Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Classroom Research

Classroom Research

Published by sulai8444, 2019-08-22 19:03:02

Description: Classroom Research

Search

Read the Text Version

Classroom Research บรรยายโดย อาจารย์สไุ ลมาน หะโมะ หลกั สตู รรัฐศาสตรบณั ฑิต คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั ยะลา

วจิ ยั ช้นั เรียนกบั ระเบียบวธิ ีวจิ ยั • หวั ใจสาคญั ของการจดั การศึกษา คือ คุณภาพการศึกษา ซ่ึงถือว่าเป็ น เป้ าหมายสงู สงู ของการจดั การศกึ ษาท่ี ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ ายจะต้องร่วมมือกัน ผลกั ดนั ให้เกิดขนึ ้ ให้ได้

ตอ่ คณุ ภาพการศกึ ษา อยทู่ ีท่ ่ีไหน จะหาดไู ด้ท่ไี หน คณุ ภาพการศกึ ษา อยทู่ โ่ี รงเรียน หาดไู ด้ที่โรงเรียน คณุ ภาพการศกึ ษา อยทู่ ่ีชนั้ เรียน หาดไู ด้ในชนั้ เรียน คณุ ภาพการศกึ ษา อย่ทู ผ่ี ้เู รียน ตรวจสอบดไู ด้ทผ่ี ้เู รียน

แสดงแผนภมู ิ คณุ ภาพการศกึ ษา โรงเรียน ชนั้ เรียน ผ้เู รียน อยทู่ ่ี Feedback

ใครคอื ผ้ทู าให้เกิด คณุ ภาพการศกึ ษา ?

Conceptual framework External Feedback Internal รัฐบาล กระทรวง กรม ผ้บู ริหารโรงเรียน ครู ต้นสงั กดั ผ้ปู กครอง นกั การภาโรง แม่ หลกั สตู ร และ ครัว นกั เรียน ประชาชน

มโนทศั น์ของการจดั การเรียนรู้ • โลกการเรียนรู้ในปัจจุบนั ถือวา่ ผเู้ รียนเป็นผมู้ ีความสาคญั ที่สุดใน การเรียนรู้จึงตอ้ งเน้นไปที่ผูเ้ รียนเป็ นหลกั โดยจะตอ้ งคานึงถึง กระบวนการพฒั นาเรียนรู้ และผลที่จะเกิดข้ึนกับผูเ้ รียนเป็ น สาคญั ฉะน้ันครูเป็ นผูซ้ ่ึงมีบทบาทสาคญั ในการเรียนรู้ จะตอ้ ง มุ่งมั่นในการจัดและพัฒนาการเรี ยนรู้ให้มีคุณภาพและมี ประสิทธิภาพเพ่ือพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้ความสามารถเตม็ ตาม ศกั ยภาพ ซ่ึงตอ้ งใชเ้ ทคนิควิธีการจดั การเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ อย่างหลากหลาย แต่ตอ้ งเปลี่ยนมโนทศั น์ เก่ียวกบั การจดั การ เรี ยนรู้ โดยให้ครู มี บทบาทเป้ นครู นักวิจัย Teacher researcher

มโนทศั น์เดมิ มโนทศั น์ใหม่ การจดั การเรียนรู้/ การวจิ ยั การจดั การเรียนรู้/ กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ครู นกั วิจยั การ วิจยั ครูนกั วจิ ยั

ทาไมครูจงึ ต้องทาการวิจยั ชนั้ เรียน • ในการจดั การเรียนรู้ท่ียดึ หลกั ของวิชาชีพครู ครูกจ็ ะตอ้ งเริ่มดว้ ยการ จดั ทำแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ีไม่ใช่แผนในใจ(ไม่มลี ำยลกั ษณ์อกั ษร) แต่ ตอ้ งเป็นแผนกำรจัดกำรเรียนรู้นอกใจ กล่าวคือ ตอ้ งเป็นแผนการจดั การ เรียนรู้เขียนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร • ส่วนประกอบสาคญั ของแผนการจดั การเรียนรู้อยา่ งหน่ึงกค็ ือ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ซ่ึงเป็นคุณลกั ษณะหรือผลการเรียนรู้ (Learning outcome)ที่เราคาดหวงั หรือตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนกบั ผเู้ รียนจากาการเรียนรู้หรือการเรียนรู้ตามแผน “สภำพทคี่ ำดหวงั ”

ตอ่ • หลังจากจัดการเรียนรู้แล้วมีการประเมินผลการ เรียนรู้ เพ่อื ตรวจสอบผลการเรียนรู้ที่เกิดขนึ ้ “สภาพ ท่เี ป็ นจริง” • หากผลการเรียนรู้ไม่เป็ นไปตามจุดประสงค์การ เรียนรู้หรือสภาพที่เป็ นจริงแตกต่างจากสภาพท่ี คาดหวงั “เกดิ ปัญหาเรียนรู้”

• ปัญหาการเรียนรู้ ก็คือ ความแตกตา่ งหรือความไม่ สอดคล้องกนั ระหวา่ งสภาพทเ่ี ป็นจริงกบั สภาพที่ คาดหวงั เก่ียวกบั การเรียนรู้หรือกลา่ วอีกนยั หนงึ่ ก็คอื ปัญหาการเรียนรู้คือความแตกตา่ งระหวา่ งผลการ เรียนรู้ที่เกิดขนึ ้ จริงกบั จดุ ประสงค์ของการเรียนรู้

ตอ่ สภาพที่คาดหวงั (จดุ ประสงค์การเรียนรู้๗ ความแตกตา่ ง = ปัญหาการเรียนรู้ สภาพที่เป็ นจริง (ผลการเรียนรู้ท่ีเกิดขนึ ้ จริง) เมื่อเกิดปัญหาการเรียนรู้ ครูมีทางเลอื กในการตดั สินใจอยู่ 2 ทางเลอื ก ทางเลอื กที่ 1 ปลอ่ ยให้สภาพปัญหาการเรียนรู้เป็ นอยแู่ ละเป็ นไปเช่นเดมิ ทางเลือกท่ี 2 หาวธิ ีการแก้ไขและปฏิบตั กิ ารแก้ไข หรือพฒั นาเพื่อลด ปัญหา หรือสลายปัญหาการเรียนรู้นนั้ การตดั สนิ ใจเลือกทางท่ี 1 หรือทางเลือกท่ี 2ของครูจะมผี ลกระทบตอ่ ผ้เู รียน ผ้ปู กครอง ประชาชน โรงเรียน รัฐบาล หรือประเทศชาตทิ ีแ่ ตกตา่ งกนั อย่างมาก

ตารางเปรียบเทยี บผลกระทบ ผลของการเลอื กทางเลอื กท่ี 1 ผลของการเลือกทางเลือกท่ี 2 1.สภาพปัญหาการเรียนรู้ยงั คงอยู่ 1.สภาพปัญหาการเรียนรู้ลดลงหรือสลายไป 2.ผู้เรียนยงั ไม่รู้ ไม่เข้าใจ ขากทักษะ หรือขาด 2.ผ้เู รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ มีทกั ษะหรือคณุ ลกั ษณะ คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ท่ีพงึ ประสงค์ 3.มีผลกระทบเชงิ คุณภาพทัง้ ระดับรายบุคคล 3.ผ้เู รียนทงั ้ ระดบั รายบคุ คล ระดบั ชนั ้ เรียน สถานศกึ ษา ระดับชนั้ เรียน สถานศกึ ษาทัง้ ประเทศ ทงั ้ ประเทศมีคณุ ภาพตามมาตราฐาน 4. โดยภาพรวมในระยะยาวเยาวชนไทยและคน 4. โดยภาพรวมในระยะยาวเยาวชนไทยและคนไทย ที่ ไทยยงั อ่อนแอและด้อยคุณภาพ ซ่งึ ไม่เก่ง ไม่ดี เป็นคนดี มีความสามารถ และมีความสขุ สามารถสร้าง และแกร่ง พอท่จี ะสร้างชาตแิ ละแข่งขนั กับ นานาชาตไิ ด้ ชาติ แขง่ ขนั กบั นานาชาตไิ ด้ 5.ครูไม่ได้ปฏิบตั หิ น้าท่อี ย่างกัลยาณมิตร 5.ครูปฏิบตั ิหน้าที่อย่างกลั ยาณมติ ร ชว่ ยเหลือศิษย์หรือ ช่วยเหลือศษิ ย์หรือไม่ได้ปฏิบัตงิ านตามวชิ าชีพ ไมไ่ ด้ปฏบิ ตั ิงานตามวิชาชีพอย่างแท้จริง อย่างแท้จริง 6.คณุ ภาพการศกึ ษาของไทยมีคณุ ภาพแท้มใิ ชค่ รุ ภาพ 6.คุณภาพการศึกษาแท้ไม่เกดิ ขนึ้ มีแต่คุณภาพ เทียม การศกึ ษาเทียม

ผลการเลือกทางเลอื กของทกุ คนคอื ถ้าทางเลอื กท่ี 2 ………………………………… ต้องหาวิธีการแก้ไขปัญหาและปฏิบตั ิการแก้ไขปัญหานนั้ มีกลไกล ซึ่งหมายถึง การทาวิจัยในชัน้ เรียน ดังนัน้ ครูจึง ต้ องทาการวิจัยในชัน้ เรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ โดย แสวงหาวิธีการหรื อนวัตกรรมสาหรับแก้ ปั ญหาการเรี ยนร้ ู หรือพฒั นาผ้เู รียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา

มคี วามรู้สกึ เช่นหรือป่ าว • เม่ือได้ยินคาวา่ “วิจยั ” ยิม้ ไมอ่ อก หน้าผากยน่ บน่ วา่ ยาก และยงุ่ ยาก • ครูมองวา่ การวจิ ยั เป็นภาระงานที่เพม่ิ ขนึ ้ จากภาระงานสอนซง่ึ หนกั อยู่ แล้ว จงึ มกั พดู วา่ “มนั มาอีกแล้ว”(แปลว่ามีงานใหมเ่ ข้ามาอีกแล้ว) • ครูเข้าใจวา่ การวิจยั เป็ นเร่ืองของนกั วชิ าการ ผ้รู ู้ คนที่เรียนระดบั ปริญญาโท ปริญญาเอกเขาทากนั ตวั เองคงทาไมไ่ ด้ • ครูนกึ ไปถงึ วา่ การทาวิจยั เป็ นกระบวนการท่ีสลบั ซบั ซ้อน ใช้สถิตยิ งุ่ ยาก เป็ นเอกสารรายงานเลม่ ใหญ่เหมือนวทิ ยานพิ นธ์ • ครูไม่เข้าใจวา่ ทาไมครูต้องทาวจิ ยั ในชนั้ เรียน ทาแล้วได้อะไร และใครได้

เพราะฉะนัน้ กล่าวโดยสรุป ครูยังมี อาการ “ตกอกตกใจ” กบั การทาวิจยั และมีเจตคติท่ีไม่ดีต่อการทาวิจัยหรือ ขาดจิตวิจัย จึงทาให้ ครูยังไม่สนใจ ตื่นตวั และลงมือทาวิจยั ในชนั้ เรียน

พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 • สาระสาคญั มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพฒั นากระบวนการเรียนการสอนท่ีมี ประสิทธิภาพ รวมทงั้ การส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพ่ือพัฒนาการ เรียนรู้ท่ีเหมาะสมกบั ผ้เู รียนในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา มาตรา 24(5) ส่งเสริมสนบั สนนุ ให้ผ้สู อนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวยความสะดวกเพ่ือให้ผ้เู รียนเกิดการ เรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทัง้ สามารถใช้การวิจัยเป็ นส่วนหน่ึงของ กระบวนการเรียนรู้ ทงั้ นีผ้ ้สู อนและผ้เู รียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกนั จากสื่อ การเรียนรู้และแหลง่ วทิ ยาการประเภทตา่ งๆ

คาถามท่ีพบบอ่ ยมากก็คือ ครูมกั จะถามหรือเลา่ ให้ฟังวา่  เรื่องที่ผม (หน)ู ทานีไ้ มร่ ู้วา่ เป็ นวิจยั ในชนั้ เรียนหรือเปลา่  เรื่องนี ้/ ปัญหานีท้ าวจิ ยั ในชนั้ เรียนได้ไหม  มีปัญหาการสอนหรือนกั เรียนมีปัญหาอยา่ งนีจ้ ะแก้ไขอยา่ งไรดี จะทาวิจยั เรื่องอะไรดี  จะใช้วธิ ีการวิเคราะห์ข้อมลู ง่ายๆ ได้ไหม  ถ้าไม่ใช้สถิตวิ เิ คราะห์ข้อมลู จะเป็ นวจิ ยั ไหม  เยนรายงานการวิจยั อยา่ งนีไ้ ด้ไหม ถกู ต้องไหม  บางทีก็ถามเลยเถิดไปวา่ “ไมท่ าวจิ ยั ได้ไหม” ฯลฯ



ข้อคิดสกู่ ารปฏบิ ตั ิ การเรียนรู้ท่ีแท้จริงอยใู่ นโลกจริงหรือชีวติ จริง การ เรียนรู้วชิ าในห้องเรียนยงั เป็นการเรียนแบบสมมติ “ดงั นัน้ ครูเพ่อื ศษิ ย์จงึ ต้องออกแบบการเรียนรู้ให้ศษิ ย์” ได้ เรียนในสภาพท่ีใกล้เคียงชีวติ จริงท่ีสดุ ศ.นพ.วจิ ารณ์ พาณิช (2555)

ความหมายวิจยั ในชนั้ เรียน • ถ้าเราพดู ถงึ ความหมายของการวิจยั แบง่ ออก 4 ระดบั - การค้นหาความจริง - การค้นหาสิ่งท่ีดี ส่งิ ทตี่ ้องการ สง่ิ ที่เป็นประโยชน์ - การค้นหาทางที่จะทาให้ดหี รือหาวธิ ีการท่ีจะทาให้ดี - การหาวิธีท่ีจะทาให้สาเร็จ อาจกลา่ วโดยสรุป การวจิ ยั คือ การเปลยี่ นปัญหาให้เป็นปัญญา

ตอ่ • การวิจยั คือ การแสวงหาความรู้ความจริงด้วยวิธีการท่ีมีระบบ มีความเช่ือถือได้โดยอาศยั ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ ได้ความรู้ใหม่ ทเ่ี ป็นคาตอบตามวตั ถปุ ระสงค์ทก่ี าหนดไว้อยา่ ง ชดั เจน • การวจิ ยั คอื การศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมีวจิ ารณญาณเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรของปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ โดยใช้วธิ ีการเชิงระบบมกี ารควบคมุ และเป็นเชิงประจกั ษ์

การวิจยั ผลการวิจยั ……………… กระบวนการ/วธิ ีการ ……………….. ข้อเทจ็ จริง ค้นหาความจริง คาตอบ องค์ความรู้ใหม่ หาคาตอบ หาองค์ความรู้ใหม่ เชื่อถือได้ วธิ ีการที่เป็นระบบ มีระเบยี บแบบแผน

ขนั้ ตอนการวิจยั ในชนั้ เรียน การวิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ การเลอื กนวตั กรรมหรือวิธีการแก้ปัญหา การออกแบบและสร้างนวตั กรรมหรือวธิ ีการแก้ปัญหา การใช้นวตั กรรมหรือวธิ ีการแก้ปัญหาหรือพฒั นา การสรุปและรายงานผลการวจิ ยั

1-ปัญหาการเรียนรู้ โดยทวั่ ไป หมายถงึ ข้อขดั ข้อง ข้อขดั แย้ง สภาพความ แตกตา่ งระหวา่ งสภาพท่ีคาดหวงั กบั สภาพท่ีเป็นจริงเกี่ยวกบั การเรียนรู้ เมื่อสภาพที่เป็ นจริงหรือผลการเรียนรู้ไม่สอดคล้องกบั สภาพท่ีเราคาดหวงั ยอ่ มเกิดความ รู้สกึ ขดั แย้ง ไม่พงึ พอใจ เรียกวา่ เกิดปัญหาการเรียนรู้ขนึ ้ ปัญหาวิจยั หรือคาถามวิจยั หมายถึง ประเด็น ข้อสงสยั หรือคาถามท่ีครูนกั วิจัย ต้ องการดาเนินการเพ่ือหาคาตอบให้ ถูกต้ อง ตรงกับความเป็ นจริงด้ วย กระบวนการวิจัย ปัญหาวิจัยจะมีลักษณะเป็ นข้ อสงสัยของครู นักวิจัยต่อ สภาพการณ์ต่างๆ ทัง้ ที่เป็ นความแตกต่างและไม่แตกต่างระหว่างสภาพท่ี คาดหวงั กบั สภาพทเ่ี ป็นจริง

• สภาพที่เป็นอยู่ นกั เรียนไมค่ อ่ ยสนใจเรียน เรียนแบบทอ่ งจา และผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนตา่ • สภาพที่ควรจะเป็น ประเทศกาลงั ก้าวไปสสู่ งั คมเทคโนโลยีและสารสนเทศ ควร พฒั นานกั เรียนให้สนใจวทิ ยาศาสตร์ ให้นกั เรียนรู้จกั คดิ และผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ควรอยใู่ นระดบั ท่ีได้มาตรฐาน • ปัญหาวิจยั หรือคาถามวจิ ยั (ข้อสงสยั หรือข้อขดั แย้ง) - ทาไมนกั เรียนจงึ ไมส่ นใจเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ : ประเด็นนีเ้ป็นข้อขดั แย้งและยงั เป็นข้อสงสยั ของครูนกั วิจยั - ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนต่าในรายวชิ าใด ระดบั ชนั้ ใดบ้าง : ประเด็นนีไ้ มเ่ ป็นข้อขดั แย้ง แตเ่ ป็นข้อสงสยั ของครูนกั วจิ ยั - การพฒั นานกั เรียนให้มที กั ษะในการคดิ วเิ คราะห์ ควรมีรูปแบบการจดั การเรียนรู้ อยา่ งไร : ประเดน็ นีเ้ป็นข้อสงสยั ของครูนกั วจิ ยั

4.มีสาเหตใุ ดบ้างที่ทาให้นกั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์ ตา่ : ประเดน็ นีเ้ป็ นข้อสงสยั ของครูนกั วิจยั 5.จะใช้นวตั กรรมหรือเทคนคิ วธิ ีการจดั การเรียนรู้อยา่ งไร จงึ จะทาให้ นกั เรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ได้ตามมาตรฐาน : ประเด็นนีเ้ป็ นข้อขดั แย้งและยงั เป็ นข้อสงสยั ของครูนกั วิจยั ด้วย 6.ทาไหมผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนจงึ ไมอ่ ยใู่ น ระดบั ที่ได้มาตรฐาน : ประเด็นนีเ้ป็ นข้อขดั แย้งระหวา่ งสภาพที่คาดหวงั กบั สภาพท่ีเป็นจริง

วิธีการวิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ จะเสนอ 2 วิธีการ ไม่เหน็ คณุ คา่ งานเกษตร ไมม่ ีสงิ่ จงู ใจ ขาดประสบการณ์ ความรู้ไมเ่ พียงพอ ขาดทกั ษะ นกั เรียนไมช่ อบ นกั เรียนไม่ชอบงานเกษตร นกั เรียนขาดความพร้อม ขาดแหลง่ เรียนรู้ นกั เรียนทาโครงการ…ไมป่ ระสบ ความสาเร็จ ขาดปัจจยั สนบั สนนุ ไมม่ ีเทคนิควีการสอนที่ดี ครูขาดความพร้ อม ขาดการนิเทศ ขาดอปุ กรณ์ ขาดประสบการณสอน ขาดสถานที่

• การกาหนดปัญหาวจิ ยั และการตงั้ ช่ือเรื่องวิจยั จากปัญหานกั เรียนทา โครงการงานเกษตรไมป่ ระสบความสาเร็จ ปัญหาการวจิ ัยหรือคาถามวจิ ัย ช่ือเร่ืองงานวจิ ัย

• การวเิ คราะห์ปัญหาการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการตงั้ คาถาม โดยใช้คาถามหลกั คือ อะไร ทาไม หรือ อยา่ งไร ปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาวจิ ยั /คาถามวจิ ยั ช่ือเร่ือง อะไร/ทาไม/อย่างไร

การลือกนวตั กรรมการเรียนรู้หรือการแกป้ ัญหา นวตั กรรมการ เรียนรู้ แนวคิดใหม่ แก้ไขปัญหาหรือ การจดั การเรียนรู้มี วธิ ีการใหม่ พฒั นาการเรียนรู้/การ ประสทิ ธิภาพ กระบวนการใหม่ ส่ิงประดษิ ฐ์ใหม่ จดั การ …………….. ผ้เู รียนมีคณุ ภาพ

การออกแบบและสร้างนวตั กรรมหรือวิธีการแก้ปัญหา • ชดุ กิจกรรมฝึก ควรจะมีรูปแบบอย่างไร มีกี่กิจกรรม แตล่ ะกิจกรรมมีสว่ นประกอบและเนือ้ หา สาระอยา่ งไร • การจดั การเรียนรู้แบบโครงงาน ควรจะมีรูปแบบ ขนั้ ตอน ลกั ษณะกิจกรรม งานท่ีต้องปฏิบตั ิ อยา่ งไรบ้าง ตวั อย่างเช่น ออกแบบ หรือวางโครงร่าง ชื่อกิจกรรม - วตั ถปุ ระสงค์ - คาชีแ้ จง - ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ - การประเมิน - บนั ทกึ ผลการประเมิน

การใช้นวตั กรรมหรือวิธีการแก้ปัญหาหรือพฒั นา • การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ นวัตกรรม วิธี การแก้ ปั ญหาหรื อพัฒนาท่ีได้ จัดทาไว้ กับ นกั เรียนกลมุ่ เป้ าหมายที่มีปัญหาการเรียนรู้หรือ ต้องการพัฒนาตามระยะเวลาที่กาหนด แล้ว สังเกต หรื อเก็บรวบรวมข้ อมูลและนาไป วเิ คราะห์ข้อมลู

สรุปและรายงานผลการวจิ ยั • เป็นขนั้ ตอนการสรุปผลการวจิ ยั ข้อค้นพบหรือ ผลการแก้ไขปัญหาหรือพฒั นาผ้เู รียนวา่ เป็น อยา่ งไร แล้วเขยี นไว้เป็นหลกั ฐานการ ปฏิบตั ิงานไว้ในรูปของรายงานวิจยั อาจจะ เขียนแบบไม่เน้นวชิ าการ แบบกงึ่ วิชาการ หรือ แบบเชงิ วิชาการ

กิจกรรม • ให้ทา่ นวเิ คราะห์ปัญหาการเรียนรู้ • จากข้อ1 ระบวุ ิธีการแก้ไขหรือนวตั กรรม • จากข้อ2 ให้ระบปุ ัญหาวิจยั และตงั้ ชื่อเร่ืองวจิ ยั

การวางแผนการวจิ ยั ในชนั้ เรียน • หลงั จากครูนกั วจิ ยั วิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้แล้วจะทาให้ทราบ โจทย์ หรือปัญหาการเรียนรู้ ที่จะต้องแก้ไข หรือพัฒนาการ เรียนรู้ของผ้เู รียน และอาจจะต้องหานวตั กรรมให้เหมาะสมกบั การเรียนรู้ ต่อจากนัน้ ครูนักวิจัยจะต้องวางแผนการวิจัยโดย กาหนดกรอบแนวความคิดและแนวทางในการทาวิจัยในชัน้ เรียนไว้ล่วงหน้าในรูปแบบเอกสาร ผลลัพธ์ท่ีได้จากการวาง แผนการวิจัยจะทาให้ได้ แผนการวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งนิยม เขียนในรูป โครงการวิจัย

โครงการวจิ ยั จึงเป็นแผนปฏิบตั ิการวจิ ยั ในช้นั เรียนสาหรับครู นกั วจิ ยั ความสาคญั ของโครงการวจิ ยั  เป็นแผนปฏิบตั ิการวจิ ยั ในช้นั เรียนของครูนกั วจิ ยั  เป็นสื่อกลางสร้างความเขา้ ใจกบั ผเู้ กี่ยวขอ้ ง เป็นเอกสารเพ่ืออนุมตั ิ หรือขอรับการสนบั สนุนการดาเนินการ วจิ ยั เป็นแนวทางในการกากบั ติดตามความกา้ วหนา้ ในการ ดาเนินการวจิ ยั

สว่ นประกอบโครงการวจิ ยั ในชนั้ เรียน • จะทาวจิ ยั เร่ืองอะไร ช่ือเรื่องวิจยั • ทาไมจึงต้องทา ความสาคญั ของปัญหาการวจิ ยั • จะค้นหาคาตอบอะไร วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั • ศกึ ษาตวั แปรใดบ้าง ตวั แปรท่ีศกึ ษา • มีคาศพั ท์ใดต้องนิยาม นิยามคาศพั ท์เฉพาะ • คาดวา่ จะได้อะไร • จะทาอยา่ งไร ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ • จะทาเมือ่ ไร วิธีดาเนินการวจิ ยั แผนปฏิบตั ิการวิจยั

การเขียนวตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั โดยพจิ ารณาปัญหาการเรียนรู้ และปัญหาวจิ ยั /คาถาม ปัญหาการเรียนรู้ ปัญหาวจิ ัย/คาถาม วัตถุประสงค์ของการวิจยั นกั เรียนไมร่ ักการอ่าน อะไรเป็นสาเหตทุ ่ีทาให้ให้ เพื่อศกึ ษา(หรือวิเคราะห์) นกั เรียนไมร่ ักการอา่ น สาเหตนุ กั เรียนมารักการ นกั เรียนเขียนไทยผดิ มาก อา่ น การเรียนชดุ ฝึกทกั ษะการ เพ่ือเปรียบเทียบ กอ่ นและ เขียนภาษาไทยจะชว่ ยให้ หลงั หลงั เรียนรู้ชดุ ฝึก นกั เรียนเขียนภาษาไทยได้ ทกั ษะ ถกู ต้องมากขนึ ้ หรือไม่

การพจิ ารณาตวั แปรที่ศึกษาจากชื่อเร่ืองวจิ ยั วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย ตัวแปรท่ีศกึ ษา เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางเรียนของ ตวั แปรอิสระ นกั เรียนก่อนและหลงั การเรียนจากชดุ การ ตวั แปรตาม สอน เพื่อศกึ ษาความพงึ พอใจตอ่ การเรียนจาก ชดุ การสอน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook