เกษตร ปจั จัยการผลิต สาคัญ ก าร ต ล า ด ข อ งสิ น ค้ า เก ษ ต ร แ ล ะ และภาวะเศรษฐกจิ 2. ข้อมลู สถานการณ์ของภาวะเศรษฐกิจสังคม ปั จ จัย ก ารผ ลิ ต รวม ทั้ งภ าว ะ สงั คมครัวเรือนและ ครวั เรือนและสถาบันเกษตรกร เศ รษ ฐ กิ จ สั งคมครัวเรือนและ สถาบนั เกษตรกร 3. ข้อมลู สถานการณ์ด้านปัจจัยการผลิต สถาบันเกษตรกร และผลกระทบจาก ตลอดจนปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมสี านักวจิ ยั เศรษฐกิจ 4. ข้อมลู สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงสภาพ ตลอดจนปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนและ การเกษตร รับผิดชอบ ภมู อิ ากาศและผลกระทบท่ีเกิดขนึ้ แนวทางการแก้ไขปัญหา มาใช้ใน 5. ข้อมลู ในการจัดทาข้อเสนอแนะแนวทางการ การตั ดสิ น ใจก าห นดน โยบ าย แก้ไขปัญหา มาตรการในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนภาคเกษตร และชว่ ยเหลอื เกษตรกรใหม้ ีความมั่งคง ม่ังค่ังยั่งยืน ในอาชีพเกษตรต่อไป 2.การเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ 1. ข้อมลู ต้นทนุ การผลติ น้านมดบิ /ปลานิล ระดับ ผู้บริหารมีข้อมูลต้นทุนการผลิต การจัดทาสารสนเทศ จงั หวัด (สศท. จดั ทาต้นทุนการผลติ ระดบั จงั หวัด น้านมดิบ/ปลานิล ระดับจังหวัด ต้นทนุ การผลติ เพื่อ ไดอ้ ยา่ งนอ้ ย ร้อยละ 50 ของจงั หวดั ทม่ี ีการเลย้ี ง) สาหรับใช้ประกอบการตัดสินใจใน พัฒนาศักยภาพการ 2. เจ้าหน้าท่ี สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 1 การกาหนดมาตรการและนโยบายได้ ผลิตภาคเกษตร - 12 ได้รบั การอบรมเกี่ยวกับการจัดทาข้อมูล อย่างมปี ระสิทธิภาพมากขนึ้ โดยมศี ูนย์สารสนเทศการเกษตร ต้นทุนการผลติ น้านมดิบ/ปลานลิ (เจ้าหน้าท่ี และสานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 1-12 รับผิดชอบ สศท. 1-12 ผ่านการอบรมอย่างน้อยร้อยละ 60) 3. การศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการศึกษาแนวทางการจัดการความ รายงาน ผลก ารศึ กษ าแล ะ แนวทางการจัดการ เสยี่ งตลอดโซ่อุปทานภายใต้เกษตรยุคใหม่ บทความทางวิชาการ แนวทางการ ความเสยี่ งตลอดหว่ งโซ่ จานวน 1 เร่ือง จัดการความเส่ียงของสินค้าสาคัญที่ อุปทานภายใต้เกษตร จะต้องเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหาร ยุคใหม่ จดั การ ตามกรอบแผนงานบูรณาการ พัฒนาศักยภาพการผลิต 7 สินค้า โดยมสี านกั งานเศรษฐกจิ ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง ยางพารา การเกษตรท่ี 1-12 รบั ผดิ ชอบ ปาล์มน้ามัน ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ สบั ปะรด มะพร้าว โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๒๔ กิจกรรม ตัวชี้วดั ระดับ Output ตัวชี้วัดระดบั Outcome 4. การจดั ทาภาวะ รายงานภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรระดบั จังหวัด 1. เพื่อจัดทาภาวะเศรษฐกิจ เศรษฐกิจการเกษตร และระดับภาคเป็นรายไตรมาสและรายปี การเกษตรในระดับจังหวดั และระดบั ระดับภมู ิภาค ประกอบด้วย ภาค เปน็ รายไตรมาสและรายปีให้ - สาขาพืช (ขา้ ว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสาปะหลงั ครอบคลุมทั้งประเทศ โดยมกี องนโยบายและ ปาล์มน้ามนั ยางพารา สับปะรด มะพร้าว) 2. เพ่ือสนับสนุนบทบาทการ เป็นองค์การชน้ี าการพัฒนาการ แผนพัฒนาการเกษตร และ - สาขาปศุสัตว์ เกษตรในระดับจังหวัดและระดับ สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ - สาขาประมง 1-12 รับผิดชอบ - สาขาบริการทางการเกษตร ภาคของสานักงานเศรษฐกิจ - สาขาป่าไม้ การเกษตร จานวน 76 จังหวัด โดยมีระยะเวลา ดาเนินการตั้งแต่ ปี 2562-2564 (ปี 2562 จานวน 53 จังหวัด ปี 2563 และ ปี 2564 จานวน 76 จังหวัด) ผลผลติ - ปงี บประมาณ 2562 รายงานภาวะเศรษฐกจิ การเกษตรระดับจังหวดั (53 จังหวัด) เป็นราย ไตรมาสและรายปี - ปงี บประมาณ 2563 รายงานภาวะเศรษฐกิจ การเกษตรระดับจงั หวดั และระดับภาค (76 จงั หวดั ) เป็นรายไตรมาสและรายปี - ปีงบประมาณ 2564 รายงานภาวะเศรษฐกิจ การเกษตรระดับจังหวัดและระดบั ภาค (76 จงั หวดั ) เป็นรายไตรมาสและรายปี ทมี่ า : ขอ้ เสนอโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินคา้ เกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร มีผลเบิกจ่ายงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรมข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ ทั้งส้ิน 14,455,107.68 บาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 95.58 ซ่ึงมีรายละเอียดของผลเบิกจ่ายงบประมาณแยกตามกิจกรรม/ โครงการปรากฏตามภาคผนวก ก และมีผลการดาเนินงานกิจกรรม/โครงการยอ่ ย ดังตารางท่ี 3.2 ตารางที่ 3.2 แผน – ผล การดาเนนิ การโครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร กิจกรรม/โครงการ เป้าหมาย หมายเหตุ แผน ผล 1. การติดตามสถานการณส์ ินค้า จัดทารายงาน มีการเผยแพร่ข้อมลู เกษตร ปจั จัยการผลิต และภาวะ สถานการณ์สินค้าเกษตร รายงานสถานการณ์สนิ ค้า เศรษฐกจิ สังคมครวั เรือนและ ปัจจยั การผลิต และภาวะ เกษตร ปัจจัยการผลติ สถาบันเกษตรกร เศรษฐกจิ สงั คมครวั เรือน และภาวะเศรษฐกจิ สงั คม โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๒๕ กิจกรรม/โครงการ เป้าหมาย หมายเหตุ แผน ผล และสถาบันเกษตรกร ครัวเรอื นและสถาบัน เกษตรกรผ่าน web site, วารสารเศรษฐกิจการเกษตร , ข้อมูลสถานการณส์ ินค้า เกษตรท่ีสาคัญและแนวโน้ม ปี 2562 เป็นต้น 2.การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการจัดทา 1. อบรมการจัดทาข้อมลู - มกี ารจัดอบรมเชงิ ผลงาน ณ สารสนเทศตน้ ทุนการผลิต เพ่ือ ตน้ ทุนการผลิตน้านมดบิ / ปฏิบัตกิ ารเพ่ือเพิ่มทักษะ วนั สน้ิ พฒั นาศักยภาพการผลิตภาค ปลานิล ให้เจ้าหน้าท่ี การจัดทาและวิเคราะห์ ปงี บประมาณ เกษตร สานกั งานเศรษฐกจิ ขอ้ มูลตน้ ทนุ การผลิตสนิ คา้ พ.ศ. 2562 การเกษตรท่ี 1 - 12 เกษตร ให้กับเจา้ หนา้ ท่ี ยงั ไมเ่ ปน็ ไป 2. จัดทาข้อมลู ต้นทุนการ ระหว่างวันที่ 4-6 ตามแผนการ ผลิตน้านมดิบ/ปลานิล กมุ ภาพันธ์ 2562 ปฏิบตั ทิ ่ี ระดบั จงั หวัด - มกี ารดาเนนิ การ กาหนด สารวจขอ้ มลู น้านมดิบ ปลา นลิ รวมถึงสนิ ค้าเกษตรอืน่ ทส่ี าคญั และบนั ทึกเข้า ระบบประมวลผลปริมาณ การผลติ ตน้ ทนุ และราคา สนิ คา้ เกษตรเพ่ือใช้ ประกอบการจดั ทาต้นทนุ การผลิต แต่ปจั จบุ ัน ( ณ วนั ท่ี 2 มี.ค. 2562) ระบบ ประมวลผลปริมาณการผลิต ตน้ ทนุ และราคาสินค้าเกษตร ยงั ไม่สามารถประมวลผล ตน้ ทนุ การผลติ นานมดิบ/ ปลานลิ ระดบั จังหวดั ได้ 3. การศึกษา วิเคราะห์แนวทาง 1) อบรมพฒั นาความรู้ - มกี ารพัฒนาความรู้ การจัดการความเสยี่ งตลอดห่วง การวิเคราะห์ความเส่ียง การวิเคราะห์ความเสีย่ ง โซ่อปุ ทานภายใตเ้ กษตรยุคใหม่ และแนวทางการจัดการ และแนวทางการจัดการ ความเส่ยี งภาคเกษตร ความเส่ยี งภาคเกษตร ตลอดหว่ งโซ่อปุ ทาน ตลอดหว่ งโซ่อุปทาน ใหก้ บั ใหก้ บั เจา้ หนา้ ท่ี เจ้าหนา้ ทเี่ ม่ือวันท่ี 28 – 30 มกราคม 2562 โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร ภายใตแ้ ผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๒๖ กิจกรรม/โครงการ เป้าหมาย หมายเหตุ แผน ผล 2) จัดทารายงานผล - มกี ารรายงานผล การศึกษาแนวทางการ การศกึ ษาแนวทางการ จัดการความเส่ียงตลอดโซ่ จดั การความเส่ยี งตลอดโซ่ อปุ ทานภายใตเ้ กษตรยุค อปุ ทานภายใต้เกษตรยุค ใหม่ 1 เรือ่ ง ใหม่ ให้คณะกรรมการ พจิ ารณางานวิจัยฯ แล้ว เมอ่ื 27 กนั ยายน 2562 4. การจัดทาภาวะเศรษฐกจิ 1) จัดการอบรมเชิง 1) จดั การอบรมเชงิ การจดั การเกษตรระดับภูมิภาค ปฏบิ ตั ิการเก่ยี วกับการ ปฏบิ ตั ิการเกีย่ วกับการ นทิ รรศการ จดั ทา GPP แบบปรมิ าณ จัดทา GPP แบบปรมิ าณ เผยแพร่ต่างๆ ลกู โซ่ (Chain Volume ลูกโซ่ (Chain Volume ไมม่ ีการ Measures : CVM) ให้ Measures : CVM) ให้ จัดทาสถิติ เจ้าหนา้ ท่ี เจ้าหนา้ ที่ จานวน 2 ครง้ั การเขา้ ชม 2) จดั ทารายงาน 2) จัดทารายงาน หรือสรปุ การ ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตร ภาวะเศรษฐกจิ การเกษตร จดั ระดับจงั หวดั และระดบั ระดับจังหวดั และระดบั นทิ รรศการ ภาค ภาค เปน็ รายไตรมาส และ เสนอผ้อู นุมัติ 3) จัดประชมุ เชิง รายปี จานวน 53 จังหวดั ให้จดั ปฏิบัติการเก่ียวกับการ 3) จัดประชมุ เชิง จดั ทาภาวะเศรษฐกิจ ปฏบิ ตั กิ ารเก่ียวกับการ การเกษตรระดบั ภาค จดั ทาภาวะเศรษฐกิจ 4) สมั มนาเชงิ การเกษตรระดบั ภาค 4 ครั้ง ปฏบิ ัตกิ าร เรอื่ งภาวะ 4) สมั มนาเชงิ เศรษฐกิจการเกษตรระดบั ปฏิบตั ิการ เรือ่ งภาวะ ภมู ิภาค เศรษฐกจิ การเกษตรระดับ 5) จดั นิทรรศการ ภมู ภิ าค 1 ครงั้ โดยมกี าร เผยแพรข่ ้อมูลภาวะ จดั นทิ รรศการเผยแพร่ เศรษฐกิจการเกษตรระดบั ข้อมูลภาวะเศรษฐกิจ ภมู ภิ าค การเกษตรระดับภมู ภิ าค ทมี่ า : แผน-ผลการปฏบิ ตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จากตารางที่ 3.2 จะเห็นว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 หน่วยงานในสังกัดสานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร สามารถดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวช้ีวัดที่กาหนดบางส่วน โดย ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 จนถึงวันท่ี 2 มีนาคม 2563 ยังมีบางกิจกรรม/โครงการย่อย ท่ีไม่สามารถแสดงผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) รวมถึงผลท่ีคาดว่าจะได้รับจากการดาเนินงานได้ แต่มีการเบิกจ่าย งบประมาณรายจ่ายเป็นไปตามแผนการปฏิบัติ ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าผลการดาเนินงานและผลการเบิกจ่าย งบประมาณ ไม่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ท้ังน้ี จากการสอบทานเอกสารหลักฐานการเบิกจ่าย โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนการผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๒๗ งบประมาณโครงการฯ ยังพบข้อคลาดเคล่ือนจากการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายบางรายการที่ไม่สอดคล้องกับกิจกรรม หรือรายการค่าใช้จ่ายของโครงการตามที่ได้รับอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณ ซ่ึงไม่สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ ระเบียบ ว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62 และหลักเกณฑ์ว่าด้วยการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย การโอนเงิน จัดสรร หรือการโอนเปลี่ยนแปลงเงินจัดสรร พ.ศ. 2562 กาหนด ซึ่งเป็นจุดอ่อน/ความเส่ียงที่สาคัญจากการ ปฏิบัติงานท่ีส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานโครงการฯ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ โดย สามารถสรุปเปน็ ประเดน็ ขอ้ ตรวจพบ/ขอ้ สงั เกต และข้อเสนอแนะท่คี วรดาเนินการปรับปรงุ แก้ไข ดังนี้ ข้อตรวจพบที่ ๑ เมื่อดาเนนิ การเสรจ็ สิ้นในแต่ละปีงบประมาณ ไม่มกี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิโครงการ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้รับงบประมาณสาหรับการขับเคล่ือนโครงการพัฒนาศักยภาพ กระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ภายใตแ้ ผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลติ ภาคการเกษตร หมวดงบรายจ่ายอ่ืน จานวน 15,123,000 บาท สาหรับดาเนินงานกิจกรรมข้อมลู สารสนเทศเพอ่ื การบริหารจัดการ ซง่ึ ประกอบดว้ ย 4 รายการ ได้แก่ 1) ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานโครงการติดตามสถานการณ์สินค้าเกษตร ปัจจัยการผลิต และ ภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร จานวน 2,325,000 บาท 2) ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทาสารสนเทศต้นทุนการผลิตภาคเกษตร จานวน 2,798,000 บาท 3) ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานศึกษา วิเคราะห์แนวทางการจัดการความเส่ียงตลอดห่วงโซ่อุปทานภายใต้เกษตรยุคใหม่ จานวน 3,000,000 บาท 4) ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาค จานวน 7,000,000 บาท และมีกรอบตัวชี้วัดเชิงปริมาณตามเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2562 จานวน 2 ตัว คือ 1) มีการจัดทาสารสนเทศต้นทุนการผลิตภาคเกษตร จานวน 2 ชนิด 2) มีการรายงานข้อมูลบริหารจัดการ ศักยภาพการผลติ สินคา้ เกษตรจานวน 3 เรอ่ื ง โดยแต่ละรายการมกี ารกาหนดเกณฑ์การวดั ผลสาเร็จของงานท้ัง ระดับ Output และ Outcome ซ่งึ ไดก้ ลา่ วไว้แลว้ ในบทที่ 2 หลักเกณฑ์ เม่ือโครงการแล้วเสร็จส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ Outcome ของ โครงการเพื่อวิเคราะห์ผลลัพธ์ ผลกระทบของการดาเนินงานโครงการ รวมทั้งวิเคราะห์การเพ่ิมประสิทธิภาพ ให้ สอดคล้องกับเอกสารแผนงาน/โครงการท่ีของบประมาณมาดาเนินการ โดยให้ถอื ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสงั่ การที่เก่ยี วข้อง ดังน้ี - พระราชบญั ญัตวิ ิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 47 “มาตรา 47 ให้หน่วยรับงบประมาณจัดให้มีระบบติดตามประเมินผล การดาเนินงานตาม แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณภายในหน่วยรับงบประมาณตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ี ผู้อานวยการกาหนด และให้ถือว่าการประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารงบประมาณท่ีต้อง ดาเนนิ การอย่างต่อเนื่องและเปดิ เผยต่อสารธารณชนดว้ ย” - ระเบยี บว่าดว้ ยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562 โครงการ หมายความว่า โครงการท่ีกาหนดไว้ในเอกสารประกอบกฎหมายว่าด้วยงบประมาณ รายจ่ายประจาปี หรือทก่ี าหนดขน้ึ ใหม่ในระหว่างปงี บประมาณ “ข้อ 34 เพ่ือประโยชน์ในการติดตามและประเมินผล ให้หน่วยรับงบประมาณรายงานผลการ ปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาท่ีผู้อานวยการสานักงบประมาณ กาหนด โดยให้จดั ทารายงาน ดังนี โครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร ภายใต้แผนงานการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๒๘ (๑) รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายหรอื ตัวชีวัดที่กาหนดไว้หรือตามที่ตกลงกับสานักงบประมาณ ภายใต้แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้ จ่ายงบประมาณ พร้อมทังระบุปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข เม่ือ สินระยะเวลาในแต่ละไตรมาส ภายในสิบห้า วันนบั แต่วนั สินไตรมาส (๒) รายงานประจาปีที่แสดงถึงความสาเร็จในการปฏิบัติงานและการใช้จา่ ยงบประมาณ รายจ่ายท่ีเช่ือมโยงกับเป้าหมายการให้บริการกระทรวง ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติและ แผนปฏิรูปประเทศโดยมีค่าเป้าหมายและตัวชีวัดท่ีชัดเจน จัดส่งสานักงบประมาณภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันสิน ปงี บประมาณ (๓) รายงานการปรับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ การใช้ งบประมาณรายจา่ ย และการโอนเปลี่ยนแปลงเงินจัดสรร - หลักเกณฑ์และวิธีการติดตามและประเมินผลท่ีกาหนดไว้ในหนังสือสานักงบประมาณ ด่วนท่ีสุด ท่ี นร 0729.1/ว51 ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 กาหนดว่า การรายงานผลสัมฤทธหิ์ รอื ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั ให้ หน่วยรับงบประมาณจดั ทาตามแบบทส่ี านักงบประมาณกาหนด ประกอบด้วย 1) ข้อมูลเก่ียวกับแผนงาน ผลผลติ /โครงการ กจิ กรรมหรือการดาเนินการ 2) ความสอดคล้องกับการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ยทุ ธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณ และแผนอนื่ ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง 3) เป้าหมาย ตัวช้ีวัดความสาเร็จ และค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่ ไดร้ ับจากการใชจ้ ่ายงบประมาณ 4) ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชนท์ ่ไี ด้รับจากการใชจ้ ่ายงบประมาณ 5) ปญั หาหรอื อปุ สรรค 6) ขอ้ เสนอแนะหรือแนวทางการแก้ไขปญั หาในการดาเนินการ สิ่งทเ่ี ป็นอยู่ จากผลการดาเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ภายใต้แผนงาน บูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร จะเห็นได้ว่าหน่วยงานที่ดาเนินการสามารถดาเนินการพัฒนา ข้อมูลสารสนเทศการเกษตรให้ครอบคลุมระดับจังหวัด ภูมิภาค และประเทศ มีการนาข้อมูลสารสนเทศมาใช้เพื่อ การบริหารจดั การความเสี่ยงของสินคา้ เกษตรที่สาคัญตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน โดยมีการเผยแพร่ข้อมลู สารสนเทศต่างๆ ให้กับส่วนราชการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการดำเนินงานตาม แผนพัฒนาการเกษตร เช่น สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สานักงานเกษตรจังหวัด เป็นต้น โดยจะเห็นว่ามีการ นาข้อมูลสารสนเทศไปใช้อย่างสมเหตุสมผล แต่อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 ยังไม่พบการประเมิน ผลสัมฤทธ์ิโครงการ หรือเอกสารหลักฐานการประเมินผลการดาเนินการโครงการฯ ท่ีแสดงให้เห็นถึง ผลสัมฤทธ์ิได้อย่างสมเหตุสมผล ว่าการดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์และตัวชี้วัด ตามท่ีระบุไวใ้ นเอกสารเอกสารงบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2562 (ขาวคาดแดง) มีเพียงการติดตาม ผลการดาเนินการตามแผน – ผลการปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรม/โครงการย่อย ซึ่งการติดตามผลการดาเนินงาน ดังกล่าวเป็นเพียงการติดตามผลการดาเนินงานและผลการเบิกจ่ายงบประมาณ แต่ยังไม่มีการติดตามผลการ ดาเนินงานว่าเป็นไปตามตัวชี้วัดท่ีระบุไว้ในเอกสารงบประมาณรายจา่ ยประจาปี พ.ศ. 2562 รวมถึงตัวช้ีวัดระดับ ผลผลิต (Output) และระดับผลลัพธ์ (Outcome) ที่กาหนดไว้ในแต่ละกิจกรรม/โครงการย่อย ซ่ึงการดาเนินการ ดังกล่าวยังไม่เป็นไปตามที่พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ระเบียบว่าด้วยการบริหาร โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๒๙ งบประมาณ พ.ศ. 2562 กาหนด ประกอบกับ ณ วันที่ 2 มีนาคม 2563 ยังมีบางกิจกรรมย่อยท่ีไม่สามารถ แสดงผลการดาเนนิ งานตามแผนการปฏิบตั ิงานทกี่ าหนด จงึ ทาใหไ้ ม่ทราบผลการดาเนินงานในภาพรวม สาเหตุ 1) มีการจัดทาข้อเสนอโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรในภาพรวม แต่ ไม่ได้เสนอเลขาธิการสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร หรือผู้มีอานาจพิจารณาอนุมัติก่อนมอบหมายให้หน่วยงานใน สังกดั ดาเนินการ มเี พียงการเสนออนุมัติดาเนินงานในแต่ละข้ันตอนย่อย เชน่ การเสนอขออนมุ ัติจดั อบรมพัฒนา เจ้าหน้าที่ การขออนุมัติจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพ่ือเผยแพร่ผลงานต่างๆ เป็นต้น ประกอบกับเจ้าหน้าท่ียังมี ความเข้าใจเก่ียวกบั การจัดทาข้อเสนอโครงการเท่าทคี่ วร 2) การกาหนดเกณฑ์การวัดผลสาเร็จจากการดาเนินงานโครงการฯ ยังไมส่ ามารถใช้เปน็ แนวทางในการจัดเกบ็ ข้อมลู ผลการดาเนินงานเพ่ือใชป้ ระกอบการประเมินผลสัมฤทธ์ิ 3) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการในภาพรวม (ศูนย์สารสนเทศการเกษตร) ยังมีความเข้าใจ เกี่ยวกับการกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวช้ีวัด และการจัดทาข้อเสนอโครงการ/แผนการ ปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณยังระบุรายละเอียดไม่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวช้วี ดั ประกอบกบั การกาหนดตัวชีว้ ัดผลสาเร็จโครงการ ยังไม่ครอบคลมุ ตัวชี้วัดเชงิ คุณภาพ 4) การกากบั และตดิ ตามให้หนว่ ยงาน/ผรู้ ับผิดชอบโครงการฯ ในแต่ละระดบั ยงั มไี มเ่ พยี งพอ ผลกระทบ 1) ผู้บริหารทุกระดับมีข้อมูลผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิต สินค้าเกษตรไม่เพียงพอต่อการกากับและติดตามผลการดาเนินงานโครงการให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย ตามทกี่ าหนด ๒) การดาเนินงานโครงการฯ อาจไม่บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายของแผนงาน/โครงการ และไม่ ก่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิของการใช้จ่ายงบประมาณตามท่ีระบุไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อเสนอแนะ เหน็ ควรพิจารณา ดังน้ี ๑) มอบหมายให้สานักงานเลขานุการกรม เป็นเจ้าภาพในการจัดให้มีการซักซ้อมความเข้าใจ หรือจัดให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้เก่ียวกับการจัดทาข้อเสนอโครงการ เพื่อให้การกาหนดวัตถุประสงค์ ตัวช้ีวัด ผลผลิต ผลลัพธ์โครงการมีความชัดเจน และสามารถติดตาม ประเมินผลสัมฤทธ์ิได้อย่างเป็นรูปธรรม เม่อื โครงการแลว้ เสรจ็ 2) มอบให้ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ในฐานะหน่วยงานผู้รบั ผิดชอบโครงการพัฒนาศักยภาพ กระบวนการผลิตสินค้าเกษตรในภาพรวม ทบทวนการกาหนดกรอบตัวช้ีวัดผลการดาเนินงานในระดับผลผลิต และผลลัพธ์ของโครงการ ให้มีความชัดเจนครอบคลุมท้ังเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และต้องกาหนดเกณฑ์การ วดั ผลที่เปน็ รปู ธรรม โดยสอ่ื สารใหก้ ับผูเ้ กีย่ วข้องรับทราบและถือปฏบิ ัติในทิศทางเดียวกัน 3) มอบให้ศนู ย์สารสนเทศการเกษตร ในฐานะหน่วยงานผู้รบั ผิดชอบโครงการพัฒนาศักยภาพ กระบวนการผลติ สินคา้ เกษตรในภาพรวม กาหนดแนวทาง/วิธีการติดตามประเมนิ ผลสัมฤทธขิ์ องกิจกรรม/โครงการ และกากับดูแลให้หน่วยงานท่ีรับผิดชอบดาเนินการจัดทารายงานการประเมินผลสัมฤทธ์ิโครงการ ภายหลังการ ดาเนินงานเสร็จสิ้น และรายงานผู้บริหารทราบตามลาดับช้ันต่อไป โดยให้ถือปฏิบัติตามหนังสือสานักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร 0729.1/ว51 ลงวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2562 เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการติดตามและ ประเมินผลตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณ หนังสือสานัก โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๓๐ งบประมาณ ท่ี นร 0729.1/ว6 ลงวันท่ี 11 ตุลาคม 2562 เร่ือง ระบบการติดตามประเมินผล โดยระบบการ ติดตามแบ่งออกเป็น 3 ระยะ (1) การติดตามและประเมินผลก่อนการจัดสรรงบประมาณ (2) การติดตามและ ประเมินผลระหว่างการใช้จ่ายงบประมาณ (3) การติดตามและประเมินผลภายหลังจากการใช้จ่ายงบประมาณทังนี การประเมินผลสัมฤทธ์ิโครงการต้องครอบคลุมทุกมิติ ทังในมิติภารกิจของหน่วยรับงบประมาณ มิติพืนที่ และมิติ แผนงานบูรณาการ โดยสะท้อนให้เห็นถึงผลสัมฤทธ์ิหรือผลประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณและการ นาผลผลิตไปใชป้ ระโยชน์กบั กลมุ่ เปา้ หมายท่ีกาหนดสามารถวัดผลได้อย่างเปน็ รูปธรรม 4) ผู้บริหารทุกระดบั ควรกากับ ดูแล เร่งรดั ติดตาม ให้หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ รวบรวมข้อมูล ผลการดำเนินการตามกจิ กรรมภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินคา้ เกษตร จากหน่วยงานที่ร่วม ดาเนินงานเพื่อประมวลผลว่ามีการดาเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่กาหนดอย่างไร โดยให้เสนอ รายงานผลการดาเนินงานโครงการฯ พร้อมปัญหา/อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขให้เลขาธิการสานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร หรือรองเลขาธิการฯ ท่ีรับผิดชอบกากับดูแลแผนงานบูรณาการฯ ทราบและพิจารณานาข้อมูลผลการ ดาเนินงานดงั กลา่ วไปใชป้ ระกอบการกาหนดนโยบายในการขับเคลอื่ นโครงการฯ ต่อไป ๕) แจ้งเวียนให้หัวหน้างานทุกระดับควรกากับดูแลผู้ปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เพื่อลดข้อ คลาดเคลอ่ื นจากการปฏบิ ตั ิงาน ข้อตรวจพบที่ ๒ การบริหารงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร บางส่วนยัง คลาดเคลือ่ นจากกฎหมาย ระเบยี บ และหนงั สือสั่งการที่เกย่ี วขอ้ ง หลกั เกณฑ์ ๑) พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 36 กาหนดว่า “ งบประมาณ รายจ่ายของหน่วยรับงบประมาณที่กาหนดไว้ในแผนงานหรือรายการใดตามกฎหมายว่าด้วยงบประมาณ รายจ่าย หรอื พระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 35 (2) จะโอนหรือนาไปใช้ในแผนงานหรือรายการอ่ืนมิได้ เว้นแต่ จะได้รับอนุมัติจากผู้อานวยการแต่ผู้อานวยการจะอนุมัติมิได้ในกรณีที่เป็นผลให้เพ่ิมรายจ่ายประเภทเงิน ราชการลบั หรอื เปน็ แผนงานหรือโครงการใหม่ เว้นแต่จะได้รบั อนุมัติจากคณะรัฐมนตร.ี ..” 2) ระเบียบว่าด้วยการโอนงบประมาณรายจ่ายบูรณาการและงบประมาณรายจ่ายบุคลากร ระหวา่ งหน่วยรบั งบประมาณ พ.ศ. 2562 ข้อ 5 กาหนดว่า “ งบประมาณรายจ่ายบูรณาการหรืองบประมาณรายจ่ายบุคลากรที่ต้ังไว้ สาหรับหน่วยรับงบประมาณใด จะโอนไปต้ังเป็นงบประมาณรายจ่ายของหน่วยรับงบประมาณอื่นภายใต้ แผนงานบูรณาการเดียวกันหรือภายใต้แผนงานบุคลากรภาครัฐได้เฉพาะในกรณีท่ีหน่ วยรับงบประมาณใช้จ่าย หรือก่อหนี้ผูกพันไม่เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณท่ีได้รับความเห็นชอบจาก สานักงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายตามวรรคหน่ึง ให้รวมถึงงบประมาณที่เหลือจากการใช้จ่ายหรือ ดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ของรายการที่ได้รับจัดสรรแลว้ และยังไม่ได้นาไปใชจ้ ่ายหรือก่อหน้ีผูกพันรายการ ใหม่ด้วย” ข้อ ๘ (๒) กาหนดว่า “กรณีเป็นงบประมาณเหลือจ่าย ให้หน่วยรับงบประมาณช้ีแจงความ ประสงค์ท่ีจะนางบประมาณไปใช้จา่ ยโดยให้ช้แี จงเหตุผล ความจาเป็น และรายละเอียดค่าใช้จ่าย ต่อหนว่ ยงาน เจ้าภาพและให้หน่วยรับงบประมาณ ส่งสาเนารายงานดังกล่าวให้สานักงบประมาณทราบ เพื่อพิจารณาเสนอ ความเห็นประกอบการพิจารณาของหน่วยงานเจ้าภาพด้วย ทั้งน้ี หากหน่วยงานเจ้าภาพพิจารณาเห็นควรให้ หน่วยรับงบประมาณใช้จ่ายงบประมาณเหลือจา่ ยดงั กลา่ ว ใหห้ น่วยรับงบประมาณเสนอสานักงบประมาณเพื่อ โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๓๑ พิจารณาอนุมัติโอนหรือเปล่ียนแปลงงบประมาณต่อไป แต่หากไม่เห็นควรให้หน่วยรับงบประมาณนา งบประมาณเหลือจา่ ยไปใช้จ่าย ให้สานกั งบประมาณปรับลดเงินจัดสรรงบประมาณเหลือจา่ ยดงั กล่าว” ข้อ ๙ กาหนดว่า “ ในกรณีท่ีผู้มีอานาจกากับแผนงานบูรณาการพิจารณารายงานของ หน่วยงานเจ้าภาพตามข้อ ๘ แล้ว เห็นควรให้หนว่ ยรบั งบประมาณใชจ้ ่ายงบประมาณดงั กลา่ วต่อไปได้ ให้หน่วย รับงบประมาณเร่งดาเนินการให้เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ แต่หากผู้มี อานาจกากับแผนงานบูรณาการเห็นควรให้หน่วยรับงบประมาณระงับการใช้จ่ายงบประมาณรายการใดให้ สานักงบประมาณปรัดลดเงินจัดสรรของหน่วยรับงบประมาณต่อไป ทั้งน้ี หากมีงบประมาณรายจา่ ยบูรณาการ ทีส่ านกั งบประมาณยงั มิได้อนมุ ตั เิ งนิ จัดสรรให้ระงับการอนุมัตเิ งินจัดสรรงบประมาณรายการนนั้ 3) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้มีการจัดทาข้อเสนอ โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร โดยมีการกาหนดกิจกรรม/โครงการย่อย กรอบวงเงิน งบประมาณ และรายการค่าใชจ้ า่ ยต่างๆ ดงั น้ี กจิ กรรม รายการคา่ ใช้จ่าย 1. การติดตามสถานการณ์สินค้าเกษตร ปัจจัยการผลิต ค่าเบี้ ยเล้ียง/ค่าท่ี พั ก/ค่าพ าห น ะ/ค่าโด ยสาร และภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร เครื่องบิน/ค่าน้ามันเชื้อเพลิง/ค่าจัดทารายงาน (2,325,000) สถานการณส์ นิ คา้ เกษตรทีส่ าคญั รายเดือน 2. การเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทาสารสนเทศต้นทุนการ ค่าตอบแทนวิทยากร/ค่าอาหาร/ค่าอาหารว่างและ ผลิ ต เพ่ื อพั ฒ นาศั กยภาพการผลิ ตภาคเกษตร เคร่ืองด่ืม/ค่าเบ้ียเลี้ยง/ค่าท่ีพัก/ค่าพาหนะเดินทาง/ (2,798,000) ค่ า น้ า มั น เชื้ อ เพ ลิ ง / ค่ า เอ ก ส า ร แ ล ะ วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ / คา่ ลว่ งเวลา 3. การศึกษา วิเคราะห์แนวทางการจัดการความเสี่ยง ค่าจัดประชุม focus group 12 สศท./ค่าฝึกอบรม ตลอดห่วงโซอ่ ุปทานภายใต้เกษตรยุคใหม่ พัฒนาความรู้การบริหารจัดการความเสี่ยงห่วงโซ่ (3,000,000) อุปทานฯ/ค่าใช้จ่ายในการสารวจ (ค่าเบ้ียเล้ียง,ค่าท่ี พกั ,คา่ นา้ มนั )/คา่ วัสดุสานักงาน/คา่ จัดทาเอกสาร 4. การจดั ทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาค ค่าตอบแทนวิทยากร/ค่าอาหาร/ค่าอาหารว่างและ (7,000,000) เครื่องด่ืม/ค่าเบ้ียเลี้ยง/ค่าที่พัก/ค่าพาหนะเดินทาง/ ค่าน้ามันเช้ือเพลิงและหล่อล่ืน/ค่าเอกสาร/ค่าวัสดุ อุปกรณ/์ คา่ จ้างบคุ ลากร ทม่ี า : ข้อเสนอโครงการ/แนวทางการดาเนนิ งานของแต่ละโครงการ/กิจกรรมยอ่ ย สง่ิ ที่เปน็ อยู่ จากการสุ่มสอบทานการใช้จ่ายงบประมาณจากระบบ GFMIS เปรียบเทียบกับการจัดสรร งบประมาณ และเอกสารหลักฐานการเบิกเงินจากคลัง พบว่า หน่วยงานท่ีรับผิดชอบดาเนินงานในแต่ละ กิจกรรม/โครงการย่อย มีการนาค่าใช้จ่ายบางส่วนท่ีนอกเหนือจากรายการค่าใช้จ่ายท่ีระบุไว้ในข้อเสนอ โครงการ/แนวทางการดาเนินงาน/แผนการปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณมาเบิกจ่ายจากเงิน งบประมาณโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพ การผลิตภาคการเกษตร ซึ่งบางส่วนอาจมีความเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการโครงการฯ แต่ผู้รับผิดชอบมิได้ ระบุไวใ้ นกรอบรายการค่าใช้จ่ายที่ดาเนินการจัดสรร ประกอบกับการจัดทาเอกสารการเบิกจ่ายเงินจากคลังยัง ระบุเหตุผลความจาเป็นไม่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ เป้าหมายการดาเนินงานโครงการฯ จานวน 494,291.86 โครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๓๒ บาท ยกตัวอย่างเช่น ค่าใช้จ่ายรายการอื่นๆ ท่ีไม่ได้ระบุไว้กรอบแนวทางการดาเนินงานโครงการฯ การ เบิกจ่ายรายการค่าใช้จ่ายในการจ้างซ่อมเปล่ียนอะไหล่รถยนต์, ค่าจ้างเปล่ียนถ่ายน้ามันเคร่ืองรถยนต์, ค่าจ้าง ซ่อมแอร์รถยนต์, ค่าซ้ือวัสดุกระดาษ A 4, ค่าซ้ือหมึกพิมพ์และกระดาษถ่ายเอกสาร เป็นต้น รายละเอียด ปรากฏตามภาคผนวก ข สาหรับค่าใช้จ่ายดังกล่าว อาจมีบางส่วนเก่ียวข้องสัมพันธ์กันระหว่างการบริหาร จัดการโครงการฯ และการบริหารจัดการงานปกติของหน่วยงาน หากต้องการนาค่าใช้จ่ายต่างๆ มาปันส่วน ตน้ ทุนในการดาเนินงานกันสามารถดาเนินการได้ แต่ต้องจัดทาเอกสารประกอบการเบิกจ่ายโดยให้ระบุเหตุผล หรือขออนุมัติหลักการต่างๆ ให้ครอบคลุมสาระสาคัญของการดาเนินงานโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการ ผลิตสินค้าเกษตร กรณีรายการค่าใช้จ่ายที่ไม่ได้รับอนุมัติตามกรอบแนวทางการขับเคล่ือนโครงการฯ และ หรือไม่เก่ียวข้องกับการขับเคล่ือนโครงการฯ จะไม่สามารถนามาเบิกจ่ายจากโครงการพัฒนาศักยภาพ กระบวนการผลติ สนิ ค้าเกษตรได้ สาเหตุ 1) มีการจัดทาข้อเสนอโครงการฯ แต่ไม่ได้เสนอเลขาธิการสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร พิจารณาอนุมัติกรอบทิศทาง/วิธีการดาเนินงานโครงการต่างๆ รวมถึงกรอบรายการค่าใช้จ่ายท่ีจะสามารถ เบิกจ่ายได้จากงบประมาณแผนงานบูรณาการฯ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานให้บรรลุ วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย ผลผลิต ผลลพั ธ์ของโครงการฯ 2) เจ้าหน้าที่ยังมีองค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการงบประมาณแผนงานบูรณาการฯ ไม่ เพยี งพอ เนื่องจากปัจจบุ นั กฎหมาย ระเบียบ หลกั เกณฑ์ต่างๆ เปลีย่ นแปลงจากเดิมค่อนข้างมาก 3) การกากับดูแลของผู้บริหารยังมีไม่เพียงพอ และเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานยังมีความเข้าใจใน กฎหมาย ระเบียบ หนังสือสั่งการตา่ งๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การปฏิบตั ิงานยงั ไม่เพียงพอ ผลกระทบ การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 36 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562 ระเบียบว่าด้วยการโอน งบประมาณรายจา่ ยบรู ณาการและงบประมาณรายจ่ายบคุ ลากรระหวา่ งหน่วยรบั งบประมาณ พ.ศ.2562 และ หลกั การจาแนกประเภทงบประมาณรายจ่ายประจาปี และอาจส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ ได้ ข้อเสนอแนะ เห็นควรพจิ ารณา ดังน้ี 1) มอบหมายให้สานักงานเลขานุการกรม ในฐานะผู้รับผิดชอบการบริหารงบประมาณ ภาพรวมระดบั กรม ดาเนินการทบทวนแนวทางการจัดทาคาของบประมาณโครงการ เพ่ือให้ครอบคลุมรายการ ค่าใช้จ่ายที่จาเป็นต้องใช้ในการบริหารจัดการโครงการให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ท่ี กาหนด โดยให้มีการกาหนดแนวทางการจัดทาข้อเสนอโครงการในภาพรวมระดับส่วนราชการ และระดับ หน่วยงานที่ดาเนินการ เสนอเลขาธิการสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรหรือผู้ได้รับมอบอานาจพิจารณาอนุมัติ กรอบทิศทาง/วิธีการดาเนินงานโครงการ และแจ้งเวียนให้ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับรับทราบและถือปฏิบัติอย่าง เคร่งครดั 2) มอบหมายให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดาเนินการกิจกรรม/โครงการย่อย สอบทานเอกสาร การเบิกจ่าย จานวน 494,291.86 บาท (รายละเอียดตามที่ปรากฏในภาคผนวก ข) หากเป็นไปตามข้อตรวจพบ ให้พิจารณาดาเนินการปรับปรุงแก้ไขให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.๒๕61 และระเบียบว่า ด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62 และระเบียบว่าด้วยการโอนงบประมาณรายจ่ายบูรณาการและ งบประมาณรายจ่ายบคุ ลากรระหวา่ งหนว่ ยรบั งบประมาณ พ.ศ.2562 ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว ทั้งน้ี ในการดาเนินการบริหารจัดการงบประมาณของส่วนราชการตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ การดาเนินการโอนเปล่ียนแปลงให้พิจารณาถึงความจาเป็นและเหมาะสมโดยพิจารณาดาเนินการให้ โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนการผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๓๓ เป็นไปตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 และระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62 และระเบียบว่าด้วยการโอนงบประมาณรายจ่ายบูรณาการและงบประมาณรายจ่ายบุคลากร ระหวา่ งหน่วยรบั งบประมาณ พ.ศ.2562 กาหนด อย่างเครง่ ครัดตอ่ ไป ข้อสงั เกต ๑) ณ สนิ้ ปงี บประมาณ ผลการดาเนนิ งานต่ากวา่ แผนการปฏบิ ตั ิงาน จากการสอบทานผลการดาเนินงานของโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทาสารสนเทศต้นทุน การผลิต เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร ซึ่งเป็นหนึ่งในกิจกรรม/โครงการย่อยภายใต้โครงการพัฒนา ศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร พบว่า มีการดาเนินการสารวจข้อมูลปริมาณการผลิต ราคาปัจจัยการผลิต และบันทึกข้อมูลการสารวจเข้าระบบประมวลผลปริมาณการผลิต ต้นทุน และราคาสินค้าเกษตร แต่ ณ วันท่ี 2 มีนาคม 2563 ระบบดังกล่าวยังไม่สามารถประมวลผลข้อมูลต้นทุนการผลิตน้านมดิบและปลานิลในระดับ จังหวัดได้ ปัจจุบนั อย่รู ะหวา่ งการคน้ หาสาเหตุของข้อคลาดเคลอ่ื น โดยในระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 – 2563 ผู้รับผิดชอบแก้ไขโดยการใช้โปรแกรม Excell มาใชช้ ่วยการประมวลผลข้อมูลตน้ ทุนการผลิตน้านมดิบ ของจงั หวดั สระแกว้ เพียงจังหวัดเดียว และจัดสง่ ให้คณะทางานจัดทาตน้ ทนุ ฯ พิจารณาเสนอคณะอนกุ รรมการ จดั ทาข้อมูลเสนอราคาน้านมดิบ เสนอคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม (Milk Board) สาหรับข้อมูลต้นทุน การผลิตปลานิลระดับจังหวัดยังมิได้ดาเนินการเพ่ิมเติมอย่างไร จากกรณีท่ีเกิดข้ึนจะเห็นได้ว่า ผลผลิต (Output) และ ผลลัพธ์ (Outcome) ของการดาเนินงานโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทาสารสนเทศต้นทุน การผลิต เพ่ือพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร ยังไม่สาเร็จตามแผนการปฏิบัติงานท่ีกาหนด จากการสอบทาน เปรียบเทียบระหว่างผลการดาเนินงานจริงกับการบันทึกผลการดาเนินงานและผลการเบิกจ่ายงบประมาณใน แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ปรากฏว่าข้อมูลผลการดาเนินงานจริงกับข้อมูลผลการดาเนินงานในแบบ รายงานผลการปฏิบัติงานไม่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ บันทึกผลการดาเนินงานในแบบรายงาน ผลการปฏิบัติงานเป็นร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ผลงานจริงยังไม่แล้วเสร็จ ปัจจุบันผู้รับผิดชอบกาลังเร่งดาเนินการ ค้นหาสาเหตุที่ระบบฯ ไม่สามารถประมวลผลข้อมูลต้นทุนการผลิตของสินค้าปศุสัตว์และประมง โดยได้ ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขด้วยการคีย์ชุดข้อมูลการสารวจในโปรแกรม Excell เพ่ือประมวลผลรายจังหวัด ควบคุมแลว้ แต่ยังไมแ่ ล้วเสร็จ สาหรับโครงการจัดทาภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาค กรณีการจัดนิทรรศการเผยแพร่ ข้อมูลภาวะเศรษฐกิจการเกษตรระดับภูมิภาค ยังไม่มีการจัดเก็บสถิติการเข้าชม การสรปุ ผลการดาเนินการจัด นิทรรศการว่าบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคใ์ นการเผยแพรห่ รอื ไมอ่ ย่างไร ข้อเสนอแนะ เห็นควรมอบหมายให้ผู้อานวยการศูนย์สารสนเทศการเกษตร และหวั หน้างานทุกระดับ กากับ ดูแลให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเร่งรัดการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงานท่ีกาหนดโดยเร็ว หากมี ปัญหา/อุปสรรคในการดาเนินงาน เห็นควรนาเสนอให้ผู้เกี่ยวข้องรับทราบ เพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไข รว่ มกัน ท้ังน้ี ควรมีการสอบทานผลการดาเนินงานจริงกับข้อมูลการรายงานท่ีมีการนาเสนอหรือเผยแพร่ให้กับ ส่วนงานอน่ื ๆ เพอื่ ลดข้อคลาดเคลือ่ นจากการนาข้อมูลไปใชป้ ระโยชน์ 2) ระบุขอ้ ความ ในหลักฐานการจ่ายเงนิ ไมค่ รบถว้ นตามทร่ี ะเบียบกาหนด จากการสอบทานเอกสารการวางขอเบิกเงินจากคลัง พบว่า เอกสารประกอบการวางขอเบิก เงินจากคลงั ยังมีการระบขุ ้อความในแบบฟอร์มการจ่ายเงนิ ไม่ครบถ้วน ไดแ้ ก่ - หลกั ฐานการจา่ ยเงิน แบบ 8708 ผูร้ ับเงินไมร่ ะบุวันท่ีรบั เงิน - แบบฟอร์มหลักฐานการลงลายมือช่ือเข้าร่วมประชุม/อบรมสัมมนาไม่ได้แยกช่วงเวลาให้ ชดั เจนเป็น 08.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.30 น. โครงการพัฒนาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร ภายใต้แผนงานการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๓๔ ขอ้ เสนอแนะ ในคราวต่อไป การจัดทาเอกสารประกอบการจัดประชุม/สัมมนา ส่วนราชการต้องดาเนินการ จดั ทาเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงิน จากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2562 และระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 โดยใหส้ ่วนการเงินและบัญชี สานักงานเลขานุการกรมจัดทาแบบฟอรม์ การลงลายมอื ช่ือผเู้ ขา้ รว่ ม ประชุม/สัมมนา โดยต้องแบ่งแยกช่องลงลายมือช่ือ ตามช่วงเวลาท่ีมีการดาเนินการจริง แยกระยะเวลาเช้า – บ่ายให้ชัดเจน เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีผู้เข้าร่วมประชุม/สัมมนาแต่ละช่วงเวลามีจานวนเท่าใด ซ่ึงต้องสัมพันธ์กับ การเบิกจ่ายค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม พร้อมแจ้งเวียนให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทราบและถือปฏิบัติให้ เปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั 3) จัดทาเอกสารประกอบการจ่ายเงิน บางรายการแนบเอกสารประกอบการจ่ายเงินไม่ ครบถ้วนตามทีร่ ะเบยี บกาหนด กรณีจา่ ยเงนิ ใหก้ ับบคุ คล/คูส่ ัญญา ซงึ่ ส่วนราชการไมส่ ามารถเรยี กใบเสร็จรับเงินจากผู้รับเงนิ ได้ ส่วนราชการไม่ได้ให้ผู้จ่ายเงินหรือเจ้าหน้าท่ีที่นาเงินไปจ่ายจัดทาใบรับรองการจ่ายเงินมาแนบประกอบเป็น หลักฐานประกอบการขอเบิกเงินจากส่วนราชการ จัดทาเพียงใบสาคัญรับเงิน ซึ่งไม่สอดคล้องกับระเบียบ กระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2562 ขอ้ เสนอแนะ ในกรณีท่ีข้าราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจ้างของส่วนราชการ จ่ายเงินให้กับ บุคคลภายนอก ที่ไม่อาจเรียกใบเสร็จรับเงินได้ ต้องให้ข้าราชการ พนักงานราชการหรือลูกจ้างนั้น จัดทา ใบรับรองการจ่ายเงินเพื่อนามาเป็นเอกสารประกอบการขอเบิกเงินต่อส่วนราชการ โดยให้ถือปฏิบัติตาม ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการเบกิ เงินจากคลัง การรับเงิน การจา่ ยเงนิ การเก็บรกั ษาเงนิ และการนาเงิน สง่ คลงั พ.ศ. 2562 ข้อ 48 4) ไม่ปรากฏหลักฐานการเทียบตาแหน่งบุคคลภายนอก กรณีการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการ เดนิ ทางใหก้ ับเกษตรกร ทม่ี าช่วยปฏิบัติราชการ จากการสอบทานเอกสารการเบิกจ่ายเงินกิจกรรมท่ี 3 การศึกษา วิเคราะห์แนวทางการจัดการ ความเสี่ยงตลอดห่วงโซ่อุปทานภายใต้เกษตรยุคใหม่ พบว่า สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 1-12 มีการอนุมัติ ให้จัดประชุมสนทนากลุ่ม เร่ือง แนวทางการจัดการความเส่ียงตลอดโซ่อุปทานภายใต้เกษตรยุคใหม่ ซ่ึงการประชุม ดังกล่าวมีเกษตรกรซึ่งเป็นบุคคลภายนอกเข้ามาร่วมแสดงความคิดเห็น เสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการความ เสี่ยงของสินคา้ เกษตร 7 ชนิด ซ่ึงจากการสอบทานเอกสารประกอบการเบิกจ่ายไม่ปรากฏเอกสารการเทียบตาแหน่ง บคุ คลภายนอกที่เข้าร่วมการประชุม แต่มีการเบิกจ่ายเงนิ ค่าที่พัก – ค่าพาหนะ (ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ) แก่เกษตรกร แต่ไมป่ รากฏเอกสารหลักฐานการดาเนินการเทียบตาแหนง่ ตามที่กระทรวงการคลังกาหนด ขอ้ เสนอแนะ เห็นควรมอบหมายให้สานักงานเลขานุการกรม ดาเนินการทบทวนแนวทางการจัดประชุมของ คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือการประชุมอ่ืนในลักษณะเดียวกันและการประชุมประสานงานระหว่างส่วน ราชการและหรือรัฐวิสาหกิจหรือบุคคลภายนอก ซ่ึงมีการแจ้งเวียนแล้วตามหนังสือที่ กษ 1301.01/2119 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2561 ให้ครอบคลุมสาระสาคัญตามหนังสือกระทรวงการคลังท่ี กค 0406.6/ว 104 ลงวันท่ี 22 กนั ยายน 2551 เรอ่ื ง การเทยี บตาแหน่ง โครงการพฒั นาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ คา้ เกษตร ภายใต้แผนงานการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๓๕ ในคราวต่อไป ให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่มีการจัดประชุมราชการและมีเป้าหมายเป็น บุคคลภายนอกหรือมีบุคคลภายนอกเข้าร่วมประชุม ซึ่งมิได้เป็นข้าราชการและมีตาแหน่งหน้าท่ีนอกเหนือจากท่ี กระทรวงการคลังได้เทียบตาแหน่งไว้แล้ว ต้องดาเนินการเทียบตาแหน่ง โดยกรอบการพิจารณาให้อยู่ในดุลยพินิจ ของหัวหน้าส่วนราชการเจา้ ของงบประมาณ และการพิจารณาต้องคานึงถึงตาแหน่งหน้าท่ีปัจจบุ ัน คุณวุฒิการศกึ ษา ประสบการณ์การทางาน และภารกิจที่ได้รับมอบหมาย ให้มาช่วยปฏิบัติราชการเพ่ือให้เกิดความเหมาะสมและ ประโยชนต์ ่อทางราชการสว่ นราชการ ขอ้ ตรวจพบที่ 3 การจดั วางระบบการควบคุมภายใน ยังไมค่ รอบคลุมกิจกรรม/ขั้นตอนการดาเนินงานของ โครงการ พระราชบัญญตั ิวนิ ัยการเงนิ การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 “มาตรา 79 ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการ บริหารจัดการความเส่ียง โดยให้ถอื ปฏิบัตติ ามมาตรฐานและหลกั เกณฑ์ทกี่ ระทรวงการคลังกาหนด” มาตรฐานการควบคุมภายในสาหรบั หน่วยงานภาครัฐ กระทรวงการคลงั ห น่ วย งาน ของรัฐ ต้องให้ ความ ส าคัญ แล ะจั ด วางระบ บ การคว บ คุม ภ าย ใน ให้ ครอบ คลุ ม วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ดงั น้ี 1. วัตถุประสงค์ด้านการดาเนินงาน (Operations Objectives) เป็นวัตถุประสงค์เกี่ยวกับความมี ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนินงาน รวมถึงการบรรลุเป้าหมายด้านการดาเนินงาน ด้านการเงิน ตลอดจนการใช้ทรพั ยากร การดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรอื ลดความผิดพลาดของหน่วยงานของรัฐ ตลอดจน ความเสยี หาย การร่ัวไหล การส้ินเปลือง หรอื การทจุ รติ ในหนว่ ยงานของรัฐ 2. วัตถุประสงค์ด้านการรายงาน (Reporting Objectives) เป็นวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการรายงาน ทางการเงินและไม่ใช่การเงิน ที่ใช้ภายในและภายนอกหน่วยงานของรฐั รวมถึงการรายงานทเ่ี ชอ่ื ถือได้ ทันเวลา โปร่ง ใน หรือขอ้ กาหนดอนื่ ของทางราชการ 3. วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับ (Compliance Objectives) เป็นวัตถุประสงค์เก่ียวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือมติคณะรัฐมนตรีที่เก่ียวข้องกับการ ดาเนินงาน รวมทง้ั ขอ้ กาหนดอื่นของทางราชการ จากการสอบทานระบบการควบคุมภายในโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้า เกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร จากเอกสารการประเมินผลระบบการ ควบคุมภายใน พบว่า มีการดาเนินจัดวางระบบการควบคุมภายในครอบคลุมกิจกรรมการดาเนินงาน แต่การ วเิ คราะหจ์ ุดออ่ น/ความเสี่ยงยังไมค่ รอบคลุม ซึ่งส่งผลให้การกาหนดกิจกรรมการควบคุมยังไม่เหมาะสม โดยยัง มจี ุดอ่อนจากการดาเนินงานโครงการทีป่ รากฏตามข้อตรวจพบที่ 1 – 3 และข้อสงั เกต 1 - 4 สาเหตุ ผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานยังไม่เข้าใจแนวทางการจัดวางและวิธีการติดตาม ประเมินผลระบบการควบคุมภายในและการประเมินความเสี่ยง ประกอบกับยังไม่เห็นความสาคัญของการ ประเมนิ ผลระบบการควบคุมภายใน เนอื่ งจากมงี านในภารกิจอ่นื ท่ีต้องรบั ผดิ ชอบมาก ผลกระทบ การจัดวางระบบการควบคุมภายในโครงการฯ ไม่เหมาะสม ส่งผลให้การดาเนินงาน โครงการฯ ยงั พบจุดออ่ นความเสีย่ ง เช่น - การจดั ทาข้อเสนอโครงการไม่ชัดเจน และไมม่ ีการเสนอผู้มีอานาจพิจารณาอนุมัติ - ไม่มีการประเมินผลสัมฤทธ์ิโครงการฯ ท่ีครอบคลุมเกณฑ์การวัดผลสาเร็จจากการ ดำเนนิ งานทต่ี กลงกับสานกั งบประมาณ โครงการพฒั นาศักยภาพกระบวนการผลติ สนิ คา้ เกษตร ภายใตแ้ ผนงานการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
๓๖ - ผลการดาเนินการเบิกจ่ายมีความคลาดเคลื่อนจากกฎหมาย ระเบียบ หรือหนังสือ สงั่ การที่เก่ยี วขอ้ ง ข้อเสนอแนะ เห็นควรมอบหมายให้ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร พิจารณาทบทวนการจัดวาง ระบบการควบคุมภายใน การประเมินความเส่ียงขององค์กรให้ครอบคลุมจุดอ่อน/ความเสี่ยงจากการ ดาเนินงานท่ีสาคัญ โดยให้พิจารณาข้อตรวจพบและข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบภายใน มาใช้ประกอบการ กาหนดกิจกรรมการควบคุมเพื่อป้องกันความเส่ียงที่อาจเกิดขึ้นจากการดาเนินงานกิจกรรม/โครงการพัฒนา ศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตร รวมถึง โครงการอ่นื ๆ ท่ีมกี ารดาเนินงานลักษณะเดียวกนั ตอ่ ไป ********************************* โครงการพฒั นาศกั ยภาพกระบวนการผลิตสนิ ค้าเกษตร ภายใต้แผนงานการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รายละเอียดแสดงแผน – ผลการการเบกิ จ่ายงบประมาณรายหน่วยงาน โครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ที่ดาเนินการใน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
ภาคผนวก ข รายละเอียดรายการเอกสารการขอเบกิ เงิน ที่อาจไมเ่ กย่ี วข้องกับ วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ ของโครงการพัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ท่ีดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
โครงการการติดตามสถานการณส์ ินค้าเกษตร ปัจจัยการผลิต และภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและสถาบันเกษตรกร
Search