Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวแทนทางการเมืองในมิติวิถีประชาธิปไตยชุมชน

ตัวแทนทางการเมืองในมิติวิถีประชาธิปไตยชุมชน

Published by sulai8444, 2019-08-15 08:47:43

Description: ตัวแทนทางการเมืองในมิติวิถีประชาธิปไตยชุมชน

Search

Read the Text Version

209วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา 12(1) ม.ค. - มิ.ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 ตัวแทนทางการเมืองในมิติวิถปี ระชาธิปไตยชุมชน Political Representation in Democratic Community Dimension ชยั วฒั น์ โยธ*ี Chaiwat Yotee* หลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา 133 ถนนเทศบาล 3 อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั ยะลา 95000 Department of Public Administration Faculty of Humanities and Social Sciences Yala Rajabhat University 133 Tesaban Road 3, Amphur Muang, Yala 95000 บทคัดยอ่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยในประเทศไทยมกี ารสรา้ งและจรรโลงประชาธปิ ไตย ไปในหลายทิศทาง เรื่องของตัวแทนทางการเมืองก็เป็นอีกมิติหนึ่งท่ีส�ำคัญส�ำหรับการพัฒนา ระบบการเมืองไทย บทความน้จี ึงเปน็ การน�ำเสนอถงึ มิติความส�ำคัญของตัวแทนทางการเมือง ท่สี ะท้อนมาจากฐานรากในชุมชนท้องถ่ิน โดยการสรรหาคัดเลอื กตัวแทนทางการเมืองเพือ่ เข้า สู่ระบบการเมืองท่ีมีความชอบธรรมตามระบอบประชาธิปไตย ซึ่งมิติดังกล่าวน้ีผู้เขียนเรียกว่า “มิติวิถีประชาธิปไตยชุมชน” ซ่ึงมิติวิถีประชาธิปไตยชุมชนนั้นจะเป็นการแสดงถึงการได้มา ซ่ึงตัวแทนทางการเมืองที่ถูกสร้างมาจากฐานล่างโดยประชาชน ท่ีเป็นการใช้กลไกและ กระบวนการของการมีส่วนร่วมในการปรึกษาหารือประสานกิจกรรมปฏิบัติการของกลุ่มร่วมกัน ในชมุ ชน ซงึ่ จะสง่ ผลให้ไดผ้ นู้ �ำตวั แทนทม่ี คี ณุ ภาพและมศี กั ยภาพพรอ้ มทจ่ี ะท�ำงาน เพอ่ื กจิ การ สาธารณะและสนองต่อหลกั การประชาธิปไตย ค�ำส�ำคญั : ตัวแทนทางการเมือง ประชาธิปไตยชุมชน ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม ปรึกษาหารอื *Corresponding Author. E-mail: [email protected] Political Representative ตัวแทนทางการเมอื ง

210 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา 12(1) ม.ค. - มิ.ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 Abstract Democracy in Thailand has been to create and sustain in many directions. The representatives of the political dimension is also important for the development of Thailand’s political system. This article is presented as an important dimension of political representation that reflects the political representative for recruitment, selection into the political system with democratic legitimacy. The dimensions of these authors called. “Dimension democratic community” dimension which democratic community that will reflect the acquisition of political representation that is built from the bottom. The mechanism and process of engaging in discussions with coordinating the activities of the group together in the community. As a result, the quality representation and the potential to work together to respond to public affairs and democratic principles. Keywords: Political representative, Community democracy, Deliberative democracy บทนำ� ประชาธิปไตยเป็นเคร่ืองมือในการปกครองท่ีมีปรากฏมาอย่างช้านาน ซึ่งมีจุดเร่ิม ในนครรฐั เอเธนสเ์ มอื่ ประมาณปี 508-507 กอ่ นครสิ ตกาล โดยประชาธปิ ไตยโบราณของเอเธนส์ มลี กั ษณะเปน็ ประชาธปิ ไตยทางตรง1 ทดี่ �ำ รงอยรู่ าวรอ้ ยกวา่ ปกี ถ็ งึ แกก่ ารลม่ สลายสนิ้ สดุ ลงหลงั จากพ่ายแพ้สงครามให้กับสปาร์ตา และตลอดระยะเวลาของการสิ้นสุดลงของประชาธิปไตย เอเธนสร์ าว 321 ปกี ่อนครสิ ตกาลก็ไมม่ รี ฐั ใด ๆ ใชร้ ะบอบประชาธิปไตยเป็นเคร่ืองมือในการ ปกครองแบบชัดเจนดังเช่นเอเธนส์อีก หากแต่ในระยะต่อมาก็ได้มีนักคิดหลายท่านอาทิ แฮริงตัน (James Harrington) หรือเพทที (William Petty) ทีล่ กุ ขน้ึ มาตคี วามถงึ ประชาธิปไตยด้วยนัย ทแ่ี ตกตา่ งกนั ซงึ่ นน่ั กเ็ ปน็ การปทู างไปสปู่ ระชาธปิ ไตยสมยั ใหม่ในรปู แบบของประชาธปิ ไตยแบบ ตัวแทน (ไชยันต์ ไชยพร, 2547) ประชาธปิ ไตยสมยั ใหมห่ รอื ประชาธปิ ไตยตวั แทน2 คอ่ ย ๆ ววิ ฒั นาการขน้ึ มาในประเทศ ตะวนั ตกพร้อม ๆ กับการเกดิ ขึน้ ของรัฐสมัยใหม่ ทม่ี แี นวคดิ ทีเ่ หน็ ดว้ ยกบั การเลือกตั้ง เพราะ 1ประชาธิปไตยทางตรงในเอเธนส์ เป็นการให้สิทธิทางตรงกับพลเมืองที่เป็นชายอายุตั้งแต่สิบแปดปีข้ึนไปเข้าไปร่วมประชุม ในสภาประชาชน เพื่อพจิ ารณาตัดสนิ กจิ การสาธารณะต่าง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง ซ่ึงในชว่ งศตวรรษท่สี ามก่อนครสิ ตกาลประชากร ผู้มีสถานะเป็นพลเมืองมีประมาณสามหม่ืนคน โดยผู้หญิง เด็ก คนต่างด้าว และทาส ไม่ได้สิทธิทางการเมืองในส่วนนี้ (ผู้สนใจอา่ นเพ่มิ เติมได้ในไชยันต์ ไชยพร, แนวคิดทางการเมืองและสังคม, 2557) 2ประชาธิปไตยแบบตัวแทน เป็นการคัดเลือกตัวแทนเข้าไปทำ�หน้าท่ีด้านต่าง ๆ แทนตน ซ่ึงเกิดข้ึนภายใต้บริบทของสังคม ท่ีมพี ัฒนาการทสี่ ลับซับซ้อนมากขน้ึ ท้งั ดา้ นสงั คมและเศรษฐกจิ รวมถึงประชากรท่มี ีจำ�นวนเพ่มิ มากข้ึน ตัวแทนทางการเมือง Political Representative

211วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา 12(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 การเลอื กตงั้ สามารถสอ่ื ไปถงึ สทิ ธิ เสรภี าพ และการเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งของประชาชน ไดด้ ว้ ยตนเอง และอกี ความส�ำ คญั ประการหนง่ึ ยงั มคี วามเชอื่ รว่ มกนั วา่ ภายใตก้ ระบวนการการ เลอื กตงั้ จะเปน็ การสรรหาคดั เลอื กผทู้ มี่ คี วามสามารถ หรอื เปน็ หนทางแหง่ การไดม้ าซงึ่ ตวั แทน ทางการปกครองท่ีเก่งและดีพร้อมเข้ามาบริหารกิจการของรัฐ และด้วยคุณลักษณะของ ประชาธิปไตยสมัยใหม่แบบตัวแทนจึงเป็นเสมือนคำ�ตอบของการปกครองในโลกเสรีที่ได้รับ ความนิยมสงู สดุ นับจากศตวรรษที่ 19 เปน็ ต้นมา ประเทศไทยก็เช่นเดียวกันที่ตอบรับกระแสประชาธิปไตยแบบตัวแทนและใช้เป็น เครอ่ื งมือในการปกครอง หากแต่ในการใช้ประชาธปิ ไตยในสงั คมการเมืองไทยยงั แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ปญั หาตลอดมา ซ่ึงเปน็ ผลให้การสร้างและจรรโลงประชาธปิ ไตยไทยเป็นไปในหลายทศิ ทาง เชน่ การแก้ไขรฐั ธรรมนญู การปรบั โครงสร้างของพรรคการเมอื ง รวมไปถงึ การใชร้ ฐั ประหาร เป็นทางออกทางการเมือง เมื่อพิจารณาถึงปัญหาของการสร้างและจรรโลงประชาธิปไตยไทย ต้องยอมรบั วา่ ปัญหาสำ�คญั ประการหนงึ่ คือ ปัญหาของตวั แทนทม่ี คี วามพยายามเขา้ สเู่ ส้นทาง ทางการเมืองโดยไม่คำ�นึงถึงกติกาหรือวิธีการที่ชอบธรรม โดยแสดงออกไปในทิศทางของการ โกงการเลอื กตงั้ หลากหลายวธิ ี อาทปิ รากฏการณข์ องรฐั บาลที่ไดร้ บั กระแสนยิ มทางการเมอื งสงู และช่วงชิงความได้เปรียบคู่แข่งโดยการยุบสภาเพ่ือเข้าสู่กระบวนการเลือกต้ังใหม่ท่ีมีเงื่อนไข เพอ่ื ตอ่ อายรุ ฐั บาล เปน็ ตน้ ซงึ่ ปญั หาดงั กลา่ วนบั ไดว้ า่ เปน็ สงิ่ บนั่ ทอนความมนั่ คงแขง็ แรงระบอบ ประชาธิปไตยไทยอยู่พอสมควร หากแต่เม่ือพิจารณาถึงเบ้ืองลึกต่อไปก็จะพบว่า การสร้าง ตัวแทนในระบบการเมืองไทยไม่ได้มีท่ีมาหรือถูกส่ังสมความม่ันคงแข็งแรงมาจากฐานรากหาก แตเ่ ป็นปรากฏการณข์ องนายทนุ ที่มลี ักษณะ มือใครยาว สาวได้สาวเอา คือท่มุ ซือ้ คะแนนเสียง โดยใชย้ ทุ ธวิธีตา่ ง ๆ นา ๆ ทอ่ี าจจะไม่ชอบธรรม โดยเปน็ ไปเพียงเพื่อให้ได้รบั ชยั ชนะจากการ เลอื กตัง้ เพื่อเปน็ ตัวแทนเขา้ สเู่ สน้ ทางทางการเมือง ท้งั นเ้ี รอ่ื งของตวั แทนทางการเมอื งจึงเปน็ เรอื่ งทส่ี �ำ คญั ทย่ี งั มคี วามไมเ่ พยี งพอตอ่ การพฒั นาส�ำ หรบั ระบบการเมอื งในระบอบประชาธปิ ไตยไทย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ มติ ขิ องการสรา้ งตวั แทนทมี่ งุ่ ใหค้ วามส�ำ คญั ไปทฐี่ านรากระดบั ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ดงั นนั้ บทความนจ้ี งึ เปน็ การน�ำ เสนอถงึ มติ คิ วามส�ำ คญั ของตวั แทนทางการเมอื งในระดบั ฐานรากทเ่ี ขา้ สรู่ ะบบการเมอื งดว้ ยกลไกการมสี ว่ นรว่ มและปรกึ ษาหารอื โดยกลา่ วไดว้ า่ เปน็ การ สร้างตัวแทนจากภาคประชาชนท่ีมีความชอบธรรม ด้วยมิติดังกล่าวนี้ผู้เขียนเรียกว่า มิติวิถี ประชาธปิ ไตยชุมชน ซึ่งมีกระบวนการในการคัดเลือกตวั แทนทางการเมืองทมี่ ีศักยภาพในการ เปน็ ผนู้ �ำ โดยใชก้ ลไกและกระบวนการของการมสี ว่ นรว่ มในการปรกึ ษาหารอื ประสานกบั กจิ กรรม ปฏบิ ตั กิ ารของกลมุ่ รว่ มกนั ในชมุ ชน ซง่ึ เปน็ การด�ำ เนนิ กจิ กรรมสาธารณะทต่ี อบสนองตอ่ วถิ ชี วี ติ และหลักการประชาธปิ ไตย ตวั แทนทางการเมือง Political Representative

212 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 12(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 บทบาทของประชาธิปไตยชุมชน ประชาธปิ ไตยชมุ ชนดจู ะเปน็ เรอื่ งใหมท่ ย่ี งั ไมค่ นุ้ หอู ยา่ งกวา้ งขวางนกั ในสงั คมการเมอื งไทย อันที่จริงหากย้อนมองไปถึงความหมายของประชาธิปไตยตามแนวคิดของ Dewey ที่ได้มีมุม มองประชาธิปไตยเป็น 2 ลักษณะคือ แบบการปกครอง และแบบวิถีชีวิต (Dewey, 2013) ก็อาจกล่าวได้ว่า ประชาธิปไตยชุมชนจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับหลักการทั้ง 2 ประการตาม แนวคดิ ของ Dewey อยพู่ อสมควร เพราะประชาธปิ ไตยชมุ ชนนน้ั จะมงุ่ เหตผุ ลของการปกครอง ไปทีก่ ารตอบสนองตอ่ วถิ ีชีวิต ซง่ึ ประชาธปิ ไตยชุมชนน้นั จะเปน็ การปกครองท่ีมงุ่ เนน้ ถึงวถิ ีการ ดำ�เนินชีวิตด้วยความเป็นปกติสุข เป็นวิถีของการดำ�เนินชีวิตโดยใช้เหตุผลตามหลักการใน ระบอบประชาธปิ ไตย เพอ่ื ให้คนในสังคมชุมชนอย่รู ่วมกันอยา่ งมีความสขุ โดยไม่มงุ่ เอามูลเหตุ แห่งความขัดแย้งมาเป็นอุปสรรคในการอยู่ร่วมกันของชุมชน ด้วยชุมชนจะสร้างกติกาหรือ กระบวนการบริหารจดั การความขัดแย้งด้วยตวั เอง ซ่งึ เป็นการสรรหาวธิ ีการตา่ ง ๆ มาพัฒนา สงั คมชมุ ชนเพอื่ ประโยชนข์ องสาธารณะโดยคนในชมุ ชน อนั เปน็ การใหป้ ระชาชนหนั หนา้ เขา้ หากนั ร่วมมือกัน ร่วมเรียนรู้ศักยภาพของบุคคลร่วมกันโดยใช้กิจกรรมกลุ่มในการพูดคุย เจรจา ถกแถลงอยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผล บนพน้ื ฐานของการเคารพในสทิ ธแิ ละความเสมอภาคซงึ่ กนั และกนั อย่างไรกต็ ามยังมนี กั ปฏบิ ัตกิ ารชมุ ชน3 ซ่ึงถอื เปน็ นักวิชาการกลุ่มเล็ก ๆ ท่ีได้พยายาม ใหน้ ิยามความหมายของประชาธปิ ไตยชมุ ชนในขอบเขตทแ่ี ตกต่างกันอาทิ สน รูปสงู (2553) อธบิ ายว่า ประชาธิปไตยชุมชนเป็นกระบวนการที่ให้ประชาชนทุกเพศ ทกุ วัย มาใช้สทิ ธริ ว่ มกัน ในการบอกปัญหาความต้องการของตนเอง เพ่ือนำ�ไปสู่การกำ�หนดนโยบายสาธารณะและ วางแผนการพฒั นาชมุ ชนในทกุ ดา้ นทต่ี อบสนองตอ่ ความตอ้ งการและแก้ไขปญั หาของชมุ ชนที่ มคี วามเปน็ ธรรม รวมทง้ั คนรว่ มกนั ปฏบิ ตั กิ ารตามแผนและตดิ ตามตรวจสอบการท�ำ งานรว่ มกนั ระหว่างทอ้ งที่ ทอ้ งถนิ่ และชมุ ชน รวมถงึ ชชั วาลย์ ทองดีเลิศ (2549) ก็ได้ใหค้ วามหมายของ ประชาธิปไตยชมุ ชนว่า เป็นกระบวนการจดั สรรผลประโยชนต์ า่ ง ๆ ในการอยู่ร่วมกันของกลมุ่ คนในชมุ ชนทอ้ งถิน่ มีการจดั แบง่ บทบาทอำ�นาจหนา้ ที่ มีการจดั สรรแบง่ ปนั กันอย่างเทา่ เทยี ม ยตุ ธิ รรม มวี ธิ ีการจัดการเพอ่ื ป้องกันหรือแก้ไขความขัดแย้ง ซงึ่ การจดั การในมิติตา่ ง ๆ เหล่าน้ี เปน็ การเมอื งตน้ แบบของชมุ ชน ซงึ่ ชมุ ชนมกี ารปรกึ ษาหารอื สรา้ งประชามติ หรอื มกี ระบวนการ สรรหาผนู้ �ำ ทช่ี มุ ชนพงึ ประสงค์ อกี ทงั้ ทศพล สมพงษ์ (2555) ไดน้ ยิ ามความหมายประชาธปิ ไตย ชุมชนไว้อย่างน่าสนใจว่า เป็นการใช้อำ�นาจของประชาชนโดยตรงแบบไม่ต้องผ่านตัวแทน แตเ่ ปน็ แบบมสี ่วนร่วม ประชาชนเปน็ ผรู้ ิเรม่ิ การกระท�ำ จากล่างระดับชุมชน โดยยึดหลกั การวา่ อำ�นาจของประชาชน มีอยู่ในตัวประชาชน และสามารถนำ�ออกมาใช้ได้โดยตรง ด้วยนิยาม 3นกั ปฏบิ ตั กิ ารชมุ ชน เปน็ บคุ คลหรอื แกนน�ำ ของชมุ ชนทที่ �ำ กจิ กรรมเพอ่ื การพฒั นาชมุ ชน หรอื กลา่ วอกี นยั หนง่ึ ไดว้ า่ เปน็ ผสู้ รรหา วธิ กี ารต่าง ๆ มาแก้ไขปัญหาเพ่อื พัฒนาสงั คมชมุ ชนเพ่ือให้คนอยรู่ ่วมกันอย่างมีความสุข ตวั แทนทางการเมือง Political Representative

213วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา 12(1) ม.ค. - มิ.ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 ประชาธิปไตยชุมชนดังกล่าวได้แสดงให้เห็นถึงการให้ความสำ�คัญกับสิทธิในวิถีของประชาชน โดยทางตรง หรือเป็นการแสดงให้เห็นถึงการขยายฐานประชาธิปไตยจากตัวแทนสู่ประชาชน โดยทางตรง กล่าวคอื ประชาธปิ ไตยชมุ ชนจงึ มีความพยายามทจี่ ะให้ประชาชนได้ใช้สทิ ธิของ ตนเองในการเสนอแนะ แสดงความคิดเห็น หรือจัดการชุมชนให้ตอบสนองต่อวิถีการดำ�เนิน ชวี ติ ไดด้ ว้ ยตวั เอง โดยใชห้ ลกั การส�ำ คญั ของการมสี ว่ นรว่ มและการปรกึ ษาหารอื ซง่ึ กระบวนการ ดังกล่าวน้ันถือเป็นการเมืองของชุมชนท่ีสะท้อนถึงการสร้างหน่ออ่อนของการค้นหาผู้นำ� การก�ำ หนดนโยบายสาธารณะ รวมถงึ การตรวจสอบการบรหิ ารกิจการสาธารณะซึ่งกันและกัน พน้ื ฐานตวั แทนทางการเมืองในมติ วิ ถิ ีประชาธิปไตยชมุ ชน : ประชาธิปไตยแบบมีสว่ นร่วม ในการปรึกษาหารือ หากแต่ตัวแทนทางการเมืองในมิติวิถีประชาธิปไตยชุมชนนั้นมีความแตกต่างกับ วิถีประชาธิปไตยตวั แบบตวั แทนอยพู่ อสมควร กลา่ วคือ ตวั แทนในมติ วิ ิถปี ระชาธปิ ไตยชุมชน อาจไมม่ คี วามจำ�เปน็ ที่จะต้องหาเสียงเพื่อหวงั ผลที่จะไดร้ ับคะแนนเสยี งสูง ๆ จากการเลอื กตัง้ เฉกเชน่ เดยี วกบั ตวั แทนทางการเมอื งในแบบประชาธปิ ไตยแบบตวั แทน หากแตเ่ ปน็ การมงุ่ ความ สำ�คัญไปท่ีการปฏิบัติการของกลุ่มกิจกรรม ท่ีมีการปฏิสัมพันธ์ต่อกันของบุคคลซึ่งคุณลักษณะ ดังกล่าวสามารถเรียนรู้ศักยภาพซ่ึงกันของแต่ละบุคคล กล่าวได้ว่า ในการอาศัยหลักการ ประชาธปิ ไตยแบบมสี ว่ นรว่ มในการปรกึ ษาหารอื นน้ั จะเนน้ ถงึ กจิ กรรมการรวมกลมุ่ เพอ่ื กอ่ ใหเ้ กดิ การพูดคุยเจรจาถกเถียงโดยใช้เหตุผลในการตัดสินใจ ซึ่งลักษณะดังกล่าวน้ี Gutmann & Thomson (อา้ งถงึ ในบฆู อรี ยหี มะ, 2551) ได้ให้ทศั นะวา่ การท่คี นในสังคมทกุ ฝา่ ยมโี อกาสมา ร่วมสนทนาทางการเมือง (Political dialogue) รว่ มอภิปรายสาธารณะ (Public discussion) หรือแลกเปล่ียนความเห็นสาธารณะอย่างมีอิสระในฐานะท่ีเป็นพลเมืองของสังคมหรือชุมชน อยา่ งเทา่ เทยี มกนั เพอ่ื ใหก้ จิ กรรมเปน็ เครอื่ งมอื หรอื กระบวนการในการสรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกนั เพอ่ื แสวงหาและก่อให้เกดิ มติรว่ มหรือเจตจำ�นงทางการเมือง (General will) ร่วมกันท่จี ำ�เป็น สำ�หรับนำ�ไปใช้ ในการตัดสินใจแก้ปัญหาทางการเมืองหรือเป็นกรอบสำ�หรับการพัฒนา เพ่ืออนาคตของชุมชนและสังคม ซ่ึงหลักการพ้ืนฐานของประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมในการ ปรกึ ษาหารือ ตามที่ Gutmann & Thomson (อ้างถึงในบฆู อรี ยหี มะ, 2551) ได้กล่าวน้นั จะ เปน็ การเปดิ พนื้ ทท่ี างการเมอื ง โดยการใหป้ ระชาชนไดร้ ว่ มคดิ ตดั สนิ ใจและเรยี นรู้ไปพรอ้ ม ๆ กนั อีกท้ังเป็นการเปิดโอกาสให้แต่ละบุคคลได้แสดงศักยภาพของตนผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม ในกิจกรรมกลมุ่ ร่วมกนั กลา่ วไดว้ า่ ในการเปดิ พนื้ ทท่ี างการเมอื ง โดยการเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนไดร้ ว่ มคดิ รว่ ม เรียนรแู้ ละรว่ มปฏิบตั ผิ ่านกลไกการมสี ว่ นรว่ มในการปรกึ ษาหารือน้ัน โดยธรรมชาตแิ ลว้ จะเปน็ จดุ รเิ รม่ิ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การปฏสิ มั พนั ธก์ นั ของบคุ คลอนั จะน�ำ พาไปสกู่ ารแกป้ ญั หาทส่ี นองตอ่ วถิ ชี วี ติ ตวั แทนทางการเมอื ง Political Representative

214 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา 12(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 และส่งเสรมิ ความสามคั คีในหมคู่ ณะหรือสังคมชุมชน กล่าวคือ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มปรึกษา หารือแบบเรียนรู้รว่ มกันจะมีคุณลกั ษณะของการปฏิสัมพนั ธ์ต่อกนั โดยการเจรจาถกเถียงทีเ่ ป็น เหตุเป็นผลในแบบของการเผชิญหน้าของกลุ่มผู้สนทนา ซ่ึงคุณูปการของกระบวนการปรึกษา หารือแบบเผชิญหน้าน้ันจะทำ�ให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็นของตนได้อย่างมีอิสรภาพ ตราบ เท่าที่อยู่บนเน้ือหาประเด็นและหลักการที่กลุ่มกำ�หนด ซึ่งจะส่งผลให้สมาชิกของกลุ่มผู้ร่วม สนทนาเกิดความเข้าอกเข้าใจถึงประเด็นปัญหาของกันและกันได้อย่างถ่องแท้ หากแต่ความ สำ�คัญของกระบวนการปรึกษาหารือถกเถียงมิได้อยู่ท่ีการหาข้อสรุปเพ่ือแก้ปัญหาของชุมชน เพียงอยา่ งเดียว แตจ่ ากกระบวนการยงั สามารถค้นหาศักยภาพของบคุ คลด้วยอกี ประการหนึ่ง กล่าวคือตลอดระยะเวลาของการเจรจาปรึกษาหารือถกเถียงสมาชิกทุกคนจะเห็นถึงความ สามารถของบุคคลในด้านตา่ ง ๆ อาทิ วฒุ ภิ าวะทางอารมณแ์ ละการถ่ายทอดพลงั ความคดิ ใน เชิงความเปน็ เหตุเปน็ ผลจากการสนทนา ดงั นน้ั คุณค่าดงั กล่าว จะเป็นการสร้างความรูส้ ึกและ การยอมรับในตัวบุคคลที่มีคุณสมบัติอันสมควรแก่การเป็นผู้นำ�ตัวแทนอย่างสำ�คัญอีกด้วย ประการถัดมายังสามารถเป็นแห่งที่ของการหลอมรวมจิตใจหมู่เหล่าสมาชิกเพื่อนำ�ไปสู่ความ สามคั คแี ละการพง่ึ พาอาศยั กนั มากขนึ้ ทงั้ นเ้ี พราะเมอ่ื กจิ กรรมกระบวนการด�ำ เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอื่ งสม�ำ่ เสมอกจ็ ะเปน็ การหลอ่ หลอมใหท้ กุ คนเกดิ ส�ำ นกึ ความรสู้ กึ ผกู พนั เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั กบั กล่มุ ก็จะเกิดเป็นความรสู้ ึกร่วมกันเสมอื นญาติมิตรทสี่ ามารถเจรจาตกลงกันได้ ปฏิบัติการการมีส่วนร่วมปรึกษาหารือเพื่อค้นหาศักยภาพตัวแทนในมิติวิถีประชาธิปไตย ชุมชน ปฏิบัติการกลุ่ม4 เป็นเงื่อนไขสำ�คัญในการค้นหาศักยภาพผู้นำ�ตัวแทน กล่าวคือในมิติ วิถีประชาธิปไตยชุมชนการท่ีทำ�ให้คนเข้ามามีส่วนร่วมในกลุ่มเพื่อทำ�การปรึกษาหารือน้ันเป็น ความสำ�คัญในลำ�ดับต้นที่สมาชิกของกลุ่มจะต้องเกิดจากความสนใจในเรื่องประเด็นน้ัน ๆ จึงจะทำ�ให้ความสัมพันธ์ในการเจรจาถกเถียงอย่างเป็นเหตุเป็นผลของกลุ่มดำ�รงอยู่ได้ ทั้งน้ี ในมิติของชุมชนท้องถิ่นหากพิจารณาจากวิถีการดำ�รงชีวิตและการประกอบอาชีพจะเห็นได้ถึง ปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดกิจกรรมกลุ่มได้โดยง่ายและอาจเกิดขึ้นได้มากมายหลายกลุ่ม ซ่ึงกลุ่ม เหลา่ นหี้ ากเกดิ ขน้ึ จากความสนใจและดว้ ยความเตม็ ใจกจ็ ะเปน็ กระบวนการส�ำ คญั ในการคน้ หา ศักยภาพผู้นำ�ตัวแทนและเป็นการเสริมสร้างรากฐานการเมืองชุมชนให้มีความม่ันคงแข็งแรง ย่ิงข้ึนไป ท้ังนี้เพ่ือความเข้าใจในกระบวนการของปฏิบัติการเพื่อค้นหาตัวแทนที่มีศักยภาพ สามารถแสดงให้เห็นได้ตามแผนภาพท่ี 1 4คือกล่มุ ตา่ ง ๆ ในชมุ ชน เช่น กลมุ่ สตรี กลมุ่ เลยี้ งโค กลมุ่ น้�ำ พริกสมุนไพร เป็นตน้ ซง่ึ กลมุ่ ต่าง ๆ เหลา่ นจี้ ะมีปฏสิ ัมพนั ธต์ อ่ กนั อยา่ งสม�่ำ เสมอ โดยการประชมุ หรอื ท�ำ กจิ กรรมรว่ มกนั ซงึ่ ท�ำ ใหเ้ กดิ การเรยี นรถู้ งึ ศกั ยภาพบคุ คลหรอื ลกั ษณะ นสิ ยั ของแตล่ ะบคุ คล ตวั แทนทางการเมือง Political Representative

215วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 12(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 ทอ้ งถิน่ ตวั แทนทางการเมืองท่เี ข้าสสู่ ถาบนั ทางการเมือง (การเลือกตัง้ ) เวทีกลางระดบั ชมุ ชน กลุม่ กลมุ่ กลมุ่ กลุ่ม กลมุ่ ออมทรพั ย์ อาหาร นาขา้ ว เลี้ยงโค สุขภาพ การมสี ว่ นรว่ มในการปรึกษาหารือ ภาพที่ 1 ปฏบิ ตั กิ ารคัดเลือกตัวแทนท่ีมีศกั ยภาพตามมิติวถิ ปี ระชาธปิ ไตยชมุ ชน ท่ีมา : ชยั วฒั น์ โยธี (2558) จากการวิเคราะห์ จากแผนภาพแสดงให้เห็นถึงการคัดเลือกตัวแทนที่มีฐานมาจากการมีส่วนร่วมในการ ปรึกษาหารอื ของกลุม่ ตา่ ง ๆ ในชมุ ชนท้องถนิ่ ซง่ึ กลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนอาจมขี นาดหรือจำ�นวน สมาชิกท่ีแตกต่างกัน แต่ความสำ�คัญมุ่งไปท่ีความสนใจ ความถนัดหรือการตอบสนองต่อวิถี ชีวิตในกลุ่มที่สังกัด ทั้งน้ีกลุ่มกิจกรรมปฏิบัติการแต่ละกลุ่มไม่จำ�เป็นต้องมีระเบียบแบบแผนท่ี เหมือนกนั สดุ แล้วแตว่ า่ สมาชิกของกลมุ่ จะบริหารจดั การกลุ่ม เลือกผูน้ �ำ กลุม่ รวมถงึ การวาง นโยบายของกลุ่มอย่างไร ซ่ึงกระบวนการดังกล่าวจะอยู่บนพ้ืนฐานของการมีส่วนร่วมในการ ปรึกษาหารอื อย่างมีเหตผุ ล ดังนนั้ กระบวนการกลุม่ ในช้นั ลา่ งสุดจึงเปน็ การฝกึ ฝนใหป้ ระชาชน เกดิ ทักษะในการใชเ้ หตุผลถกเถียงเรยี นรู้ซึง่ กนั ทั้งนเ้ี ม่อื กระบวนการดังกล่าวด�ำ เนินการอยา่ ง สม่ำ�เสมอผู้นำ�ตัวแทนกลุ่มท่ีมีความรู้ความสามารถจะเกิดข้ึนและถูกส่งสู่เวทีกลางซึ่งเป็น กล่มุ ใหญก่ ว่าคือ เวทกี ลางระดบั ชุมชน เวทีกลางระดับชุมชนจะเป็นเวทีทางการเมืองชุมชนท่ีจะสะท้อนถึงการกระจายผล ประโยชนข์ องชมุ ชนสกู่ ลมุ่ ตา่ ง ๆ ทวั่ ทง้ั ชมุ ชน ทงั้ นเ้ี วทกี ลางยงั เปน็ เวทศี นู ยร์ วมของผนู้ �ำ ตวั แทน ท่ีมีคุณภาพท่ีถูกส่งมาจากกลุ่มย่อย ในเวทีกลางน้ีจะเป็นการปรึกษาหารือถึงผลประโยชน์ ของชมุ ชน เป็นการรเิ รมิ่ นโยบายสาธารณะเพ่ือการจัดการชุมชน ทั้งน้ีเวทีกลางดงั กล่าวจะเป็น การจัดตั้งอย่างไม่เป็นทางการหรือจะจัดต้ังแบบเป็นทางการในรูปแบบที่ภาครัฐสนับสนุน เช่น รูปของสภาองค์กรชุมชนหรือสภาพลเมืองก็ได้ สุดแล้วแต่สมาชิกจะปรึกษาหารือตกลงกันว่า อยากจะให้เป็นไปในรูปแบบใด หากแต่ในมิติของการคัดเลือกตัวแทนเวทีน้ีจะมีนัยท่ีส่งผล ต่อการเลือกตั้งในเชิงสถาบันทางการเมืองคือ จะเป็นการเรียนรู้ศักยภาพบุคคลขั้นสูงที่ส่งผล ตวั แทนทางการเมอื ง Political Representative

216 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา 12(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 ถงึ การสรรหาคัดเลอื กผูน้ �ำ ตัวแทนที่มคี ุณสมบัตเิ หมาะสมท่สี ดุ เพ่ือเข้าสู่สนามการเลอื กต้ังอาทิ เชน่ การเลอื กก�ำ นนั การเลอื กผู้ใหญบ่ า้ น การเลอื กสมาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บล และ การเลือกนายกองค์การบรหิ ารส่วนตำ�บล เป็นต้น คร้ันเมื่อกระบวนการค้นหาผู้นำ�ตัวแทนท่ีได้มาซึ่งตัวแทนท่ีมีศักยภาพและคุณภาพ ท่ีเข้าไปบริหารกิจการของท้องถิ่น5 แล้วกระบวนการของกลุ่มต่าง ๆ ที่มีกลไกพื้นฐานจากการ มีส่วนร่วมในการปรึกษาหารือก็ยังคงอยู่และขับเคล่ือนสร้างสรรค์ผู้นำ�ตัวแทนในรุ่นใหม่ต่อไป เป็นพลวัต ข้อจ�ำ กัดในความเป็นไปได้ของการมีส่วนรว่ มในการปรึกษาหารอื ถกเถียง ทง้ั นสี้ งั คมการเมอื งไทยอาจมขี อ้ สงสยั ถงึ ความเปน็ ไปได้ในประเดน็ ของการมสี ว่ นรว่ ม ปรึกษาหารือในการถกเถียงโดยใช้วิจารณญาณและความเป็นเหตุเป็นผลตามที่ผู้เขียนเสนอ ซงึ่ จากขอ้ สงสยั ตรงจดุ นจ้ี �ำ เปน็ ตอ้ งหาขอ้ ยตุ ดิ ว้ ยการพจิ ารณาถงึ ความจ�ำ เปน็ ในหลกั เกณฑห์ รอื เงื่อนไขบางประการที่สามารถทำ�ให้การมีส่วนร่วมในการปรึกษาหารือมีความเป็นไปได้ ดังน้ัน ผเู้ ขยี นจงึ ขอน�ำ เสนอแนวคดิ ของ Cohen (อา้ งถงึ ในไชยนั ต์ ไชยพร, 2554) ที่ไดก้ ลา่ วถงึ สาระ สำ�คัญท่ีเป็นรากฐานอันชอบธรรมของการถกเถียงท่ีทำ�ให้ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมในการ ปรกึ ษาหารอื (Deliberative democracy) ประสบผลส�ำ เร็จ คอื 1. ความเป็นอิสระ คือ ผูเ้ ข้า รว่ มจะตอ้ งยอมรบั ผลและเงอื่ นไขทก่ี �ำ หนดไว้ในกระบวนการปรกึ ษาหารอื เทา่ นน้ั และผเู้ ขา้ รว่ ม ตอ้ งเปน็ อสิ ระจากบรรทัดฐานหรอื ขอ้ เรียกรอ้ งที่มมี าก่อน และผู้เขา้ รว่ มจะตอ้ งคดิ วา่ พวกเขา สามารถทำ�ในสิ่งท่ีเป็นผลของการตัดสินใจได้ น่ันคือ กระบวนการปรึกษาหารือต้องเป็นการ ปรึกษาหารือที่มีเหตุผลเพียงพอที่จะปฏิบัติตามที่ตกลงกันได้ ทั้งนี้ฝ่ายต่าง ๆ ที่เข้าร่วม กระบวนการปรึกษาหารือจะต้องแสดงเหตุผลต่าง ๆ ของข้อเสนอ และในการรับหรือปฏิเสธ ข้อเสนอ จะตอ้ งกระทำ�บนพนื้ ฐานของเหตผุ ลทีว่ า่ ไว้ ตามเน้อื หาของการปรึกษาหารือ 2. ความ เสมอภาคของผเู้ ข้ารว่ ม คือเสมอภาคในทางรปู แบบ : ทุกคนสามารถนำ�เสนอขอ้ เสนอ วิจารณ์ และสนับสนุนมาตรการต่าง ๆ ได้ โดยไม่มีเร่ืองอาวุโสใด ๆ และเสมอภาคในทางเนื้อหา : ผู้เขา้ ร่วมจะไม่ตอ้ งถกู จำ�กัดหรือผูกพันโดยการจดั สรรอำ�นาจ ทรัพยากร หรือบรรทัดฐานทด่ี �ำ รง อยู่ก่อน ผเู้ ขา้ ร่วมจะตอ้ งไมผ่ ูกมัดโดยระบบของสิทธทิ ีด่ �ำ รงอยู่ ยกเวน้ วา่ ระบบน้ันเป็นระบบท่ี จัดต้ังกรอบการปรึกษาหารือที่เสรแี ละเท่าเทยี มกัน จากท่ี Cohen (อ้างถึงในไชยันต์ ไชยพร, 2554) เสนอถึงรากฐานอนั ชอบธรรมของ การถกเถยี งเปน็ ค�ำ ตอบทส่ี �ำ คญั ทที่ �ำ ใหก้ ารมสี ว่ นรว่ มในการปรกึ ษาหารอื เปน็ ผลในทศิ ทางทเ่ี ปน็ 5ทอ้ งถนิ่ ในทน่ี ้ี หมายถงึ สถาบนั ทางการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ คอื องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บล หรอื เทศบาล ซงึ่ กลา่ วไดว้ า่ สถาบนั ทางการปกครองท่เี ป็นฐานรากและใกลช้ ิดประชาชนมากที่สดุ ตัวแทนทางการเมือง Political Representative

217วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 12(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 ไปได้ ทงั้ นเ้ี มอื่ กลบั มาพจิ ารณาถงึ บรบิ ทชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ของไทยจะพบถงึ ความเปน็ ไปได้ในการใช้ กลไกการมสี ว่ นรว่ มในการปรกึ ษาหารอื เพราะชมุ ชนทอ้ งถนิ่ จะมแี รงยดึ เหนย่ี วทางสงั คมเฉพาะ อาทเิ ช่น ความเป็นพนี่ ้องในทางสายเลือดซ่ึงเปน็ ปจั จยั เอือ้ ในประเด็นของเนอ้ื หาทจ่ี ะตกลงกนั ได้ และในมติ ขิ องการด�ำ เนนิ ชวี ติ ในการประกอบอาชพี ทช่ี มุ ชนประกอบอาชพี ในลกั ษณะไมแ่ ตก ตา่ งกนั ท�ำ ใหค้ นมคี วามรู้ในเรอื่ งนนั้ ๆ อนั เปน็ มลู เหตขุ ององคค์ วามรทู้ ที่ ดั เทยี มกนั และสามารถ จะสนทนาปรึกษาหารือกันได้ ความส�ำ เรจ็ จากประสบการณ์ชมุ ชน : ชุมชนควนรู อำ�เภอรตั ภูมิ จงั หวดั สงขลา ชมุ ชนควนรเู ปน็ ชมุ ชนเลก็ ๆ มปี ระชากรราวหกพนั กวา่ คน ซงึ่ สว่ นใหญม่ คี วามสมั พนั ธ์ เปน็ พน่ี อ้ งกนั และเคยไดร้ บั การขนานนามวา่ เปน็ ชมุ ชนทจ่ี นทส่ี ดุ ในจงั หวดั สงขลา นอกจากความ ยากจนแลว้ ชมุ ชนควนรยู งั ประสบปญั หาชมุ ชนแตกแยกอยา่ งหนกั เนอื่ งจากการสรรหาตวั แทน ทางการเมืองโดยใช้วิธีการเลือกตั้ง ครั้งเมื่อราวปี พ.ศ. 2531 ท่ีมีการเลือกต้ังกำ�นัน โดยมี ผสู้ มคั รลงแขง่ ขนั กนั สองฝา่ ย ซง่ึ เปน็ เครอื ญาตทิ เ่ี คยมคี วามรกั และพงึ่ พาอาศยั ซงึ่ กนั ตลอดมา แต่พอด้วยต้องลงแข่งขันกันในเส้นทางการเมืองทั้งคู่กลับต้องต่อสู้กันอย่างดุเดือด จนทำ�ให้ ชมุ ชนทเี่ คยสงบสขุ ตอ้ งรา้ วฉานมกี ารแบง่ ขา้ งเปน็ 2 ฝา่ ยและเกดิ ความขดั แยง้ กนั อยา่ งชดั เจน หากแต่ด้วยพ้ืนฐานของชุมชนที่มีแรงยึดเหน่ียวทางสังคมตามวิถีชนบทมีนักจัดการทางสังคม กลุ่มเลก็ ๆ เพยี ง 4-5 คน ไดท้ บทวนปัญหาที่เกิดขน้ึ และรเิ รม่ิ แนวทางในการแก้ปัญหาโดยการ ประสานรวบรวมกลมุ่ สมาชกิ โดยการจดั ตง้ั กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ เปน็ ทนุ ในการแก้ไขปญั หา กลา่ ว คือ ในตอนแรกสมาชกิ ผเู้ หน็ ดว้ ยกับแนวความคิดก็มจี ำ�นวนไมม่ าก จะมกี แ็ ต่พรรคพวกเพือ่ น สนทิ ที่มีแนวคิดไปในทิศทางเดียวกันคือ อยากรักษาอาการปว่ ยของสังคมบ้านเกดิ เทา่ น้ัน หากแต่การรวมกลมุ่ ออมทรัพยส์ ามารถจุดประกายเปน็ แรงดงึ ดดู สมาชกิ ของชมุ ชนได้ เมอื่ เหน็ ผลประจักษค์ รัง้ ไดเ้ งินปันผลในตอนปลายปี จงึ ทำ�ให้คนสนใจรวมกล่มุ และทำ�กจิ กรรม อย่างต่อเน่ือง และกลุ่มออมทรัพย์ก็มีสมาชิกเพ่ิมมากข้ึนเป็นลำ�ดับ คร้ันเม่ือสมาชิกกลุ่มเพ่ิม มากขึ้นการได้พบปะสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของสมาชิกในชุมชนก็เพิ่มมากขึ้นเช่น เดยี วกนั ทงั้ นจ้ี ากการทผี่ เู้ ขยี นไดพ้ ดู คยุ กบั ตวั แทนนกั จดั การทางสงั คมทเี่ ปน็ กลมุ่ ตน้ คดิ ไดก้ ลา่ ววา่ “ในตอนแรกพวกเราไมไ่ ดค้ าดหวงั อะไรมากเพยี งแคอ่ ยากใหค้ นมาเจอกนั ขอใหค้ นได้ มาคยุ กนั เท่านนั้ แต่ผลส�ำ เร็จมนั เกินคาด จากวนั ท่เี ริ่มต้นราวปี พ.ศ. 2535 ตลอดระยะเวลา ของการพฒั นาจนถงึ ปจั จบุ นั เรามกี ลมุ่ ออมทรพั ยท์ กุ หมบู่ า้ น ซง่ึ บางหมบู่ า้ นประชาชนเปน็ สมาชกิ กันร้อยเปอร์เซน็ ต์ ซง่ึ วนั น้ีเรามีเงนิ รวมกันของกลุ่มออมทรัพยซ์ ึง่ เปน็ ของชมุ ชนราว 400 กวา่ ลา้ น ซ่ึงถอื วา่ เปน็ ต้นทนุ ในการพฒั นาชมุ ชนของเราท่ีสำ�คญั โดยการบริหารจดั การแตล่ ะกล่มุ ก็ จะเลอื กผนู้ �ำ กนั เอง ตกลงแนวทางการบรหิ ารจดั การกนั เอง โดยแตล่ ะกลมุ่ จะนดั หมายประชมุ กนั ตัวแทนทางการเมอื ง Political Representative

218 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา 12(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 อย่างสม่ำ�เสมอเพื่อตกลงในวิธีการบริหารจัดการของกลุ่มพร้อมทั้งตรวจสอบการทำ�งานของ คณะท�ำ งานประจ�ำ กลมุ่ ท่ีมาจากการเลอื กตั้งกนั เองดว้ ย (สมนกึ หนเู งิน, 2558) อันทจ่ี ริงกลุม่ ออมทรพั ยข์ องชมุ ชนควนรเู ปน็ เพยี งหนง่ึ กลมุ่ พนื้ ฐานของชมุ ชนทผ่ี เู้ ขยี นหยบิ ยกมาเปน็ ตวั อยา่ ง ในเบือ้ งตน้ เท่านัน้ ควนรูยงั มกี ลุ่มสมาชกิ ย่อยอนื่ ๆ อกี ราว 101 เช่น กลุ่มโคขนุ กลมุ่ น้ำ�พรกิ สมุนไพร กลุ่มขนมจีน กลมุ่ นาข้าว เปน็ ตน้ ซ่ึงในการรวมตัวไดพ้ ัฒนาเป็นเครือข่ายของชุมชน ทม่ี คี วามเขม้ แขง็ อาทิ เครอื ขา่ ยธนาคารอาหารชมุ ชน เครอื ขา่ ยธนาคารขา้ ว และกลมุ่ ออมทรพั ย์ กพ็ ฒั นาเปน็ องคก์ รการเงนิ ชมุ ชน ซง่ึ แตล่ ะกลมุ่ เครอื ขา่ ยลว้ นแลว้ แตม่ ผี นู้ �ำ ตวั แทนทม่ี ศี กั ยภาพ ท่ีมาจากการเลือกตั้งกันเองของประชาชน ท้ังน้ีกล่าวได้ว่า กระบวนการที่ดำ�เนินการนั้นเป็น พน้ื ฐานทพี่ ฒั นาจากฐานของการมสี ว่ นรว่ มในการปรกึ ษาหารอื และเจรจาถกเถยี งโดยใชเ้ หตผุ ล เป็นลำ�ดับ และในการพฒั นาเปน็ ลำ�ดบั ท่กี ลา่ วมาน้ีจะเปน็ การพัฒนาจากชัน้ ย่อยในกลุ่มเลก็ ๆ และสรรหาคัดเลือกผู้นำ�ตัวแทนที่มีคุณภาพต่อยอดไปเป็นลำ�ดับในลักษณะของกลุ่มย่อย เครือข่าย และสถาบัน โดยผู้นำ�ตัวแทนแต่ละช่วงลำ�ดับเหล่าน้ีพร้อมเป็นตัวเลือกที่จะถูกส่ง เข้าไปสเู่ ส้นทางการเมืองในสนามเลือกตง้ั ในเชงิ สถาบนั ของชุมชน6 สว่ นอน่ื ๆ ต่อไป ในมิติการคัดเลือกตัวแทนทางการเมืองของชุมชนควนรูท่ีกล่าวมาเป็นมิติท่ีสะท้อนถึง วถิ ีของประชาธปิ ไตยชุมชนคือ การปกครองทีต่ อบสนองต่อวิถชี ีวติ ซึง่ ลกั ษณะสำ�คัญดงั กลา่ ว น้ันสามารถแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของชุมชนได้อย่างเด็ดขาดด้วยการใช้ฐานคิดของการมี ส่วนร่วมในการปรกึ ษาหารือในปฏบิ ตั ิการกลุม่ ท่ีแสดงเป็นผลลัพธ์ได้ กล่าวคือ ประชาชนได้ถกู ฝกึ ใหเ้ กดิ ทกั ษะในการยอมรบั เหตผุ ลจากการเจรจาถกเถยี งในกลมุ่ ระดบั ตน้ ซงึ่ กจ็ ะเกดิ ตวั แทน ที่มีคุณภาพที่เข้าสู่เวทีกลางในการถกเถียงซำ้�จนเกิดผู้นำ�ท่ีมีศักยภาพพร้อมท่ีจะทำ�งาน ดังนั้น กระบวนการเลือกตั้งจึงเป็นเพียงกระบวนการให้ประชาชนช่วยตัดสินใจเลือกผู้นำ�ตัวแทนท่ีมี ศกั ยภาพครง้ั สุดทา้ ย ซ่งึ ในสนามเลือกตั้งอาจจะมีมากกว่า 1 คน แตก่ ็เป็นบคุ คลทีม่ ศี กั ยภาพ ทีถ่ กู คดั เลือกจากกลุ่มมาแล้วท้ังส้ิน การเลือกจงึ เป็นเพียงพิธีการให้ประชาชนชว่ ยตัดสนิ คนที่ ไมไ่ ดร้ บั การเลือกกก็ ลับมาทำ�งานในเวทกี ลางของชุมชน7 เพือ่ พสิ ูจนต์ นเองต่อไป ดงั นนั้ การเลอื กตงั้ ทกุ ระดบั ของชมุ ชนควนรใู นปจั จบุ นั จงึ ไมม่ คี วามขดั แยง้ เปน็ การเมอื ง แบบสมานฉันท์ท่ีมีบรรยากาศของผู้สมัครเดินหาเสียงร่วมกันเพ่ือให้พี่น้องช่วยตัดสิน การ ปราศรัยก็ปราสัยดว้ ยกันโดยไมม่ กี ารโจมตีวา่ รา้ ยอกี ฝ่าย หรอื การเลอื กตง้ั ในบางคร้ัง เช่น การ เลอื กสมาชกิ สภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บลบางหมบู่ า้ นก็ไมม่ คี แู่ ขง่ เพราะประชาชนไดเ้ ลอื กผนู้ �ำ ตัวแทนท่ีเป็นผู้นำ�กลุ่มที่ทำ�กิจกรรมท่ีเห็นผลงานกันอย่างประจักษ์ชัดไว้ก่อนอยู่แล้ว ขณะ เดียวกันประชาชนคนอื่นซึ่งเป็นผู้ท่ีไม่ได้สังกัดกลุ่มหนึ่งกลุ่มใดในชุมชนก็ไม่ได้ถูกปิดก้ันสิทธิ 6สนามเลอื กตง้ั เชงิ สถาบนั ของชมุ ชน ไดแ้ ก่ การเลอื กตงั้ นายกอบต. การเลอื กสมาชกิ อบต. การเลอื กก�ำ นนั การเลอื กผู้ใหญบ่ า้ น 7เวทีกลางของชมุ ชนคอื เวทีในการทำ�งานในเครือขา่ ยต่าง ๆ ของชุมชน ตัวแทนทางการเมอื ง Political Representative

219วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั ยะลา 12(1) ม.ค. - มิ.ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 ทางการเมืองในการลงสมัครเป็นตัวแทน กล่าวคือก็ยังคงสามารถลงสมัครรับเลือกต้ังได้ตาม กระบวนการ หากแตค่ วามเปน็ จรงิ ในทางปฏบิ ตั ิ ผลจากการปฏสิ มั พนั ธข์ องกระบวนการกลมุ่ จะ สง่ ผลใหท้ กุ คนรจู้ กั คนุ้ เคยซงึ่ กนั และเหน็ ถงึ ศกั ยภาพของกนั และกนั แลว้ วา่ แตล่ ะคนมคี วามเสยี สละเพ่ือชุมชนขนาดไหน ดังน้ันหากผู้สมัครเข้าเป็นตัวแทนท่านใดท่ีไม่เคยทำ�งานเพ่ือชุมชน เลยก็จะไม่ได้รับการยอมรับจากคนในชุมชนหรือถูกคัดค้านจากญาติพ่ีน้องไม่ให้ลงรับสมัครไป โดยปรยิ าย8 สรุป จากที่ได้กล่าวมา แสดงให้เห็นถึงความสำ�คัญของตัวแทนทางการเมืองในมิติวิถี ประชาธิปไตยชุมชน ที่กล่าวได้ว่ามิติวิถีประชาธิปไตยชุมชนนั้นเป็นประชาธิปไตยที่สามารถ ตอบสนองต่อวิถีชีวิตของประชาชน ซ่ึงมิติตรงจุดน้ีแสดงให้เห็นได้โดยการท่ีข้อเสนอต่าง ๆ ที่เป็นความต้องการของประชาชนในชุมชนจะถูกรวบรวมไว้ท่ีเวทีกลางของชุมชนผ่านตัวแทน กล่มุ ต่าง ๆ ทม่ี ศี กั ยภาพพรอ้ มท่จี ะปรกึ ษาหารอื ถกเถยี งในเชงิ เหตุผลและนำ�เรอื่ งราวส�ำ คัญท่ี เปน็ เหตุควรแก่การพัฒนาเพอ่ื เสนอตอ่ สถาบนั ทางการเมอื งทอ้ งถิ่น (อาทิ อบต.) เพ่ือผลักดัน เปน็ นโยบายสาธารณะเพอื่ ชมุ ชน ซงึ่ ความส�ำ คญั ตรงจดุ นแ้ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความแตกตา่ งของมติ ิ วิถีประชาธิปไตยชุมชนอันตอบสนองต่อวิถีชีวิตกับแนวคิดประชาธิปไตยแบบตัวแทนท่ัวไปท่ีมี ภาพของการใช้วิธีการท่ีไม่เป็นธรรมเพียงเพ่ือหวังผลให้ชนะในการเลือกต้ัง เม่ือเข้ามาเป็น ตวั แทนแลว้ กจ็ ะเปน็ ไปในลกั ษณะของการไมร่ คู้ วามตอ้ งการของประชาชนทต่ี รงจดุ เพราะไมเ่ คย มีการปฏิสัมพันธ์ในเชงิ ลกึ หรือไม่เคยมกี ารท�ำ งานร่วมกนั หรืออาจเป็นไปในรูปของการถอนทนุ โดยการออกนโยบายทเ่ี ออ้ื ประโยชนก์ บั ตนเองและพวกพอ้ ง หากแตต่ วั แทนทางการเมอื งในมติ ิ วถิ ปี ระชาธปิ ไตยชมุ ชนนจี้ ะเปน็ ผทู้ เ่ี ขา้ อกเขา้ ใจในปญั หาของชมุ ชน อกี ทงั้ ยงั เปน็ การสะทอ้ นถงึ การค้านอำ�นาจระหว่างฝ่ายบริหารกับฝ่ายนิติบัญญัติตามโครงสร้างการบริหารของสถาบันอีก ด้วย เพราะตัวแทนทกุ คนท่ีไดร้ บั เลอื กเข้าสูเ่ วทีการปกครองของสถาบนั การปกครองท้องถน่ิ ก็ เป็นตัวแทนกลุ่มท่ีต้องการเสนอประโยชน์เพื่อกลุ่มตนเองหากแต่ด้วยกระบวนการของการ ประชุมพิจารณาตามกระบวนการก็จะเอื้อประโยชน์ต่อกลุ่มหนึ่งกลุ่มใดเพียงกลุ่มเดียวมิได้ ดังน้ันกระบวนการของมิติวิถีประชาธิปไตยชุมชนนั้นจึงเป็นการก่อเสริมฐานรากทางการเมือง โดยภาคประชาชน อนง่ึ ความส�ำ คญั ของตวั แทนทางการเมอื งในมติ วิ ถิ ปี ระชาธปิ ไตยชมุ ชนทมี่ าจากฐานคดิ ของการใชก้ ลไกการมสี ว่ นรว่ มในการปรกึ ษาหารอื โดยใชก้ ารถกเถยี งอยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผลและ เรียนรู้ร่วมกนั จะเปน็ การเพิม่ พูนพฒั นาให้ทรัพยากรมนษุ ย์ในชุมชนมีศกั ยภาพและเสรมิ สร้าง 8เร่ืองชุมชนควนรู ผู้สนใจสามารถอ่านเพิ่มเติมได้ใน ชัยวัฒน์ โยธี (2558) การสร้างและจรรโลงประชาธิปไตยชุมชน ในจังหวดั สงขลา ตัวแทนทางการเมือง Political Representative

220 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา 12(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 องค์ความรู้อย่างเท่าเทียมกัน เพราะปฏิบัติการที่เกิดจากกิจกรรมกลุ่มท่ีเป็นไปโดยการเรียนรู้ รว่ มกนั นนั้ จะเปน็ การเสรมิ สรา้ งทกั ษะทางปญั ญาและเปน็ การฝกึ ตนใหย้ อมรบั เหตผุ ลซงึ่ กนั และกนั ซงึ่ กระบวนการดังกลา่ วมคี วามสอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ของ Gutmann & Thomson (อ้างถึงใน บฆู อรี ยีหมะ, 2551) ทีว่ ่า การร่วมอภิปรายสาธารณะอยา่ งมอี ิสระในฐานะพลเมอื งของชมุ ชน อยา่ งเทา่ เทยี มกนั จะกอ่ ใหเ้ กดิ มตริ ว่ มหรอื เจตจ�ำ นงทางการเมอื งส�ำ หรบั น�ำ ไปใช้ในการตดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาทางการเมอื งหรอื เปน็ กรอบส�ำ หรบั การพฒั นาเพอ่ื อนาคตของชมุ ชน และดว้ ยกจิ กรรม การรวมกลุ่มในมิติวิถีประชาธิปไตยชุมชนท่ีเป็นการรวมกลุ่มที่ประกอบกิจกรรมตามความถนัด จะยงิ่ เปน็ สว่ นสง่ เสรมิ ส�ำ คญั ใหป้ ระชาชนมีใจใฝเ่ รยี นรแู้ ละกลา้ แสดงความคดิ เหน็ กลา้ ถกเถยี ง บนหลกั การและยอมรบั เหตผุ ลของกนั และกนั มากยง่ิ ขน้ึ ซงึ่ กระบวนการดงั กลา่ วนส้ี ามารถทลาย เง่ือนไขข้อจำ�กัดของความเป็นได้และสามารถสร้างความเพียงพอให้กับตัวแทนทางการเมือง ในมติ วิ ถิ ปี ระชาธปิ ไตยชมุ ชนใหม้ คี วามเปน็ ไปได้ และทง้ั นด้ี ว้ ยหลกั ปฏบิ ตั ดิ งั กลา่ วแสดงใหเ้ หน็ ได้ถึงความสอดคล้องกับแนวคิดของ Cohen (อ้างถึงในไชยันต์ ไชยพร, 2554) ในเรื่อง ขอ้ จ�ำ กดั ถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องการมสี ว่ นรว่ มในการปรกึ ษาหารอื ทชี่ ้ีใหเ้ หน็ ถงึ ความเสมอภาคของ ผ้เู ข้ารว่ ม คือ ความเสมอภาคในทางรปู แบบท่ที กุ คนสามารถนำ�เสนอได้โดยไม่มีเรือ่ งอาวุโสใด ๆ และในดา้ นเนอ้ื หา ทผ่ี เู้ ขา้ รว่ มจะไมถ่ กู จ�ำ กดั โดยการจดั สรรอ�ำ นาจหรอื บรรทดั ฐานทด่ี �ำ รงอยกู่ อ่ น ดังนั้นกระบวนการของกลุ่มปฏิบัติการในมิติวิถีประชาธิปไตยชุมชนก็จะเป็นไปในลักษณะของ การรว่ มวงสนทนาปรกึ ษาหารอื ของผทู้ ม่ี คี วามรทู้ เี่ สมอเหมอื นกนั อนั สง่ ผลใหบ้ รรยากาศของการ รว่ มวงสนทนาด�ำ เนินไปได้ เพราะแตล่ ะบคุ คลจะมคี วามสนใจและความถนัดในเรอ่ื งนั้น ๆ ตาม ท่ีตนสังกัด และเม่ือกระบวนการของกลุ่มเป็นไปเช่นนั้นแล้วกลุ่มแต่ละกลุ่มก็จะเกิดผู้นำ�หรือ ตวั แทนกลมุ่ ทผ่ี า่ นการคดั กรองศกั ยภาพบคุ คลในล�ำ ดบั ตน้ ซงึ่ ดว้ ยกลไกการมสี ว่ นรว่ มในปรกึ ษา หารือที่ยึดถือปฏิบัติอย่างต่อเน่ืองดังกล่าวจะสามารถส่งผลสะเทือนต่อการเมืองในเชิงสถาบัน โดยส่งผลต่อการรับรู้และตัดสินใจของประชาชนในการคัดกรองหรือคัดเลือกตัวแทนทางการ เมืองในตำ�แหน่งต่าง ๆ ในสนามเลือกตั้ง กล่าวได้ว่า ผลของกระบวนการที่กล่าวมาเป็นการ สรา้ งตวั แทนทางการเมอื งทมี่ ศี กั ยภาพอกี ทง้ั ยงั สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทางการเมอื งใหก้ บั ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ได้เป็นอย่างดี เพราะด้วยทักษะในการรับรู้ของประชาชนท่ีถูกฝึกฝนมาอย่างต่อเน่ืองโดยการ ยอมรับเหตุผลจากการเจรจาถกเถียงซ่ึงกันส่งผลในทางสังคมที่ทำ�ให้ประชาชนไม่นิยมความ รุนแรง เพราะหากมปี ญั หาประการใดก็จะมกี ารเปิดวงสนทนาร่วมกนั กล่าวได้ว่าตัวแทนทางการเมืองในวิถีประชาธิปไตยชุมชน เป็นมิติเล็ก ๆ อีกมิติหนึ่ง ทส่ี ามารถพฒั นาระบบการเมอื งไทยได้ เพราะการไดม้ าซง่ึ ตวั แทนทางการเมอื งในมติ วิ ถิ ปี ระชาธปิ ไตย ชุมชนนี้สะท้อนให้เห็นได้ถึงความชอบธรรมทางการเมืองและสามารถสนองตอบต่อความ ต้องการของประชาชนได้เป็นอย่างดี ทั้งน้ีหากสังคมการเมืองไทยนำ�กระบวนการแนวคิดที่ ตวั แทนทางการเมือง Political Representative

221วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา 12(1) ม.ค. - ม.ิ ย. 2560 Journal of Yala Rajabhat University 12(1) Jan - Jun 2017 กลา่ วมานมี้ าปรบั ใชเ้ พอื่ สรา้ งฐานรากใหก้ บั ระบบการเมอื งไทย กน็ บั ไดว้ า่ เปน็ การพฒั นาประชาธปิ ไตย แบบตัวแทนในอีกระดับหนึ่ง ทั้งน้ีเพราะมิติของการได้มาซ่ึงตัวแทนน้ันเป็นมิติท่ีสามารถตอบ สนองวิถีชีวิตได้อย่างสมดุล อีกทั้งสะท้อนถึงการได้ผู้นำ�ตัวแทนที่มีศักยภาพและมีคุณภาพ ทเี่ สมอเหมอื นกัน และประการสำ�คญั ที่สุดกจ็ ะเป็นเครื่องยนื ยันได้ว่า จะเป็นการปกครองโดย ประชาชนโดยแท้ เอกสารอา้ งอิง ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ. (2549). องค์กรชุมชนกับการปฏิรูปสังคมและการเมือง. กรุงเทพฯ : วทิ ยาลัยการจัดการทางสงั คม. ชยั วฒั น์ โยธ.ี (2558). การสรา้ งและจรรโลงประชาธปิ ไตยชมุ ชนในจงั หวดั สงขลา. ดษุ ฎนี พิ นธ/์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาการเมือง, คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัย รามค�ำ แหง. ไชยนั ต์ ไชยพร. (2547). แนวคดิ ประชาธปิ ไตย : ประชาธปิ ไตยจากโบราณสสู่ มยั ใหม.่ ในเอกสาร การสอนชดุ วชิ าแนวคดิ ทางการเมอื งและสงั คม (หนว่ ยท่ี 8). นนทบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. ไชยนั ต์ ไชยพร. (2554). ประชาธิปไตยแบบมีสว่ นร่วมในการปรกึ ษาหารือถกเถียงกนั กอ่ นการ ตัดสินใจเพอ่ื หาฉนั ทานมุ ัติหรอื ใกลเ้ คยี ง. เอกสารคำ�สอนวิชาประชาธปิ ไตยเปรียบเทียบ ภาควชิ าการปกครอง คณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ทศพล สมพงษ.์ (2555). การสงั เคราะหบ์ ทเรยี นเพอื่ การพฒั นาประชาธปิ ไตยชมุ ชน. กรงุ เทพฯ : สำ�นักงานสภาพัฒนาการเมืองสถาบันพระปกเกล้า. บูฆอรี ยีหมะ. (2551). การบริหารจัดการท้องถน่ิ ด้วยแนวคดิ ประชาธิปไตยแบบรว่ มปรกึ ษา หารือ. วารสารการพฒั นาทอ้ งถ่ิน, 3(1), 11-24. สน รูปสงู . (2553). คูม่ อื ประชาธปิ ไตยชมุ ชน. กรุงเทพฯ : ส�ำ นกั งานสภาพฒั นาการเมอื ง. Dewey, J. (2013). Democracy and education [online]. Retrieved September 11, 2014, from: http://www.Democracy%20and%20education,20% byJohn Dewey. บุคลานุกรม สมนึก หนูเงิน (ผู้ให้สัมภาษณ์). ชัยวัฒน์ โยธี (ผู้สัมภาษณ์). ท่ีบ้านไทรใหญ่ ตำ�บลควนรู ภำ�เภอรัตภูมิ จงั หวดั สงขลา. เมื่อวนั ท่ี 28 พฤศจิกายน 2558. ตัวแทนทางการเมอื ง Political Representative


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook