Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 2 ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์

บทที่ 2 ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์

Published by sulai8444, 2019-08-28 23:10:01

Description: บทที่ 2 ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์

Search

Read the Text Version

1. การเอาชนะ (competition) เมื่อคนเราพบกบั ความขดั แย้ง จะมีบางคนทีแ่ ก้ไข ความขดั แย้งนนั้ ด้วยวธิ ีการเอาชนะ โดยมงุ่ เน้นชยั ชนะของตนเองเป็นสาคญั จงึ พยายามใช้ อทิ ธิพล วธิ ีการหรือชอ่ งทางตา่ งๆ เพือ่ จะทาให้คกู่ รณียอมแพ้หรือพา่ ยแพ้ตนเองให้ได้ 2. การยอมรับ (accommodation) จะเป็นพฤตกิ รรมทีเ่ น้นการเอาใจผ้อู น่ื อยาก เป็นทีย่ อมรับและได้รับความรัก มงุ่ สร้างความพอใจให้แก่คกู่ รณี โดยทต่ี นเองจะยอม เสียสละ 3. การหลกี เล่ยี ง (avoiding) เป็นวิธีจดั การกบั ความขดั แย้งในลกั ษณะไมส่ ู้ ปัญหา ไม่ร่วมมือในการแก้ไขปัญหา ไมส่ นใจความต้องการของตนเองและผ้อู ่นื พยายาม วางตวั อย่เู หนือความขดั แย้ง พดู งา่ ยๆ ก็คือทาตวั เป็นพระอิฐพระปนู นน่ั เอง 4. การร่วมมอื (collaboration) เป็นพฤติกรรมของคนท่มี งุ่ จดั การความขดั แย้ง โดยต้องการให้เกิดความพอใจทงั้ แก่ตนเองและผ้อู ื่น เป็นความร่วมมือร่วมใจในการแก้ไข ปัญหาทม่ี งุ่ ให้เกิดประโยชน์ทงั้ สองฝ่ ายซงึ่ วิธีการแก้ไขปัญหาความขดั แย้งในแบบนี ้เรียกได้ วา่ เป็นวธิ ีการแก้ไขความขดั แย้งท่ี Win-Win ทงั้ สองฝ่ าย 5. การประนีประนอม (compromising) เป็นความพยายามท่ีจะให้คกู่ รณีทงั้ สองฝ่ ายได้รับความพอใจบ้าง และต้องยอมเสยี สละบ้าง แตก่ ็มแี นวโน้มที่จะใช้วธิ ีท่ี 1 คือวธิ ี เอาชนะมากกวา่ วิธีอ่ืน

ประโยชน์ของความขดั แย้ง 1. การเกิดปัญหาหรือความขดั แย้งนนั้ สามารถป้ องกนั ความเฉ่ือยชา เช่ืองช้าขององค์กร 2. ความขดั แย้งสามารถนาไปสกู่ ารพฒั นาและเปล่ียนแปลงของปัญหาไปในทางที่ดีขนึ ้ 3. เม่ือเกิดความขดั แย้งระหวา่ งหนว่ ยงานหรือระหวา่ งกลมุ่ จะสง่ ผลให้เกิดความสามคั คี ภายในหนว่ ยงานหรือในกลมุ่ ของตนเอง 4. เกิดความรอบคอบและมีเหตผุ ลที่ชดั เจน 5. สร้างพฤตกิ รรมในการแสดงความคิดเหน็ อยา่ งอิสระและได้รับการยอมรับ ข้อควรระวังของความขดั แย้ง 1. ขาดการยอมรับ ขาดความไว้วางใจ 2. ขาดความร่วมมือ ขวญั และกาลงั ใจถดถอย 3. การสอ่ื สารถกู บิดเบอื น คลมุ เครือ 4. ประสทิ ธิภาพการทางานลดลง 5. เกิดความเฉื่อยในงาน เพราะขาดความมนั่ ใจ

ทฤษฎีการกระทาตอบโต้ ทฤษฎีนีไ้ ด้รับอิทธิพลจากความคดิ ของแมก็ ซ์เวเบอร์ ซงึ่ เน้นการวเิ คราะห์สงั คม โดยพิจารณาถงึ การกระทาของบคุ คล นกั ทฤษฎกี ารกระทาตอบโต้ เห็นวา่ สง่ิ ท่ีทฤษฎี หน้าท่ีหรือทฤษฎีความขดั แย้งเป็นโครงสร้างสงั คม เชน่ บรรทดั ฐาน คา่ นิยม หรือชนชนั้ นนั้ เป็นเพียงนามธรรม โครงสร้างเหลา่ นี ้มิได้มีอยอู่ ยา่ งเป็นอิสระโดยตวั ของมนั เอง แตส่ งิ่ ทป่ี รากฏเป็นจริงก็คือ บคุ คลและการกระทาของบคุ คล การกระทาของบคุ คลหรือสมาชกิ แตล่ ะคน เป็นปรากฏการณ์ทท่ี าให้เกิดสงั คมและทาให้สงั คมเปลี่ยนแปลง นกั สงั คมวิทยาที่จดั อยใู่ นกลมุ่ นกั ทฤษฎีการกระทาตอบได้ ถือวา่ สาระสาคญั ของวชิ าสงั คมวทิ ยาคือ การศกึ ษาถงึ การกระทาทางสงั คม ของบคุ คลและพฤตกิ รรมของ คนในกลมุ่ ขนาดเลก็ ตวั แปรสาคญั ที่กาหนดการกระทาและการตอบโต้กนั ของบคุ คลคอื ตวั ตนหรือตวั บคุ คลแตล่ ะคนนน่ั เอง อนั ได้แก่ความคาดหวงั หรือความเข้าใจของบคุ คล ตอ่ สถานการณ์เฉพาะหน้า แรงกดดนั หรือปฏกิ ิริยาที่บคุ คลในกลมุ่ มีตอ่ กนั บคุ ลกิ ภาพ ของบคุ คลเป็นต้น ความสมั พนั ธ์ตอ่ กนั ของคนในสงั คมเป็นกระบวนการของการกระทา ตอบโต้ซง่ึ กนั และกนั ทม่ี ีความผนั แปรอยเู่ สมอตามสถานการณ์บคุ คลเป็นผ้สู ร้างหรือ กาหนดการกระทาไมใ่ ชถ่ กู กาหนดโดยโครงสร้างทางสงั คม

ทฤษฎีแรงจูงใจ ความหมายของแรงจงู ใจ คาวา่ “แรงจงู ใจ” (motivation) มาจากคากริยาในภาษา ละตนิ วา่ “Mover” (Kidd, 1973:101) ซง่ึ มีความหมายตรงกบั คาในภาษาองั กฤษวา่ “to move” อนั มีความหมายวา่ “เป็ นสง่ิ ท่ีโน้มน้าวหรือมกั ชกั นาบคุ คลเกิดการกระทาหรือปฏิบตั ิการ” (to move a person to a course of action) ดงั นนั้ แรงจงู ใจจงึ ได้รับความสนใจมากในทกุ ๆ วงการ สาหรับโลเวลล์ (Lovell, 1980 : 109) ให้ความหมายของแรงจงู ใจว่า “เป็น กระบวนการท่ีชกั นาโน้มน้าวให้บคุ คลเกิดความมานะพยายาม เพ่ือท่ีจะสนองตอบความ ต้องการบางประการให้บรรลผุ ลสาเร็จ” การจงู ใจเป็ นกระบวนการที่บคุ คลถกู กระต้นุ จากส่งิ เร้าโดยจงใจให้กระทาหรือดิน้ รน เพื่อให้บรรลจุ ดุ ประสงค์บางอยา่ งซงึ่ จะเห็นได้พฤตกิ รรมท่ีเกิดจากการจงู ใจเป็นพฤตกิ รรมท่ีมิใช่ เป็นเพียงการตอบสนองสงิ่ เร้าปกติธรรมดา ยกตวั อยา่ งลกั ษณะของการตอบสนองส่งิ เร้าปกติคือ การขานรับเม่ือได้ยนิ เสยี งเรียก แตก่ ารตอบสนองสงิ่ เร้าจดั วา่ เป็ นพฤติกรรมที่เกิดจากการจงู ใจ เช่น พนกั งานตงั ้ ใจทางานเพื่อหวงั ความดีความชองเป็นกรณีพเิ ศษ

(ต่อ) ทฤษฎีแรงจงู ใจตามลาดบั ขนั้ ของมาสโลว์ กลา่ ววา่ มนษุ ย์มีความต้องการ ความ ปรารถนา และได้รับสงิ่ ท่ีมีความหมายตอ่ ตนเอง ความต้องการเหลา่ นีจ้ ะเรียงลาดบั ขนั้ ของความ ต้องการ ตงั้ แตข่ นั้ แรกไปสคู่ วามต้องการขนั้ สงู ขนึ ้ ไปเป็นลาดบั ซง่ึ มีอยู่ 5 ขนั้ ดงั นี ้

ความสาคัญของการจงู ใจ การจงู ใจมอี ิทธิผลตอ่ ผลผลติ ผลิตผลของงานจะมีคณุ ภาพดี มปี ริมาณมากน้อย เพียงใด ขนึ ้ อยกู่ บั การจงู ใจในการทางาน ดงั นนั้ ผ้บู งั คบั บญั ชาหรือหวั หน้างานจงึ จาเป็นต้องเข้าใจวา่ อะไร คอื แรงจงู ใจท่จี ะทาให้พนกั งานทางานอยา่ งเตม็ ท่ี และไมใ่ ช่เร่ือง ง่ายในการจงู ใจพนกั งาน เพราะ พนกั งานตอบสนองต่องานและวธิ ีทางานขององค์กร แตกตา่ งกนั การจงู ใจพนกั งานจึงมี ความสาคญั สามารถสรุปความสาคญั ของการจงู ใจใน การทางานได้ ดงั นี ้ 1 พลงั (energy) 2 ความพยายาม (persistence) 3 การเปล่ยี นแปลง (variability) 4 บคุ คลที่มแี รงจงู ใจในการทางาน

แรงจูงใจ จึงเกิดข้ึนไดจ้ ากปัจจยั ภายในและปัจจยั ภายนอก 1. แรงจงู ใจภายใน (Intrinsic motives) แรงจงู ใจภายในเป็นสงิ่ ผลกั ดนั จากภายในตวั บคุ คล ซงึ่ อาจจะเป็ นเจตคติ ความคดิ เห็น ความสนใจ ความตงั้ ใจ การมองเห็นคณุ คา่ ความพอใจ ความ ต้องการ ฯลฯ สง่ิ ตา่ งๆ 2. แรงจงู ใจภายนอกเป็ นสง่ิ ผลกั ดนั ภายนอกตวั บคุ คลที่มากระต้นุ ให้เกิด พฤตกิ รรม อาจจะเป็นการได้รับรางวลั เกียรติยศ ช่ือเสยี ง คาชม การ ได้รับการยอมรับ ยกยอ่ ง ฯลฯ

ข้อสรุปสาระสาคญั เกี่ยวกบั ทฤษฎีทางสงั คม

ทฤษฎีทางสงั คมศาสตร์ท่ีอิทธิพลมากที่สดุ • เราจะเขา้ ใจในทฤษฎีอยา่ งไร • ทฤษฎีมีความสาคญั อยา่ งไรในการทานาย ปรากฏการณ์ทางสงั คม • เราจะนาแนวคิดทฤษฎีของนกั คิดต่างๆมา ประยกุ ตใ์ ชแ้ ละเขา้ ใจประเด็นปัญหาทางสงั คม อยา่ งไร

Conceptual Framework ทฤษฎี ปรากฏการณ์ ประเดน็ คาถาม „ อธิบาย • การเมือง „ ทานาย • เศรษฐกจิ „ สาเหตุ • สังคม • ส่งิ แวดล้อม „ ผลกระทบ „ แนวทางแก้ไข „ การนา นโยบายไป ปฏบิ ัติ 2

ทฤษฎีโครงสร้าง – หน้าท่ี (SF) Subsystem(ระบบย่อย) System (ระบบ) Subsystem Function(การทาหน้าท่)ี Function Interaction Dysfunction (ปฏสิ ัมพนั ธ์) (ไม่ทาหน้าท่/ี ทาหน้าท่ไี ม่สมบรู ณ์) (บกพร่ อง/ไม่ สอดประสานกัน) Adaptation (การปรับตัว) Balance Change (External Input) (ความสมดุล) (การเปล่ียนแปลงจากปัจจยั ภายนอก) 3

ทฤษฎีความขัดแย้ง (CF) Subsystem System Subsystem Function Function Strong (Have) Unequal Weak (No Have) Dominate (ไม่เสมอภาค/ไม่เท่าเทยี ม) (ผู้ครอบงา) Subordinate (ผู้ถกู ครอบงา) Advantage Exploitation (ผลประโยชน์) (การกดข่ี เอารัดเอาเปรียบ) Conflict (ความขัดแย้ง) Struggle (การต่อสู้) Change (Internal) = การเปล่ียนแปลง (จากภายใน) Balance (ความสมดุล) 4

การเลือกใช้ทฤษฎีในการตอบ/อธิบาย ปรากฏการณ์ ประเดน็ คาถาม ทฤษฎี สาเหตุ ผลกระทบ แนวทางแก้ไข สรุป เก่ียวกับ SF + เศรษฐกิจ, เศรษฐกิจ ปรับแก้ระบบท่ีมี สังคมไปสู่ สังคม(ครอบครัว ปรากฏการณ์ สังคม,การเมือง, สังคม ปัญหาให้ทา จุดสมดุลใหม่ เดก็ เยาวชน, การเมือง หน้าท่ีให้สมบรู ณ์ การศกึ ษา,ยาเสพ ส่งิ แวดล้อมอ่นื ๆ ตดิ ฯลฯ เศรษฐกิจ ความขดั แย้ง CF+ เศรษฐกิจ+สังคม+ สังคม สร้ างความเท่ า สังคมไปสู่จุด (ปัญหาการเมือง) ปรากฏการณ์ การเมือง เทียมและความ ประนีประนอม การเมือง ท่ี อสม เป็ นธรรมให้ ปัญหาส่งิ แวดล้อม (ใครคือคู่ ดุล เศรษฐกจิ สมดุล สังคมและ (ปั ญหาโลกร้ อน ขัดแย้ง) สังคม เศรษฐกจิ ไปสู่ ,ปัญหาผลกระทบ ส่งิ แวดล้อม ชุมชนเข้มแขง็ การพฒั นาท่ี จากโรงงาน Growth+ Growth + เศรษฐกิจ ย่งิ ย่นื อุตสาหกรรม เป็ น Modernization Modernization พอเพยี ง ต้น) + CIPP + ปรากฏการณ์ 12

ตวั อย่าง การทา Mind map (1) ระบบทนุ นิยม บริโภคนิยม วัตถุนิยม กลไกการ เฉยเมยต่ อการคอร์ รัปช่ นั นับถอื ตวั บุคคล/ชอบคนร่ารวย คพค. ตรวจสอบ ค่านิยม หน้าใหญ่ใจโต ปปช. อ่อนแอ/ถกู ครอบงา/ รักสนุก ศาล รธน. ไม่มีประสทิ ธิภาพ การทจุ ริต ฟ้ ุงเฟ้ อฟ่ ุมเฟื อย คอร์ รัปช่ ัน ศาลปกครอง นักการเมอื ง กระบวนการ ระบบการศึกษา ขัดเกลา ระบบครอบครัว ซือ้ เสียง ข้าราชการ ระบบ ระบบศาสนา อุปถมั ภ์ ทางสังคมอ่อนแอ ถอนทุน ซือ้ ขาย ตาแหน่ง นาย ลูกน้อง 16

ตัวอย่าง การทา Mind map (2) การเมือง ท่ีพงึ ปรารถนา ค่านิยม ปฏริ ูป ระบบราชการ ท่ีเหมาะสม ประเทศไทย ท่ีมีคุณภาพ เศรษฐกจิ การศกึ ษา ท่ีสมดุล ท่ีมีคุณภาพ 17

ตวั อย่าง การทา Mind map (4) * บางคน/บางกลุ่มมีโอกาสเข้าถงึ อานาจ มีลักษณะเป็ นตระกูล ขณะท่ีประชาชนส่วนใหญ่เข้าไม่ถงึ *การบงั คับใช้กฎหมายแตกต่างกัน * ข้าราชการมีโอกาสมากกว่า ทางการเมือง * นโยบายรัฐ เช่น สัมปทานป่ าไม้เออื้ ประโยชน์ นายทุน ผลักดันชาวบ้านออกไป * ประเทศพฒั นา/ด้อยพัฒนา โลกาภวิ ตั น์ ความเหล่ือมลา้ นาไปสู่ความขัดแย้ง (ความไม่เท่าเทยี มกัน) ความอดึ อดั คบั ข้องใจ * โอกาสทางการ อาชญากรรม ศกึ ษา(คนยากจน ไม่มีโอกาสเรียน ทางสังคม * วฒั นธรรม * ระบบทุนนิยม ต่อ) * โอกาสในการ พ* รระรบคพบอวกุปถญมั าภต์ พิเหอ่ีนน็า้อนแงากจ่ น*เขิยโ้าอมถ*กงึ าโแอสหกใลนา่งสกทใานนุรการทเขา้างถเศงึ ทรรษัพฐยกากจิ รท่ใี ช*ก้ใรโนคะกจรางุกรสใดรนา้าเรงมงพือชนื้งวี ฐติ าน รักษาพยาบาล * โอกาสในการได้รับ สวัสดกิ ารทางสังคม ประกอบอาชีพ เช่น การกู้เงนิ จากธนาคาร ต้องมี หลักทรัพย์คา้ ประกนั บางคน/บางกลุ่ม มีโอกาสมาก บางคน/บางกลุ่ม มีโอกาสน้อย 19

ตัวอย่าง การทา Mind map (6) การเมือง ประชาธิปไตย สทิ ธิมนุษยชน แฟช่ัน ภาพยนตร์ กฬี า ความเสมอภาคทางเพศ วัฒนธรรม/ค่านิยม โลกาภวิ ัตน์ ทุนนิยม การเงนิ สังคม การเปิ ดเสรีทางการค้า การลงทุน/การผลิตสินค้า/บริการ ปัญหาส่ิงแวดล้อม เศรษฐกจิ (บริษัทข้ามชาติ) การเคล่ือนย้ายแรงงาน การตดิ ต่อส่ือสาร เทคโนโลยี/นวตั กรรม การส่งออก นาเข้า ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ โลกาภวิ ัตน์ = การแพร่กระจายไปท่วั โลก 21

โลกนีไ้ ม่มีอะไรได้มาง่ายดาย ท้อได้แต่อย่าถอย รางวัลมีไว้ให้คนตงั้ ใจ สตมิ าปัญญาเกดิ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook