Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา 2557

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา 2557

Published by nantarat, 2019-07-11 23:39:51

Description: พิมพ์ครั้งที่ 3 ส.ค.60

Search

Read the Text Version

50 ค่มู ือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 เกณฑก์ ารประเมิน ตรี โท เอก หมายเหตุ เกณฑ์ 11 ขอ้ 11. การปรบั ปรุง ต้องไม่เกิน 5 ปี ตอ้ งไม่เกนิ 5 ปี หลักสูตรตาม (จะต้องปรับปรุง (จะตอ้ งปรับปรงุ รอบระยะเวลา ให้เสร็จและอนุมตั ิ/ ให้เสร็จและอนมุ ัต/ิ ทก่ี �ำหนด ให้ความเห็นชอบ ให้ความเห็นชอบ โดยสภามหาวทิ ยาลยั / โดยสภามหาวิทยาลยั / สถาบัน เพือ่ ให้ สถาบัน เพอื่ ให้ หลกั สตู รใชง้ าน หลกั สตู รใชง้ าน ในปีที่ 6) ในปีที่ 6) หมายเหตุ สำ� หรบั หลกั สูตร 5 ปี ประกาศใชใ้ นปีท่ี 7 หรอื หลกั สตู ร 6 ปี ประกาศใช้ในปที ่ี 8) รวม เกณฑ์ 3 ข้อ เกณฑ์ 11 ข้อ เกณฑ์การประเมินดงั กล่าวเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตร พ.ศ. 2548 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 หากมกี าร ประกาศใช้เกณฑม์ าตรฐานต่างๆ ที่เกีย่ วขอ้ งใหม่ เกณฑก์ ารประเมินตามตวั บง่ ชี้นจ้ี ะตอ้ งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานใหม่ฉบับท่ปี ระกาศใช้ล่าสุด

ตวั บง่ ชท้ี ่ี 1.1 การบรหิ ารการจดั การหลกั สตู รตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรี และบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2558 1) หลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรี เกณฑ์การประเมิน คณุ ลักษณะหลกั สตู ร ประเภทวชิ าการ ประเภทวิชาชพี / ปฏิบตั ิการ 1. จ�ำนวนอาจารย์ - ไมน่ ้อยกวา่ 5 คน และ ผรู้ ับผดิ ชอบ - เปน็ อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู รเกินกว่า 1 หลักสตู รไม่ได้ และ หลกั สตู ร - ประจำ� หลักสตู รตลอดระยะเวลาท่ีจดั การศกึ ษาตามหลักสูตรนัน้ 2. คุณสมบตั ิ - คณุ วุฒิระดับปรญิ ญาโทหรอื เทยี บเท่า หรือด�ำรงตำ� แหน่ง - คุณวฒุ ิระดบั ปริญญาโทหรอื เทยี บเทา่ หรือดำ� รงตำ� แหน่งทางวชิ าการไมต่ �่ำกว่า อาจารย์ ทางวชิ าการไม่ตำ่� กวา่ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ในสาขาท่ีตรงหรอื ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ในสาขาทตี่ รงหรอื สัมพันธก์ บั สาขาวชิ าทีเ่ ปดิ สอน ค่มู อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 51 ผู้รับผิดชอบ สัมพันธ์กับสาขาวชิ าทีเ่ ปดิ สอน - มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลงั หลักสูตร - มผี ลงานทางวชิ าการอยา่ งนอ้ ย 1 รายการในรอบ 5 ปยี อ้ นหลงั - อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร จำ� นวน 2 ใน 5 คน ตอ้ งมปี ระสบการณ์ ในดา้ นการปฏบิ ตั กิ าร 3. คณุ สมบตั ิ - คณุ วฒุ ริ ะดบั ปริญญาโทหรือเทยี บเทา่ หรือด�ำรงตำ� แหน่งทางวชิ าการไม่ตำ�่ กว่าผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ในสาขาท่ีตรงหรอื สมั พนั ธก์ บั สาขาวิชาท่เี ปิดสอน อาจารยป์ ระจำ� - มีผลงานทางวชิ าการอย่างนอ้ ย 1 รายการในรอบ 5 ปยี อ้ นหลงั หลกั สตู ร - ไมจ่ �ำกดั จ�ำนวนและประจ�ำได้มากว่าหนง่ึ หลักสตู ร 4. คณุ สมบัติ • อาจารยป์ ระจ�ำ อาจารยผ์ สู้ อน - คณุ วฒุ ริ ะดบั ปรญิ ญาโทหรอื เทยี บเท่า หรือด�ำรงตำ� แหนง่ ทางวิชาการไม่ตำ�่ กวา่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวชิ านั้น หรอื สาขาวิชาทส่ี มั พนั ธ์กนั หรือสาขาวิชาของรายวิชาท่ีสอน - หากเป็นอาจารยผ์ ู้สอนกอ่ นเกณฑ์นป้ี ระกาศใช้ อนุโลมคุณวุฒิระดบั ปริญญาตรไี ด้ • อาจารย์พิเศษ - คณุ วุฒิระดับปรญิ ญาโท หรอื คุณวุฒิปรญิ ญาตรีหรือเทยี บเทา่ และ - มปี ระสบการณ์ท�ำงานทเ่ี ก่ยี วข้องกบั วชิ าที่สอนไม่นอ้ ยกวา่ 6 ปี - ท้งั น้ี มชี ่วั โมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมอี าจารย์ประจ�ำเป็นผรู้ ับผดิ ชอบรายวิชาน้นั 10. การปรบั ปรุง - ตอ้ งไม่เกนิ 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสูตร หรืออยา่ งน้อยทกุ ๆ 5 ปี เกณฑ์ 5 ข้อ หลกั สตู รตามรอบ ระยะเวลาทก่ี ำ� หนด รวม เกณฑ์ 5 ขอ้

52 ค่มู ือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 2) หลักสตู รระดับปรญิ ญาโทและเอก เกณฑ์การประเมนิ หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศึกษา ปริญญาเอก 1. จ�ำนวนอาจารย์ ปรญิ ญาโท ผู้รับผิดชอบ - ไม่น้อยกวา่ 3 คน และ หลักสตู ร - เปน็ อาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลักสตู รเกินกว่า 1 หลักสูตรไมไ่ ด้ และ 2. คณุ สมบตั ิอาจารย์ - ประจ�ำหลักสตู รตลอดระยะเวลาที่จัดการศกึ ษาตามหลักสตู รน้ัน ผรู้ ับผดิ ชอบ หลักสูตร - คณุ วุฒิระดบั ปรญิ ญาเอกหรือเทียบเทา่ หรอื ขั้นต�ำ่ ปริญญาโทหรอื เทยี บเทา่ - คุณวุฒิระดับปริญญาเอกหรอื เทยี บเท่า หรือข้ันตำ�่ ปริญญาโท 3. คุณสมบัติอาจารย์ ทมี่ ีต�ำแหนง่ รองศาสตราจารย์ข้นึ ไป หรือเทยี บเทา่ ทม่ี ีต�ำแหนง่ ศาสตราจารยข์ ึ้นไป ประจ�ำหลักสูตร - มีผลงานทางวชิ าการอยา่ งน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปียอ้ นหลงั - มผี ลงานทางวิชาการอย่างนอ้ ย 3 รายการในรอบ 5 ปยี ้อนหลัง โดยอย่างนอ้ ย 1 รายการตอ้ งเป็นผลงานวิจยั โดยอยา่ งนอ้ ย 1 รายการต้องเป็นผลงานวจิ ัย 4. คุณสมบัติ อาจารย์ผสู้ อน - คุณวฒุ ขิ นั้ ตำ่� ปริญญาโทหรือเทยี บเทา่ - คณุ วุฒิขั้นตำ�่ ปรญิ ญาเอกหรอื เทยี บเท่า หรือขัน้ ตำ�่ ปรญิ ญาโท - มผี ลงานทางวชิ าการอยา่ งนอ้ ย 3 รายการในรอบ 5 ปยี อ้ นหลัง หรือเทียบเทา่ ทม่ี ตี ำ� แหนง่ รองศาสตราจารยข์ ้นึ ไป โดยอย่างนอ้ ย 1 รายการตอ้ งเป็นผลงานวจิ ัย - มีผลงานทางวิชาการอย่างนอ้ ย 3 รายการในรอบ 5 ปยี ้อนหลงั โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเปน็ ผลงานวิจยั • อาจารยป์ ระจ�ำ • อาจารย์ประจำ� - คณุ วุฒิระดับปรญิ ญาโทหรือเทยี บเท่า ในสาขาวิชาน้ัน - คุณวฒุ ริ ะดับปริญญาเอกหรือเทยี บเท่า หรือขั้นตำ่� ปริญญาโท หรือสาขาวชิ าที่สัมพนั ธก์ นั หรอื สาขาวชิ าของรายวชิ าทส่ี อน หรือเทียบเท่าที่มีต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชาน้ัน - ตอ้ งมปี ระสบการณ์ด้านการสอนและมผี ลงานทางวชิ าการ หรอื สาขาวิชาทส่ี มั พนั ธก์ นั หรอื สาขาวิชาของรายวชิ าที่สอน อย่างนอ้ ย 1 รายการในรอบ 5 ปยี ้อนหลัง - ตอ้ งมีประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวชิ าการ อย่างนอ้ ย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง • อาจารย์พเิ ศษ • อาจารย์พิเศษ - คณุ วุฒิระดับปริญญาโทหรอื เทียบเท่าในสาขาวิชานน้ั หรือสาขาวชิ า - คุณวุฒิระดบั ปริญญาเอกหรือเทียบเทา่ หรือขัน้ ต�่ำปริญญาโท ท่ีสมั พันธ์กนั หรอื สาขาวชิ าของรายวชิ าทีส่ อน หรอื เทยี บเท่า - มปี ระสบการณท์ �ำงานทีเ่ กี่ยวข้องกบั วชิ าทีส่ อนและมีผลงานทางวชิ าการ - มีประสบการณท์ ำ� งานท่ีเก่ยี วข้องกับวชิ าทสี่ อนและมีผลงาน อยา่ งนอ้ ย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทางวชิ าการอยา่ งน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลงั - ทง้ั น้ี มีชว่ั โมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมอี าจารย์ประจ�ำ - ทั้งน้ี มชี ่ัวโมงสอนไม่เกนิ ร้อยละ 50 ของรายวชิ า โดยมี เปน็ ผรู้ บั ผิดชอบรายวชิ านัน้ อาจารยป์ ระจ�ำเปน็ ผู้รับผิดชอบรายวชิ านั้น

เกณฑ์การประเมิน หลกั สตู รระดับบณั ฑิตศึกษา ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก 5. คุณสมบัตขิ อง - เป็นอาจารยป์ ระจำ� หลักสูตรทม่ี ีคณุ วุฒปิ รญิ ญาเอกหรอื เทียบเท่า หรอื - เป็นอาจารย์ประจ�ำหลักสตู รทม่ี คี ณุ วฒุ ปิ ริญญาเอกหรือเทยี บเทา่ อาจารย์ที่ปรึกษา ข้ันตำ่� ปริญญาโทหรือเทียบเทา่ และด�ำรงตำ� แหนง่ ทางวิชาการไมต่ ำ�่ กวา่ หรอื ขนั้ ตำ�่ ปริญญาโท หรือเทียบเทา่ และด�ำรงต�ำแหน่งทางวิชาการ วิทยานพิ นธ์หลกั รองศาสตราจารยใ์ นสาขาวชิ านน้ั หรอื สาขาวชิ าทสี่ มั พนั ธก์ นั และ ไมต่ ำ�่ กวา่ รองศาสตราจารยใ์ นสาขาวชิ านน้ั หรอื สาขาวชิ าทสี่ มั พนั ธก์ นั และอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา - มีผลงานทางวิชาการอยา่ งน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลงั - มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปยี ้อนหลงั การค้นควา้ อสิ ระ โดยอย่างน้อย 1 รายการตอ้ งเปน็ ผลงานวจิ ยั โดยอยา่ งนอ้ ย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจยั ค่มู อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 53 6. คุณสมบตั ิของ • อาจารยป์ ระจำ� อาจารย์ที่ปรกึ ษา - คณุ วุฒิระดับปรญิ ญาเอกหรือเทยี บเทา่ หรอื ข้ันตำ�่ ปริญญาโท หรือเทยี บเทา่ และดำ� รงตำ� แหนง่ ทางวิชาการไม่ตำ�่ กว่ารองศาสตราจารย์ วิทยานพิ นธ์ร่วม ในสาขาวชิ านนั้ หรือสาขาวิชาที่สมั พันธก์ นั (ถ้ามี) - มผี ลงานทางวชิ าการอย่างนอ้ ย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างนอ้ ย 1 รายการต้องเปน็ ผลงานวจิ ยั • ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิภายนอก • ผทู้ รงคณุ วฒุ ิภายนอก - คณุ วฒุ ริ ะดับปรญิ ญาเอกหรือเทียบเทา่ - คุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาเอกหรือเทยี บเทา่ - มีผลงานทางวชิ าการที่ได้รบั การตพี มิ พ์เผยแพร่ในระดบั ชาติ ซงึ่ ตรงหรือ - มผี ลงานทางวิชาการทีไ่ ด้รบั การตพี มิ พเ์ ผยแพรใ่ นระดับนานาชาติ สัมพันธ์กบั หวั ขอ้ วิทยานิพนธห์ รือการค้นควา้ อสิ ระไม่น้อยกว่า 10 เร่ือง ซ่งึ ตรงหรอื สัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรอื การค้นคว้าอิสระ - หากไมม่ ีคณุ วฒุ หิ รือประสบการณต์ ามที่กำ� หนดจะตอ้ งมีความรู้ ไม่นอ้ ยกวา่ 5 เร่อื ง ความเชี่ยวชาญและประสบการณส์ ูงเป็นทีย่ อมรับ ซ่งึ ตรงหรอื สัมพนั ธ์ - หากไมม่ ีคุณวฒุ ิหรือประสบการณต์ ามทก่ี ำ� หนดจะต้องมคี วามรู้ กบั หัวข้อวิทยานิพนธ์หรอื การค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเหน็ ชอบ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นทย่ี อมรับ ซ่ึงตรง ของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ หรอื สัมพันธก์ ับหวั ขอ้ วทิ ยานพิ นธห์ รือการค้นคว้าอสิ ระ โดยผ่านความเหน็ ชอบของสภาสถาบนั และแจ้ง กกอ. ทราบ 7. คณุ สมบตั ิของ • อาจารย์ผูส้ อบวิทยานพิ นธ์ ประกอบด้วย อาจารยป์ ระจ�ำหลักสูตร • อาจารย์ผสู้ อบวิทยานพิ นธ์ ประกอบด้วย อาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู ร อาจารย์ผสู้ อบ และผทู้ รงคุณวฒุ ิจากภายนอกไม่น้อยกวา่ 3 คน ประธานผู้สอบวทิ ยานพิ นธ์ และผ้ทู รงคุณวุฒจิ ากภายนอกไมน่ อ้ ยกวา่ 5 คน ประธานผู้สอบ วิทยานิพนธ์ ตอ้ งไมเ่ ปน็ ทปี่ รกึ ษาวิทยานิพนธ์หลักหรือท่ปี รึกษาวทิ ยานพิ นธ์ร่วม วิทยานพิ นธ์ต้องเป็นผู้ทรงคณุ วุฒิจากภายนอก • อาจารย์ประจำ� หลกั สูตร • อาจารย์ประจ�ำหลกั สตู ร - คุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาเอกหรือเทยี บเท่า หรอื ขั้นตำ�่ ปรญิ ญาโท - คุณวุฒิระดบั ปริญญาเอกหรือเทียบเทา่ หรือขั้นต�ำ่ ปริญญาโท หรือเทียบเทา่ และด�ำรงตำ� แหน่งทางวชิ าการไมต่ ำ่� กว่ารองศาสตราจารย์ หรอื เทียบเท่าและดำ� รงตำ� แหน่งทางวิชาการไม่ต่ำ� กว่า ในสาขาวชิ านนั้ หรือสาขาวชิ าท่สี มั พันธก์ ัน รองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานัน้ หรอื สาขาวิชาทส่ี ัมพันธก์ ัน - มีผลงานทางวชิ าการอยา่ งน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลงั - มผี ลงานทางวชิ าการอยา่ งน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปยี ้อนหลงั โดยอย่างน้อย 1 รายการตอ้ งเปน็ ผลงานวิจัย โดยอยา่ งนอ้ ย 1 รายการตอ้ งเป็นผลงานวจิ ัย

54 ค่มู ือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 เกณฑก์ ารประเมนิ หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก • ผทู้ รงคณุ วุฒภิ ายนอก • ผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอก - คุณวุฒริ ะดบั ปริญญาเอกหรือเทียบเทา่ - คณุ วฒุ ิระดับปรญิ ญาเอกหรือเทยี บเท่า - มผี ลงานทางวชิ าการทีไ่ ดร้ ับการตพี มิ พเ์ ผยแพร่ในระดบั ชาติ ซึ่งตรง - มผี ลงานทางวชิ าการทไ่ี ดร้ บั การตพี มิ พเ์ ผยแพรใ่ นระดบั นานาชาติ ซง่ึ ตรง หรอื สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ วทิ ยานพิ นธห์ รอื การคน้ ควา้ อสิ ระไมน่ อ้ ยกวา่ 10 เรอื่ ง หรอื สมั พนั ธก์ บั หวั ขอ้ วทิ ยานพิ นธห์ รอื การคน้ ควา้ อสิ ระไมน่ อ้ ยกวา่ 5 เรอ่ื ง - หากไมม่ ีคณุ วุฒหิ รอื ประสบการณ์ตามที่ก�ำหนดจะตอ้ งมีความรู้ - หากไมม่ ีคุณวุฒิหรอื ประสบการณ์ตามทีก่ ำ� หนดจะตอ้ งมคี วามรู้ ความเชยี่ วชาญและประสบการณ์สูง เปน็ ทีย่ อมรับ ซึ่งตรง ความเชยี่ วชาญและประสบการณ์สูง เปน็ ท่ียอมรับ ซงึ่ ตรง หรือสมั พนั ธก์ บั หวั ข้อวทิ ยานิพนธห์ รอื การคน้ คว้าอสิ ระ หรอื สัมพนั ธก์ ับหวั ขอ้ วิทยานพิ นธห์ รือการคน้ ควา้ อิสระ โดยผา่ นความเหน็ ชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ โดยผา่ นความเหน็ ชอบของสภาสถาบันและแจ้ง กกอ. ทราบ 8. การตพี ิมพ์เผยแพร่ • แผน ก1 • แบบ 1 ผลงานของผ้สู �ำเร็จ - ต้องได้รับการยอมรับใหต้ พี ิมพ์ในวารสารระดับชาติหรอื นานาชาติท่มี ี - ต้องไดร้ ับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติทีม่ ี การศึกษา คณุ ภาพตามประกาศของ กกอ. คณุ ภาพตามประกาศของ กกอ. อย่างนอ้ ย 2 เร่ือง • แผน ก2 • แบบ 2 - ตอ้ งได้รบั การยอมรบั ใหต้ ีพมิ พ์ในวารสารระดบั ชาตหิ รอื นานาชาติทม่ี ี - ตอ้ งไดร้ ับการยอมรับให้ตพี มิ พ์ในวารสารระดบั ชาติหรือนานาชาตทิ มี่ ี คุณภาพตามประกาศของ กกอ. หรือนำ� เสนอตอ่ ทป่ี ระชุมวชิ าการ คณุ ภาพตามประกาศของ กกอ. โดยบทความที่นำ� เสนอได้รับการตีพมิ พใ์ นรายงานสบื เน่ืองจาก การประชมุ ทางวิชาการ (Proceeding) • แผน ข - รายงานการคน้ คว้าหรือสว่ นหนงึ่ ของการค้นคว้าอิสระตอ้ งไดร้ ับ การเผยแพรใ่ นลกั ษณะใดลักษณะหน่งึ ท่ีสืบค้นได้ 9. ภาระงาน • วิทยานิพนธ ์ - อาจารยค์ ณุ วฒุ ปิ รญิ ญาเอก 1 คนต่อนกั ศกึ ษา 5 คน อาจารย์ท่ปี รึกษา • การคน้ ควา้ อสิ ระ - อาจารย์คุณวฒุ ิปรญิ ญาเอก 1 คนต่อนกั ศึกษา 15 คน วิทยานิพนธ์และ - หากอาจารย์คุณวุฒปิ รญิ ญาเอกและมตี �ำแหนง่ ทางวชิ าการ หรือปริญญาโทและมีต�ำแหนง่ ทางวชิ าการระดบั การคน้ คว้าอิสระใน รองศาสตราจารย์ขึ้นไป 1 คนตอ่ นักศึกษา 10 คน ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา - หากเป็นท่ีปรกึ ษาทงั้ 2 ประเภทใหเ้ ทียบสัดส่วนนักศกึ ษาท่ที ำ� วทิ ยานพิ นธ์ 1 คนเทยี บเท่ากับนกั ศกึ ษาทีค่ น้ คว้าอสิ ระ 3 คน 10. การปรับปรงุ - ต้องไม่เกิน 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลกั สูตร หรืออย่างน้อยทุกๆ 5 ปี หลักสตู รตามรอบ เกณฑ์ 10 ขอ้ ระยะเวลาทกี่ ำ� หนด รวม เกณฑ์ 10 ข้อ

3) หลกั สูตรระดบั ประกาศนียบตั รบัณฑิต และประกาศนยี บัตรบัณฑติ ชนั้ สงู เกณฑ์การประเมิน หลกั สูตรระดับบัณฑติ ศึกษา ประกาศนยี บัตรบณั ฑติ ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ ช้นั สงู 1. จำ� นวนอาจารย์ - ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน และ - ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน และ ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร - เป็นอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสตู รไมไ่ ด้ และ - เปน็ อาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลักสตู รเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ และ - ประจำ� หลกั สูตรตลอดระยะเวลาท่ีจดั การศกึ ษาตามหลักสูตรนน้ั - ประจ�ำหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จดั การศึกษาตามหลกั สูตรนนั้ ค่มู อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 55 2. คณุ สมบตั อิ าจารย์ - คุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาเอกหรอื เทยี บเท่า หรอื ขั้นตำ�่ ปรญิ ญาโท - คุณวฒุ ิระดบั ปริญญาเอกหรือเทยี บเทา่ หรือขนั้ ต่�ำปรญิ ญาโท ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร หรอื เทยี บเท่าทีม่ ตี ำ� แหน่งรองศาสตราจารย์ขนึ้ ไป หรือเทียบเท่าทีม่ ีต�ำแหน่งศาสตราจารย์ข้ึนไป - มีผลงานทางวชิ าการอยา่ งน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปยี อ้ นหลัง - มผี ลงานทางวชิ าการอย่างนอ้ ย 3 รายการในรอบ 5 ปียอ้ นหลัง โดยอยา่ งนอ้ ย 1 รายการตอ้ งเป็นผลงานวจิ ัย โดยอยา่ งน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย 3. คณุ สมบตั อิ าจารย์ - คณุ วุฒขิ ้ันต่�ำปรญิ ญาโทหรอื เทยี บเทา่ - คุณวฒุ ขิ ้ันตำ่� ปริญญาเอกหรือเทียบเทา่ หรอื ข้ันตำ�่ ปรญิ ญาโท ประจำ� หลกั สูตร - มีผลงานทางวชิ าการอยา่ งน้อย 3 รายการในรอบ 5 ปยี ้อนหลัง หรือเทยี บเทา่ ท่ีมีต�ำแหนง่ รองศาสตราจารย์ขน้ึ ไป โดยอย่างนอ้ ย 1 รายการตอ้ งเปน็ ผลงานวจิ ัย - มีผลงานทางวิชาการอย่างนอ้ ย 3 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลงั โดยอยา่ งน้อย 1 รายการตอ้ งเปน็ ผลงานวิจัย 4. คณุ สมบตั ิอาจารย์ • อาจารยป์ ระจำ� • อาจารยป์ ระจ�ำ ผสู้ อน - คุณวฒุ ิระดบั ปริญญาโทหรอื เทยี บเทา่ ในสาขาวิชานน้ั - คณุ วุฒริ ะดับปรญิ ญาเอกหรอื เทยี บเท่า หรอื ขั้นตำ�่ ปริญญาโท หรอื สาขาวิชาที่สมั พันธก์ นั หรือสาขาวิชาของรายวิชาทส่ี อน หรือเทียบเท่าที่มีต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชาน้ัน - ต้องมีประสบการณด์ ้านการสอนและมีผลงานทางวชิ าการอย่างน้อย หรือสาขาวิชาทสี่ ัมพันธก์ ัน หรอื สาขาวิชาของรายวชิ าทีส่ อน 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลงั - ตอ้ งมปี ระสบการณ์ด้านการสอนและมผี ลงานทางวชิ าการอยา่ งนอ้ ย 1 รายการในรอบ 5 ปยี อ้ นหลัง • อาจารย์พิเศษ • อาจารย์พเิ ศษ - คุณวุฒิระดบั ปริญญาโทหรือเทยี บเท่าในสาขาวชิ านนั้ - คณุ วุฒริ ะดบั ปริญญาเอกหรือเทยี บเทา่ หรอื ขน้ั ต�่ำปรญิ ญาโท หรอื สาขาวิชาท่สี มั พันธ์กนั หรือสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน หรอื เทยี บเทา่ - มปี ระสบการณท์ �ำงานท่ีเกย่ี วขอ้ งกับวชิ าที่สอนไมน่ ้อยกวา่ 6 ปี - มปี ระสบการณ์ท�ำงานทีเ่ กี่ยวข้องกบั วิชาที่สอน ไม่นอ้ ยกว่า 4 ปี - ท้ังนี้ มชี ว่ั โมงสอนไม่เกนิ รอ้ ยละ 50 ของรายวชิ า โดยมีอาจารยป์ ระจ�ำ - ทง้ั นี้ มีชว่ั โมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดยมอี าจารย์ประจำ� เปน็ ผู้รับผดิ ชอบรายวชิ าน้นั เปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบรายวิชาน้ัน

56 ค่มู ือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 เกณฑก์ ารประเมิน หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ประกาศนียบัตรบัณฑติ ประกาศนยี บัตรบณั ฑิตช้ันสูง 10. การปรบั ปรุง - ต้องไมเ่ กนิ 5 ปี ตามรอบระยะเวลาของหลักสตู ร หรอื อย่างนอ้ ยทุกๆ 5 ปี หลักสูตรตามรอบ ระยะเวลาที่กำ� หนด รวม เกณฑ์ 5 ขอ้ เกณฑ์ 5 ข้อ เกณฑก์ ารประเมนิ ดงั กลา่ วเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตร พ.ศ. 2558 และกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 ผลการประเมนิ ตัวบ่งชท้ี ี่ 1.1 กำ� หนดไวเ้ ปน็ “ผา่ น” และ “ไมผ่ า่ น” หากไมผ่ า่ นเกณฑข์ อ้ ใดขอ้ หนง่ึ ถอื วา่ หลกั สตู รไมไ่ ดม้ าตรฐาน และผลเปน็ “ไมผ่ า่ น” (คะแนนเป็น ศูนย)์ หลกั ฐานเอกสารที่ตอ้ งการนอกเหนือจากเอกสารประกอบแต่ละรายตวั บ่งชี้ 1. เอกสารหลกั สูตรฉบับท่ี สกอ. ประทบั ตรารับทราบ 2. หนังสอื น�ำที่ สกอ. แจง้ รบั ทราบหลกั สูตร (ถา้ มี) 3. กรณีหลกั สตู รยงั ไม่ได้แจ้งการรบั ทราบ ให้มหี นังสอื นำ� ส่ง สกอ.หรือหนังสือสง่ คืนจาก สกอ. และรายงานการประชมุ สภาท่ีอนุมัติ / ให้ความเห็นชอบหลกั สตู ร

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต พนั ธกจิ ทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาคอื การผลติ บณั ฑติ หรอื การจดั กจิ กรรมการเรยี น การสอน ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรใู้ นวชิ าการและวชิ าชพี มคี ณุ ลกั ษณะตามหลกั สตู รทก่ี ำ� หนด บณั ฑติ ระดบั อดุ มศกึ ษาจะตอ้ ง เปน็ ผมู้ คี วามรู้ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มคี วามสามารถในการเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองสามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ เพื่อการด�ำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีความส�ำนึก และความรับผิดชอบ ในฐานะพลเมืองและพลโลก มคี ุณลักษณะตามอัตลักษณ์ของสถาบันอดุ มศกึ ษา สำ� นักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาในฐานะท่ีเป็นหน่วยงานในการก�ำกับและส่งเสริม การด�ำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ไดจ้ ดั ทำ� มาตรฐานตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การผลติ บณั ฑติ เชน่ เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู ร กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ ระดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ เพอ่ื มงุ่ เนน้ เปา้ หมาย การจดั การศกึ ษาทผี่ ลการเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษา ซงึ่ เปน็ การประกนั คุณภาพบัณฑิตท่ีได้รับคุณวุฒิแต่ละคุณวุฒิและสื่อสารให้สังคม ชุมชน รวมท้ังหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต่างๆ ไดเ้ ชอ่ื มนั่ ถงึ คณุ ภาพของบณั ฑติ ทผ่ี ลติ ออกมาเปน็ ไปตามทก่ี ำ� หนดไวใ้ นผลลพั ธก์ ารเรยี นรใู้ นแตล่ ะหลกั สตู ร คณุ ภาพบณั ฑติ ในแตล่ ะหลกั สตู รจะสะทอ้ นไปทค่ี ณุ ภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ ระดบั อดุ มศกึ ษา แหง่ ชาติ โดยพจิ ารณาจากผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ การมงี านทำ� และคณุ ภาพผลงานวจิ ยั ของนกั ศกึ ษาและผสู้ ำ� เรจ็ การศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษาในปีการศึกษานน้ั ๆ คณุ ภาพบัณฑิตจะพจิ ารณาได้จากตวั บ่งชี้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ตัวบ่งช้ีที่ 2.1 คุณภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ ตวั บ่งชที้ ่ี 2.2 การไดง้ านทำ� หรือผลงานวิจัยของผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษา - รอ้ ยละของบัณฑิตปริญญาตรที ไี่ ดง้ านท�ำหรือประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี - ผลงานของนกั ศกึ ษาและผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาโททไี่ ดร้ บั การตพี มิ พห์ รอื เผยแพร่ - ผลงานของนกั ศกึ ษาและผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาเอกทไี่ ดร้ บั การตพี มิ พห์ รอื เผยแพร่ คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 57

ตัวบง่ ชีท้ ่ี 2.1 คณุ ภาพบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ ชนดิ ของตวั บง่ ชี้ ผลลัพธ์ ค�ำอธิบายตัวบ่งชี้ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF) ได้มีการก�ำหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตรก�ำหนดไว้ใน มคอ.2 ซง่ึ ครอบคลมุ ผลการเรยี นรอู้ ยา่ งน้อย 5 ดา้ น คือ 1) ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะ ทางปญั ญา 4) ดา้ นทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรับผดิ ชอบและ 5) ด้านทกั ษะการวิเคราะห์ เชงิ ตวั เลข การสอื่ สารและการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ตวั บง่ ชนี้ จ้ี ะเปน็ การประเมนิ คณุ ภาพบณั ฑติ ในมมุ มอง ของผใู้ ชบ้ ัณฑติ เกณฑ์การประเมนิ ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบณั ฑติ (คะแนนเตม็ 5) สตู รการคำ� นวณ คะ แน นที่ไ ด้ = ผลรจวม�ำนขวอนงคบ่าัณคฑะแิตนทนีไ่ ดท้รไ่ี บัดก้จาารกปกราะรเปมรินะทเมงั้ นิหบมดณั ฑติ ขอ้ มลู ประกอบ จ�ำนวนบัณฑิตท่ีรับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจ�ำนวนบัณฑิต ทีส่ ำ� เร็จการศกึ ษา หมายเหตุ : - ในกรณีหลักสูตรปรบั ปรงุ ที่ยังไมค่ รบรอบ สถาบันอดุ มศึกษาต้องประเมนิ ตวั บง่ ช้ี 2.1 ดว้ ย แม้ว่า หลักสูตรน้ันจะยังไม่ครบรอบการปรับปรุงก็ตาม โดยน�ำผลการด�ำเนินงานของหลักสูตรในรอบ ทผ่ี ่านมาใชป้ ระกอบการประเมิน - กรณบี ณั ฑิตที่มอี าชีพอสิ ระ ไม่ตอ้ งเอามานับในการประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้ใชบ้ ณั ฑติ - ในกรณีบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ เป็นนักศึกษาต่างชาติประมาณ 90% การประเมินบัณฑิต อาจไม่ถึงร้อยละ 20 เนื่องจากเดินทางกลับประเทศไปแล้ว สามารถอนุโลมให้ใช้บัณฑิตท่ี เป็นนักศกึ ษาชาวไทยเป็นฐานในการคิด เช่น มีนักศกึ ษาตา่ งชาติ 90 คน มนี กั ศกึ ษาไทย 10 คน ใหป้ ระเมนิ โดยคดิ จากนกั ศึกษาไทยจ�ำนวน 10 คนเป็นฐานท่ี 100 % 58 คมู่ ือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีได้งานท�ำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี ชนดิ ของตวั บง่ ชี้ ผลลพั ธ์ คำ� อธิบายตวั บง่ ชี้ บัณฑิตปริญญาตรีที่ส�ำเร็จศึกษาในหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ และภาคนอกเวลาในสาขาน้ันๆ ที่ได้งานท�ำหรือมีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจ�ำภายในระยะเวลา 1 ปีนับจากวันที่ส�ำเร็จการศึกษา เมอื่ เทยี บกบั บณั ฑติ ทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาในปกี ารศกึ ษานน้ั การนบั การมงี านทำ� นบั กรณกี ารทำ� งานสจุ รติ ทกุ ประเภท ท่ีสามารถสร้างรายได้เข้ามาเป็นประจ�ำเพ่ือเล้ียงชีพตนเองได้ การค�ำนวณร้อยละของผู้มีงานท�ำของ ผู้ส�ำเร็จการศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนในภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลาให้ค�ำนวณเฉพาะผู้ท่ีเปลี่ยนงานใหม่ หลงั สำ� เร็จการศกึ ษาเทา่ น้นั เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงค่าร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีท่ีได้งานท�ำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี เปน็ คะแนนระหวา่ ง 0-5 กำ� หนดให้เป็นคะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 100 สูตรการค�ำนวณ 1. ค�ำนวณค่าร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานท�ำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ตามสูตร จ�ำนวนบณั ฑติ ปริญญาตรีที่ได้งานท�ำหรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ปี x 100 จำ� นวนบณั ฑิตท่ตี อบแบบสำ� รวจทั้งหมด การคำ� นวณคา่ รอ้ ยละนี้ไมน่ ำ� บัณฑติ ทศี่ ึกษาตอ่ เกณฑ์ทหาร อปุ สมบท และบณั ฑติ ทมี่ งี านทำ� แลว้ แต่ไม่ได้ เปลี่ยนงานมาพจิ ารณา 2. แปลงคา่ ร้อยละทีค่ ำ� นวณไดใ้ นขอ้ 1 เทยี บกับคะแนนเตม็ 5 คะแ นน ที่ได ้ = ค ่าร้อ ยละ ของบ ัณฑ ิตปริญญาตรีทไี่ ด้งาน1ท0�ำ0หรือประกอบอาชีพอสิ ระภายใน 1 ปี x 5 หมายเหตุ : - จำ� นวนบณั ฑติ ทต่ี อบแบบสำ� รวจจะตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 70 ของจำ� นวนบณั ฑติ ทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษา - กรณหี ลกั สตู รใหม่ ไมต่ อ้ งประเมนิ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2.1 และ 2.2 เนอ่ื งจากไมม่ ผี สู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษา สำ� หรบั หลกั สตู ร ปรบั ปรงุ ทมี่ นี กั ศกึ ษาเรยี นอยู่ ตอ้ งประเมนิ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2.1 และ 2.2 ดว้ ย เนอ่ื งจากมผี สู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาแลว้ คมู่ อื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 59

ตัวบ่งชท้ี ่ี 2.2 (ปรญิ ญาโท) ผลงานของนกั ศกึ ษาและผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาโททไี่ ดร้ บั การตพี มิ พ์หรือเผยแพร่ ชนิดของตัวบง่ ชี้ ผลลพั ธ์ คำ� อธบิ ายตัวบง่ ช้ี การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาโทจะตอ้ งมกี ารคน้ ควา้ คดิ อยา่ งเปน็ ระบบวจิ ยั เพอ่ื หาคำ� ตอบทม่ี คี วามนา่ เชอื่ ถอื ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาจะตอ้ งประมวลความรเู้ พอื่ จดั ทำ� ผลงานทแี่ สดงถงึ ความสามารถในการใชค้ วามรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบและสามารถนำ� เผยแพรใ่ หเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ สาธารณะ ตวั บง่ ชนี้ จ้ี ะเปน็ การประเมนิ คณุ ภาพของผลงาน ของผู้สำ� เร็จการศกึ ษาในระดับปรญิ ญาโท เกณฑ์การประเมนิ โดยการแปลงคา่ รอ้ ยละของผลรวมถว่ งนำ�้ หนกั ของผลงานท่ตี พี มิ พเ์ ผยแพรต่ อ่ ผ้สู ำ� เร็จการศกึ ษาเปน็ คะแนนระหว่าง 0-5 กำ� หนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึน้ ไป สูตรการค�ำนวณ 1. ค�ำนวณค่ารอ้ ยละของผลรวมถ่วงน�้ำหนักของผลงานทต่ี ีพิมพ์เผยแพรต่ ่อผู้สำ� เร็จการศึกษา ตามสตู ร ผลรวมถว่ งนำ�้ หนักของผลงานท่ีตพี มิ พห์ รือเผยแพรข่ องนกั ศกึ ษาและผู้สำ� เร็จการศึกษาระดบั ปรญิ ญาโท x 100 จ�ำนวนผู้สำ� เร็จการศกึ ษาระดับปรญิ ญาโททงั้ หมด 2. แปลงค่าร้อยละทีค่ ำ� นวณไดใ้ นขอ้ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 ค ะแน นท ่ไี ด้ = รอ้ ยละ ของ ผลร วมถ ว่ งน ้�ำหนักของผลงาน4ท0ี่ตพี ิมพ์หรอื เผยแพร่ตอ่ ผ้สู ำ� เรจ็ การศึกษา x 5 หมายเหตุ : - การนบั การตพี มิ พเ์ ผยแพรผ่ ลงานของนกั ศกึ ษาและผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษา นบั ณ วนั ทไี่ ดร้ บั การตพี มิ พ์ ผลงานในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติมิไดน้ บั จากวันท่ไี ด้รับการตอบรบั (Accepted) 60 คูม่ อื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557

กำ� หนดระดับคณุ ภาพผลงานทางวิชาการ ดงั น้ี คา่ น้ำ�หนกั ระดับคุณภาพ 0.10 • บทความฉบบั สมบูรณท์ ี่ตพี มิ พใ์ นลักษณะใดลกั ษณะหนงึ่ 0.20 • บทความฉบับสมบูรณ์ทตี่ พี มิ พใ์ นรายงานสบื เนื่องจากการประชุมวชิ าการระดบั ชาติ 0.40 • บทความฉบบั สมบูรณท์ ต่ี ีพิมพ์ในรายงานสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วิชาการระดับนานาชาติ หรอื ในวารสารทางวชิ าการระดบั ชาตทิ ไ่ี มอ่ ยใู่ นฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรอื ระเบียบ คณะกรรมการการอดุ มศึกษาวา่ ด้วย หลักเกณฑก์ ารพิจารณาวารสารทางวิชาการสำ� หรบั การเผยแพร่ ผลงานทางวชิ าการ พ.ศ. 2556 แตส่ ถาบันน�ำเสนอสภาสถาบันอนุมตั แิ ละจดั ทำ� เป็นประกาศใหท้ ราบ เป็นการท่ัวไป และแจ้งให้ ก.พ.อ./กกอ. ทราบภายใน 30 วนั นับแตว่ นั ทีอ่ อกประกาศ • ผลงานทไี่ ดร้ บั การจดอนุสทิ ธิบตั ร 0.60 • บทความทตี่ พี มิ พใ์ นวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ที่ 2 0.80 • บทความทีต่ พี ิมพใ์ นวารสารวิชาการระดบั นานาชาตทิ ไ่ี ม่อยใู่ นฐานขอ้ มลู ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือ ระเบียบคณะกรรมการการอุดมศกึ ษาวา่ ด้วย หลกั เกณฑ์การพจิ ารณาวารสารทางวชิ าการสำ� หรับ การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบนั นำ� เสนอสภาสถาบนั อนมุ ตั ิและจัดทำ� เปน็ ประกาศ ให้ทราบเป็นการทวั่ ไป และแจง้ ให้ ก.พ.อ./กกอ. ทราบภายใน 30 วนั นับแต่วนั ที่ออกประกาศ (ซง่ึ ไม่อยใู่ น Beall’s list) หรอื ตีพิมพ์ในวารสารวชิ าการที่ปรากฏในฐานขอ้ มูล TCI กลมุ่ ที่ 1 1.00 • บทความที่ตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติทป่ี รากฏในฐานขอ้ มูลระดบั นานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบยี บคณะกรรมการการอดุ มศึกษาว่าดว้ ย หลักเกณฑก์ ารพิจารณาวารสารทางวิชาการ สำ� หรบั การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 • ผลงานทไี่ ดร้ ับการจดสทิ ธิบตั ร การสง่ บทความเพอ่ื พจิ ารณาคดั เลอื กใหน้ ำ� เสนอในการประชมุ วชิ าการตอ้ งสง่ เปน็ ฉบบั สมบรู ณ์ (Full Paper) และเมื่อได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซึ่งสามารถอยู่ในรูปแบบ เอกสาร หรอื สือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ได้ คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 61

ก�ำหนดระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์ ดังนี้ ค่านำ้ �หนัก ระดบั คณุ ภาพ 0.20 งานสรา้ งสรรค์ท่มี กี ารเผยแพร่สสู่ าธารณะในลกั ษณะใดลกั ษณะหน่งึ หรือผ่านสือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ Online 0.40 งานสรา้ งสรรคท์ ไ่ี ด้รับการเผยแพรใ่ นระดบั สถาบนั 0.60 งานสรา้ งสรรคท์ ่ไี ด้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.80 งานสรา้ งสรรคท์ ไ่ี ด้รบั การเผยแพรใ่ นระดับความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศ 1.00 งานสรา้ งสรรค์ที่ไดร้ ับการเผยแพรใ่ นระดบั ภมู ภิ าคอาเซยี น/นานาชาติ ผลงานสรา้ งสรรค์ทุกชิ้นตอ้ งผา่ นการพจิ ารณาจากคณะกรรมการทม่ี อี งคป์ ระกอบไม่นอ้ ยกว่า 3 คน โดยมีบคุ คลภายนอกสถาบนั ร่วมพจิ ารณาดว้ ย หมายเหตุ 1. ผลงานวจิ ยั ทมี่ ชี อ่ื นกั ศกึ ษาและอาจารยร์ ว่ มกนั และนบั ในตวั บง่ ชนี้ แี้ ลว้ สามารถนำ� ไปนบั ในตวั บง่ ช้ี ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ 2. ผลงานของนักศึกษาและผู้ส�ำเร็จการศึกษาให้นับผลงานทุกช้ินท่ีมีการตีพิมพ์เผยแพร่ในปี การประเมนิ นัน้ ๆ 3. ในกรณที ไ่ี มม่ ีผูส้ �ำเรจ็ การศกึ ษาไม่พิจารณาตวั บง่ ช้นี ้ี 62 คมู่ ือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

ตัวบ่งชี้ท่ี 2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผ้สู ำ� เร็จการศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาเอก ทไ่ี ดร้ ับการตพี ิมพ์หรอื เผยแพร่ ชนดิ ของตัวบง่ ชี ้ ผลลพั ธ์ ค�ำอธิบายตัวบ่งชี้ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาเอกเปน็ การศกึ ษาในระดบั สงู จะตอ้ งมกี ารคน้ ควา้ คดิ อยา่ งเปน็ ระบบ วจิ ยั เพอ่ื หาประเด็นความร้ใู หมท่ ม่ี ีความนา่ เชื่อถอื เปน็ ประโยชน์ ผูส้ �ำเร็จการศึกษาจะต้องประมวลความรู้ เพอ่ื จดั ทำ� ผลงานทแ่ี สดงถงึ ความสามารถในการใชค้ วามรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบและสามารถนำ� เผยแพรใ่ หเ้ ปน็ ประโยชน์ ตอ่ สาธารณะ ตวั บ่งช้นี ีจ้ ะเปน็ การประเมินคณุ ภาพของผลงานของผ้สู �ำเรจ็ การศึกษาในระดับปรญิ ญาเอก เกณฑก์ ารประเมนิ โดยการแปลงค่าร้อยละของผลรวมถว่ งนำ้� หนกั ของผลงานทตี่ พี มิ พเ์ ผยแพรต่ อ่ ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาเปน็ คะแนนระหว่าง 0-5 กำ� หนดให้เปน็ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 80 ข้นึ ไป สูตรการคำ� นวณ 1. คำ� นวณคา่ ร้อยละของผลรวมถว่ งน�ำ้ หนกั ของผลงานทตี่ ีพิมพ์เผยแพรต่ อ่ ผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาตามสูตร ผลรวมถ่วงนำ�้ หนกั ของผลงานที่ตพี มิ พห์ รอื เผยแพรข่ องนกั ศกึ ษาและผสู้ ำ� เร็จการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก x 100 จ�ำนวนผสู้ �ำเร็จการศกึ ษาระดับปรญิ ญาเอกทงั้ หมด 2. แปลงค่ารอ้ ยละทค่ี ำ� นวณไดใ้ นขอ้ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5 ค ะแน นท ไ่ี ด้ = รอ้ ยละ ของ ผลร วมถ ่วงน ้ำ� หนกั ของผลง8า0นทต่ี พี มิ พห์ รอื เผยแพรต่ ่อผ้สู ำ� เร็จการศกึ ษา x 5 หมายเหตุ : - การนบั การตพี มิ พเ์ ผยแพรผ่ ลงานของนกั ศกึ ษาและผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษา นบั ณ วนั ทไ่ี ดร้ บั การตพี มิ พ์ ผลงานในวารสารระดับชาติหรอื นานาชาตมิ ิได้นบั จากวนั ทีไ่ ด้รบั การตอบรับ (Accepted) คู่มือการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 63

ก�ำหนดระดับคุณภาพผลงานทางวชิ าการ ดังน้ี ค่าน้ำ�หนกั ระดับคณุ ภาพ 0.20 • บทความฉบบั สมบรู ณท์ ่ีตพี มิ พ์ในรายงานสบื เนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ 0.40 • บทความฉบับสมบรู ณท์ ต่ี ีพมิ พ์ในรายงานสืบเนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการระดับนานาชาติ หรอื ในวารสารทางวชิ าการระดบั ชาติท่ไี มอ่ ยใู่ นฐานขอ้ มูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบยี บคณะกรรมการ 0.60 การอดุ มศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณา วารสารทางวิชาการสำ� หรับการเผยแพรผ่ ลงาน 0.80 ทางวชิ าการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบนั นำ� เสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทำ� เป็นประกาศใหท้ ราบเป็นการ ท่วั ไป และแจง้ ให้ ก.พ.อ./กกอ. ทราบภายใน 30 วนั นับแตว่ ันทีอ่ อกประกาศ 1.00 • ผลงานท่ไี ดร้ ับการจดอนสุ ิทธิบัตร • บทความทต่ี ีพิมพใ์ นวารสารวชิ าการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 2 • บทความท่ีตีพมิ พ์ในวารสารวชิ าการระดบั นานาชาตทิ ไี่ มอ่ ยู่ในฐานข้อมลู ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือ ระเบยี บคณะกรรมการการอุดมศกึ ษาวา่ ด้วย หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาวารสารทางวิชาการส�ำหรบั การเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบนั นำ� เสนอสภาสถาบนั อนมุ ัตแิ ละจดั ท�ำเปน็ ประกาศใหท้ ราบเป็นการทว่ั ไป และแจง้ ให้ ก.พ.อ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับแตว่ นั ทอ่ี อกประกาศ (ซ่ึงไมอ่ ยูใ่ น Beall’s list) หรอื ตีพมิ พ์ในวารสารวชิ าการทีป่ รากฏในฐานขอ้ มลู TCI กล่มุ ที่ 1 • บทความทตี่ พี มิ พ์ในวารสารวชิ าการระดับนานาชาติทีป่ รากฏในฐานข้อมลู ระดับนานาชาติ ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบยี บคณะกรรมการการอุดมศกึ ษาวา่ ด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสาร ทางวิชาการส�ำหรบั การเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 • ผลงานที่ไดร้ ับการจดสิทธบิ ตั ร การสง่ บทความเพอ่ื พจิ ารณาคดั เลอื กใหน้ ำ� เสนอในการประชมุ วชิ าการตอ้ งสง่ เปน็ ฉบบั สมบรู ณ์ (Full Paper) และเม่ือได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซึ่งสามารถอยู่ในรูปแบบ เอกสาร หรอื ส่อื อิเลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้ 64 คูม่ ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

กำ� หนดระดบั คุณภาพงานสรา้ งสรรค์ ดังนี้ คา่ น้ำ�หนกั ระดับคุณภาพ 0.20 งานสร้างสรรคท์ ี่มกี ารเผยแพร่สสู่ าธารณะในลักษณะใดลกั ษณะหน่งึ หรอื ผ่านส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ Online 0.40 งานสรา้ งสรรคท์ ี่ได้รบั การเผยแพร่ในระดบั สถาบัน 0.60 งานสรา้ งสรรคท์ ไ่ี ด้รับการเผยแพรใ่ นระดบั ชาติ 0.80 งานสรา้ งสรรคท์ ่ไี ดร้ บั การเผยแพรใ่ นระดบั ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ 1.00 งานสร้างสรรค์ที่ไดร้ บั การเผยแพรใ่ นระดบั ภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ ผลงานสรา้ งสรรคท์ ุกชน้ิ ต้องผ่านการพจิ ารณาจากคณะกรรมการทีม่ ีองค์ประกอบไมน่ ้อยกว่า 3 คน โดยมบี คุ คลภายนอกสถาบนั รว่ มพิจารณาด้วย หมายเหตุ : 1. ผลงานวจิ ยั ทมี่ ชี อื่ นกั ศกึ ษาและอาจารยร์ ว่ มกนั และนบั ในตวั บง่ ชน้ี แี้ ลว้ สามารถนำ� ไปนบั ในตวั บง่ ช้ี ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ 2. ผลงานของนกั ศกึ ษาและผสู้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาใหน้ บั ผลงานทกุ ชนิ้ ทม่ี กี ารตพี มิ พเ์ ผยแพรใ่ นปกี ารประเมนิ นน้ั ๆ 3. ในกรณีท่ีไมม่ ผี สู้ ำ� เร็จการศกึ ษาไม่พจิ ารณาตวั บ่งช้ีนี้ คู่มือการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2557 65

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา ความสำ� เรจ็ ของการจดั การศกึ ษาขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั สำ� คญั ปจั จยั หนงึ่ คอื นกั ศกึ ษา ระบบประกนั คณุ ภาพ นกั ศกึ ษา ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั การรบั หรอื คดั เลอื กนกั ศกึ ษาเขา้ ศกึ ษาในหลกั สตู ร ซงึ่ ตอ้ งเปน็ ระบบทสี่ ามารถ คดั เลอื กนกั ศกึ ษาทมี่ คี ณุ สมบตั แิ ละความพรอ้ มในการเรยี นในหลกั สตู รจนสำ� เรจ็ การศกึ ษา และการสง่ เสรมิ พฒั นานกั ศกึ ษาให้มคี วามพรอ้ มทางการเรยี น และมีกจิ กรรมการพฒั นาในรูปแบบตา่ งๆ เพ่อื ใหน้ ักศึกษามี ความรู้ความสามารถตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และส�ำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิต ศึกษามที กั ษะการวจิ ยั ท่ีสามารถสรา้ งองคค์ วามรไู้ ด้ ทักษะทจ่ี �ำเป็นสำ� หรับการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ประกอบดว้ ย 4 กลุ่มหลกั ไดแ้ ก่ (1) กลุม่ วชิ าหลกั (core subjects) (2) กลมุ่ ทกั ษะชวี ติ และอาชพี (life and career skills) (3) กลมุ่ ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละนวตั กรรม (learning and innovation skills) และ (4) กลุ่มทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี (information, media and technology skills) ทกั ษะส�ำคัญทค่ี นส่วนใหญ่ให้ความส�ำคญั มาก คอื 1. กลมุ่ ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละนวตั กรรม ไดแ้ ก่ (1) การคดิ เชงิ วพิ ากษแ์ ละการแกป้ ญั หา (critical thinking and problem solving) (2) นวตั กรรมและการสร้างสรรค์ (innovation and creativity) (3) การสื่อสารและ ความรว่ มมอื กัน (communication and collaboration) 2. กลมุ่ ทกั ษะสารสนเทศ สอื่ และเทคโนโลยี (information, media and technology skills) ประกอบดว้ ย การรู้สารสนเทศ (information literacy) การรู้สอ่ื (media literacy) และการรู้ ICT (ICT literacy) 3. กลมุ่ ทักษะชีวติ และอาชีพ (life and career skills) ประกอบดว้ ยความสามารถในการปรับตวั และ ยดื หยนุ่ (adaptability and flexibility) ความคดิ รเิ รมิ่ และการเรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง (initiative and self-direction) ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและข้ามวัฒนธรรม (social and cross-cultural interaction) ความรับผิดชอบ และความสามารถผลิตผลงาน (accountability and productivity) ความเปน็ ผูน้ ำ� และรับผดิ ชอบตอ่ สังคม (leadership and social responsibility) การประกนั คณุ ภาพหลกั สตู รในองคป์ ระกอบดา้ นนกั ศกึ ษา เรมิ่ ดำ� เนนิ การตง้ั แตร่ ะบบการรบั นกั ศกึ ษา การสง่ เสรมิ และพฒั นานกั ศกึ ษา และผลลพั ธท์ เ่ี กดิ ขนึ้ กบั นกั ศกึ ษาภายใตก้ ารดำ� เนนิ การดงั กลา่ วใหพ้ จิ ารณา จากตวั บ่งชด้ี ังต่อไปนี้ ตวั บง่ ชี้ที่ 3.1 การรบั นกั ศึกษา ตัวบ่งชที้ ่ี 3.2 การสง่ เสรมิ และพัฒนานกั ศึกษา ตวั บ่งช้ที ่ี 3.3 ผลทเี่ กิดกับนักศึกษา 66 คมู่ อื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557

ตัวบ่งชี้ท่ี 3.1 การรบั นักศึกษา ชนดิ ของตัวบง่ ช้ี กระบวนการ คำ� อธบิ ายตัวบง่ ชี้ คณุ สมบตั ิของนกั ศกึ ษาทร่ี ับเขา้ ศกึ ษาในหลักสูตรเปน็ ปจั จัยพืน้ ฐานของความสำ� เร็จ แตล่ ะหลกั สูตร จะมแี นวคดิ ปรชั ญาในการออกแบบหลกั สตู ร ซงึ่ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารกำ� หนดคณุ สมบตั ขิ องนกั ศกึ ษาทสี่ อดคลอ้ ง กับลักษณะธรรมชาติของหลักสูตร การก�ำหนดเกณฑ์ท่ีใช้ในการคัดเลือกต้องมีความโปร่งใส ชัดเจน และ สอดคล้องกับคุณสมบัติของนักศึกษาท่ีก�ำหนดในหลักสูตร มีเครื่องมือที่ใช้ในการคัดเลือกข้อมูล หรือ วธิ กี ารคดั นกั ศกึ ษาใหไ้ ดน้ กั ศกึ ษาทมี่ คี วามพรอ้ มทางปญั ญา สขุ ภาพกายและจติ ความมงุ่ มนั่ ทจ่ี ะเรยี น และ มเี วลาเรยี นเพียงพอ เพอื่ ให้สามารถส�ำเร็จการศึกษาไดต้ ามระยะเวลาท่ีหลกั สูตรก�ำหนด ในการรายงานการด�ำเนินงานตามตัวบ่งช้ีนี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการด�ำเนินงาน อยา่ งน้อยให้ครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปน้ี - การรับนกั ศกึ ษา - การเตรียมความพร้อมกอ่ นเข้าศึกษา ในการประเมนิ เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ อยใู่ นระดบั คะแนนใด ใหพ้ จิ ารณาในภาพรวมของผลการดำ� เนนิ งาน ท้งั หมด ทท่ี ำ� ให้ไดน้ ักศึกษาทีม่ คี วามพรอ้ มท่จี ะเรียนในหลักสตู ร เกณฑก์ ารประเมนิ 01 23 4 5 • ไม่มีระบบ • มรี ะบบ • มีระบบ มกี ลไก • ไมม่ กี ลไก มกี ลไก • มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ มกี ลไก • มกี ารนำ� ระบบ กลไกไปสู่ • ไมม่ ีแนวคดิ • ไมม่ ีการนำ� มกี ลไก มกี ลไก • มกี ารนำ� ระบบ การปฏบิ ตั /ิ ด�ำเนนิ งาน ในการก�ำกบั ระบบกลไก • มกี ารนำ� • มีการน�ำ กลไกไปสู่ • มีการประเมินกระบวนการ ติดตามและ ไปสกู่ าร ระบบกลไก ระบบกลไก การปฏบิ ตั /ิ • มีการปรับปรงุ /พฒั นา ปรบั ปรุง ปฏบิ ตั /ิ ไปสกู่ าร ไปสกู่ าร ด�ำเนินงาน กระบวนการจากผล • ไม่มีขอ้ มลู ด�ำเนนิ งาน ปฏบิ ตั /ิ ปฏบิ ตั /ิ • มกี ารประเมนิ การประเมนิ หลกั ฐาน ด�ำเนนิ งาน ด�ำเนนิ งาน กระบวนการ • มีผลจากการปรบั ปรุง • มีการประเมนิ • มีการประเมนิ • มีการปรบั ปรุง/ เห็นชดั เจนเป็นรูปธรรม กระบวนการ กระบวนการ พฒั นา • มีแนวทางปฏบิ ตั ทิ ่ีดโี ดยมี • ไม่มีการ • มกี าร กระบวนการ หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ปรบั ปรงุ / ปรับปรงุ / จากผล ยนื ยนั และกรรมการผูต้ รวจ พัฒนา พฒั นา การประเมิน ประเมนิ สามารถให้เหตผุ ล กระบวนการ กระบวนการ • มีผลจากการ อธบิ าย การเปน็ แนวปฏบิ ตั ิ จากผลการ ปรบั ปรุงเหน็ ท่ีดีไดช้ ดั เจน ประเมิน ชดั เจนเปน็ รูปธรรม คูม่ อื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 67

ตัวบ่งช้ีที่ 3.2 การส่งเสริมและพฒั นานักศึกษา ชนิดของตัวบ่งช้ี กระบวนการ คำ� อธบิ ายตวั บ่งช้ี ในชว่ งปแี รกของการศกึ ษา ตอ้ งมกี ลไกในการพฒั นาความรพู้ นื้ ฐานหรอื การเตรยี มความพรอ้ มทางการ เรยี นแกน่ ักศกึ ษา เพ่อื ให้มีความสามารถในการเรยี นรรู้ ะดบั อดุ มศึกษาไดอ้ ย่างมีความสุข อตั ราการลาออก กลางคันน้อย ในระหว่างการศึกษามีการจัดกิจกรรมการพัฒนาความรู้ความสามารถในรูปแบบต่างๆ ทั้งกิจกรรมในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีกิจกรรมเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดีท่ีมีจิตส�ำนึกสาธารณะ มีการวางระบบการดูแลให้คำ� ปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ (ระดับปริญญาตรี โท เอก) ระบบการ ป้องกันหรือการบริหารจัดการความเส่ียงของนักศึกษา เพื่อให้สามารถส�ำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลา ที่หลักสูตรก�ำหนด รวมท้ังการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิชาการของนักศึกษา การสร้างโอกาสการเรียนรู้ ทสี่ ่งเสรมิ การพฒั นาศักยภาพนกั ศึกษาและทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล ในการรายงานการด�ำเนินงานตามตัวบ่งช้ีนี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการด�ำเนินงาน อยา่ งน้อยให้ครอบคลมุ ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี - การควบคมุ การดแู ลการใหค้ �ำปรกึ ษาวิชาการและแนะแนวแก่นกั ศึกษาปริญญาตรี - การควบคมุ ดแู ลการให้คำ� ปรกึ ษาวิทยานพิ นธแ์ ก่บณั ฑติ ศึกษา - การพฒั นาศักยภาพนกั ศึกษาและการเสรมิ สรา้ งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ในการประเมนิ เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ อยใู่ นระดบั คะแนนใด ใหพ้ จิ ารณาในภาพรวมของผลการ ดำ� เนนิ งาน ทงั้ หมด ทที่ ำ� ใหไ้ ดน้ กั ศกึ ษาเรยี นอยา่ งมคี วามสขุ และมที กั ษะทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การประกอบอาชพี ในอนาคต เกณฑก์ ารประเมิน 01 2 3 4 5 • ไม่มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ มกี ลไก • มีระบบ มีกลไก • ไม่มกี ลไก มกี ลไก มกี ลไก มกี ลไก • มกี ารนำ� ระบบ • มกี ารนำ� ระบบ กลไกไปสู่ • ไมม่ ีแนวคดิ • ไมม่ ีการนำ� • มีการน�ำ • มกี ารน�ำ กลไกไปสู่ การปฏบิ ตั ิ/ด�ำเนินงาน ในการก�ำกบั ระบบกลไก ระบบกลไก ระบบกลไก การปฏบิ ัต/ิ • มกี ารประเมินกระบวนการ ตดิ ตามและ ไปสกู่ าร ไปสกู่ าร ไปสกู่ าร ด�ำเนินงาน • มกี ารปรับปรุง/พัฒนา ปรบั ปรุง ปฏบิ ตั /ิ ปฏิบัติ/ ปฏิบตั ิ/ • มกี ารประเมิน กระบวนการจากผล • ไม่มีขอ้ มูล ดำ� เนนิ งาน ดำ� เนินงาน ด�ำเนินงาน กระบวนการ การประเมนิ หลกั ฐาน • มีการประเมิน • มีการประเมิน • มีการปรบั ปรุง/ • มีผลจากการปรบั ปรงุ กระบวนการ กระบวนการ พฒั นา เหน็ ชัดเจนเป็นรูปธรรม • ไม่มกี าร • มกี าร กระบวนการ • มแี นวทางปฏบิ ัตทิ ่ดี ีโดยมี ปรับปรุง/ ปรบั ปรงุ / จากผล หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ พัฒนา พัฒนา การประเมนิ ยนื ยนั และกรรมการผ้ตู รวจ กระบวนการ กระบวนการ • มีผลจากการ ประเมิน สามารถให้เหตุผล จากผลการ ปรบั ปรงุ เห็น อธบิ าย การเปน็ แนวปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ชัดเจนเปน็ ท่ดี ีไดช้ ัดเจน รปู ธรรม 68 คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557

ตัวบง่ ชที้ ี่ 3.3 ผลที่เกดิ กับนักศกึ ษา ชนิดของตวั บง่ ช้ี ผลลพั ธ์ คำ� อธบิ ายตวั บง่ ช้ี ผลการประกันคุณภาพควรท�ำให้นักศึกษามีความพร้อมทางการเรียนมีอัตราการคงอยู่ของนักศึกษา ในหลักสูตรสูง อัตราการส�ำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรสูง นักศึกษามีความพึงพอใจต่อหลักสูตร และผล การจดั การข้อร้องเรยี นของนกั ศกึ ษา ในการรายงานการด�ำเนินงานตามตัวบ่งช้ีน้ี ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการด�ำเนินงาน ในประเด็นต่อไปนี้ - การคงอยู่ - การสำ� เร็จการศึกษา - ความพงึ พอใจและผลการจดั การขอ้ รอ้ งเรยี นของนกั ศกึ ษา หมายเหตุ : - การประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษา เปน็ การประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาตอ่ กระบวน ทีด่ �ำเนินการใหก้ ับนักศึกษาตามกจิ กรรมในตวั บง่ ช้ี 3.1 และ 3.2 - อตั ราการคงอยขู่ องนกั ศกึ ษา คดิ จากจำ� นวนนกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ ในแตล่ ะรนุ่ ลบดว้ ยจำ� นวนนกั ศกึ ษาทอ่ี อก ทกุ กรณีนับถึงสิ้นปีการศึกษาท่ปี ระเมิน ยกเวน้ การเสยี ชีวติ การยา้ ยสถานที่ท�ำงานของนกั ศึกษา ในระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา คดิ เปน็ รอ้ ยละของจำ� นวนทรี่ บั เขา้ ในแตล่ ะรนุ่ ทมี่ บี ณั ฑติ สำ� เรจ็ การศกึ ษาแลว้ - การคิดรอ้ ยละของจำ� นวนนกั ศกึ ษาที่ยงั คงอยู่ของแต่ละรุ่น ตัวอยา่ งการค�ำนวนหลักสตู ร 4 ปี ปีการศกึ ษา จำ�นวนรบั เข้า จำ�นวนสำ�เร็จการศกึ ษาตามหลกั สตู ร 2 จำ�นวนทล่ี าออก 1 และคดั ช่ือออกสะสมจนถงึ 2556 2557 2558 สน้ิ ปกี ารศกึ ษา 2558 3 2553 X 2554 X 2555 X อตั ราการส�ำเร็จการศึกษา = x 100 อตั ราการคงอยู่ = - x 100 คมู่ ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 69

เกณฑ์การประเมิน 01 2 3 4 5 • ไม่มกี าร • มีการ • มกี าร • มกี ารรายงาน • มีการรายงาน • มกี ารรายงานผลการ รายงาน รายงาน รายงานผล ผลการ ผลการด�ำเนินงาน ดำ� เนินงานครบทกุ เร่ืองตาม ผลการ ผลการ การดำ� เนนิ งาน ด�ำเนินงาน ครบทกุ เรอื่ งตาม คำ� อธบิ ายในตวั บง่ ช้ี ด�ำเนินงาน ด�ำเนินงาน ครบทุกเรือ่ ง ครบทกุ เรอื่ ง คำ� อธบิ าย • มแี นวโน้มผลการด�ำเนินงาน ในบางเรื่อง ตามคำ� ตาม ในตวั บ่งช้ี ทีด่ ขี ึ้นในทกุ เรอ่ื ง อธบิ าย ค�ำอธิบาย • มีแนวโน้มการ • มผี ลการด�ำเนนิ งานท่โี ดดเดน่ ในตัวบ่งช้ี ในตวั บง่ ช้ี ด�ำเนินงานที่ดีขนึ้ เทียบเคยี งกับหลักสูตรนัน้ ใน • มแี นวโน้ม ในทุกเรือ่ ง สถาบันกลมุ่ เดียวกนั โดยมี ผลการ หลักฐานเชงิ ประจักษย์ นื ยนั ดำ� เนินงาน และกรรมการผูต้ รวจประเมนิ ทด่ี ขี ึ้น สามารถใหเ้ หตุผลอธบิ ายวา่ ในบางเรอ่ื ง เป็นผลการดำ� เนินงานที่ โดดเด่นอย่างแทจ้ รงิ 70 คูม่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

องคป์ ระกอบที่ 4 อาจารย์ อาจารย์เป็นปัจจัยป้อนท่ีส�ำคัญของการผลิตบัณฑิต ผู้เก่ียวข้องต้องมีการออกแบบระบบ ประกัน การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ เพอ่ื ใหไ้ ดอ้ าจารยท์ ม่ี คี ณุ ภาพเหมาะสม มคี ณุ สมบตั สิ อดคลอ้ งกบั สภาพบรบิ ท ปรัชญา วิสัยทัศน์ของสถาบัน และของหลักสูตร และมีการส่งเสริมให้อาจารย์มีความรักในองค์กร และการปฏบิ ตั งิ านตามวชิ าชพี ผบู้ รหิ ารตอ้ งมกี ารกำ� หนดนโยบาย แผนระยะยาว และกจิ กรรม การดำ� เนนิ งาน ตลอดจนการก�ำกับดูแลและการพัฒนาคุณภาพอาจารย์ การวางระบบประกันคุณภาพอาจารย์ เป็นการ ด�ำเนินงานเพื่อให้ได้อาจารย์ที่มีคุณสมบัติท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หลกั สูตรที่ก�ำหนดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา และมีพัฒนาการเพิ่มยงิ่ ขึน้ ด้วยการวางแผน และการลงทนุ งบประมาณและทรัพยากร เพ่อื ให้อัตรากำ� ลังอาจารยม์ ีจำ� นวนเหมาะสมกับจำ� นวนนักศกึ ษา ท่ีรับเข้าในหลักสูตร มีจ�ำนวนอาจารย์ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางสาขาวิชาของหลักสูตร และมี ประสบการณท์ เ่ี หมาะสมกับการผลิตบณั ฑิต อันสะท้อนจากวุฒกิ ารศกึ ษา ต�ำแหนง่ ทางวชิ าการ และความ ก้าวหนา้ ในการผลิตผลงานทางวิชาการอย่างตอ่ เนอ่ื ง องค์ประกอบด้านอาจารย์ เริ่มด�ำเนินการตั้งแต่การบริหารและพัฒนาอาจารย์ คุณภาพอาจารย์ และผลลัพธ์ทีเ่ กิดกับอาจารย์ ให้พจิ ารณาจากตวั บ่งช้ี ดงั ตอ่ ไปน้ี ตัวบง่ ชท้ี ี่ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ ตวั บ่งช้ที ่ี 4.2 คุณภาพอาจารย์ ตวั บ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกบั อาจารย์ ค่มู อื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 71

ตัวบง่ ชท้ี ี่ 4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ ชนดิ ของตวั บ่งชี้ กระบวนการ คำ� อธิบายตวั บ่งช้ี การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ เรมิ่ ต้นตัง้ แต่ระบบการรบั อาจารย์ใหม่ ตอ้ งกำ� หนดเกณฑ์คณุ สมบตั ิ อาจารย์ท่ีสอดคล้องกับสภาพบริบท ปรัชญา วิสัยทัศน์ของสถาบัน และของหลักสูตร มีกลไกการคัดเลือก อาจารยท์ เี่ หมาะสม โปรง่ ใส นอกจากนตี้ อ้ งมรี ะบบการบรหิ ารอาจารย์ โดยการกำ� หนดนโยบาย แผนระยะยาว เพ่ือให้ได้อาจารย์ท่ีมีคุณสมบัติทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ทกี่ ำ� หนดโดยสำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา และระบบการสง่ เสรมิ และพฒั นาอาจารย์ มกี ารวางแผน และการลงทนุ งบประมาณและทรพั ยากรและกจิ กรรมการดำ� เนนิ งาน ตลอดจนการกำ� กบั ดแู ล และการพฒั นา คณุ ภาพอาจารย์ ในการรายงานการดำ� เนนิ งานตามตวั บง่ ชน้ี ้ี ใหอ้ ธบิ ายกระบวนการหรอื แสดงผลการดำ� เนนิ งานอยา่ งนอ้ ย ใหค้ รอบคลมุ ประเด็นตอ่ ไปนี้ - ระบบการรบั และแตง่ ตัง้ อาจารย์ประจ�ำหลักสูตร - ระบบการบรหิ ารอาจารย์ - ระบบการสง่ เสรมิ และพฒั นาอาจารย์ ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการ ด�ำเนินงานท้ังหมด ท่ีท�ำให้หลักสูตรมีอาจารย์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมท้ังในด้านวุฒิการศึกษาและ ต�ำแหน่งทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง และมีการส่งเสริมให้มี การเพิม่ พูนความร้คู วามสามารถของอาจารย์เพอื่ สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางวชิ าการของหลักสูตร เกณฑก์ ารประเมิน 01 2 3 4 5 • ไม่มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ มกี ลไก • มรี ะบบ มกี ลไก • ไมม่ กี ลไก มกี ลไก มกี ลไก มกี ลไก • มกี ารนำ� ระบบ • มีการนำ� ระบบ กลไกไปสู่ • ไมม่ ีแนวคดิ • ไมม่ กี ารนำ� • มกี ารน�ำ • มีการน�ำ กลไกไปสู่ การปฏิบัติ/ด�ำเนินงาน ในการก�ำกับ ระบบกลไก ระบบกลไก ระบบกลไก การปฏิบตั /ิ • มกี ารประเมินกระบวนการ ตดิ ตามและ ไปสกู่ าร ไปสกู่ าร ไปส่กู าร ดำ� เนินงาน • มกี ารปรบั ปรงุ /พัฒนา ปรับปรุง ปฏบิ ตั /ิ ปฏบิ ัต/ิ ปฏบิ ตั /ิ • มีการประเมิน กระบวนการจากผล • ไม่มีขอ้ มูล ด�ำเนินงาน ด�ำเนินงาน ดำ� เนนิ งาน กระบวนการ การประเมนิ หลักฐาน • มกี ารประเมนิ • มีการประเมนิ • มีการปรับปรุง/ • มผี ลจากการปรับปรงุ กระบวนการ กระบวนการ พัฒนา เหน็ ชัดเจนเปน็ รูปธรรม • ไม่มกี าร • มีการ กระบวนการ • มีแนวทางปฏบิ ัติทดี่ ีโดยมี ปรับปรุง/ ปรบั ปรุง/ จากผล หลักฐานเชงิ ประจักษ์ พัฒนา พฒั นา การประเมนิ ยนื ยนั และกรรมการผ้ตู รวจ กระบวนการ กระบวนการ • มผี ลจากการ ประเมิน สามารถใหเ้ หตุผล จากผลการ ปรับปรงุ เห็น อธบิ าย การเป็นแนวปฏิบัติ ประเมิน ชัดเจนเป็น ทีด่ ีไดช้ ดั เจน รูปธรรม 72 คมู่ อื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

ตวั บ่งชีท้ ่ี 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ ชนิดของตวั บง่ ช้ี ปัจจยั น�ำเข้า คำ� อธบิ ายตวั บง่ ชี้ การส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ต้องท�ำให้อาจารย์ในหลักสูตรมีคุณสมบัติท่ีเหมาะสมและเพียงพอ โดยทำ� ใหอ้ าจารยม์ คี วามรู้ ความเชยี่ วชาญทางสาขาวชิ าทเ่ี ปดิ ใหบ้ รกิ าร และมปี ระสบการณท์ ่ี เหมาะสมกบั การผลิตบัณฑิตอันสะท้อนจากวุฒิการศึกษา ต�ำแหน่งทางวิชาการ และความก้าวหน้าในการผลิตผลงาน ทางวิชาการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ประเดน็ ในการพิจารณาตวั บ่งชนี้ ี้จะประกอบดว้ ย - ร้อยละของอาจารยป์ ระจ�ำหลกั สูตรที่มคี ุณวฒุ ิปรญิ ญาเอก - รอ้ ยละของอาจารย์ประจำ� หลักสูตรทีด่ ำ� รงตำ� แหน่งทางวชิ าการ - ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำ� หลักสูตร - จำ� นวนบทความของอาจารยป์ ระจ�ำหลักสูตรปรญิ ญาเอกที่ได้รบั การอ้างองิ ในฐานขอ้ มลู TCI และ Scopus ตอ่ จ�ำนวนอาจารย์ประจำ� หลกั สตู ร รอ้ ยละของอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรทมี่ คี ุณวุฒปิ ริญญาเอก การศึกษาระดับอุดมศึกษาถือเป็นการศึกษาระดับสูงสุดที่ต้องการบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ และความลุ่มลึกทางวิชาการ เพ่ือปฏิบัติพันธกิจส�ำคัญของสถาบันในการผลิตบัณฑิต ศึกษาวิจัย เพ่ือการ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้ ดังนั้น หลักสูตรจึงควรมีอาจารย์ท่ีมีคุณวุฒิ ทางการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ตรงหรือสัมพันธ์กับหลักสูตรที่เปิดสอนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับพันธกิจ หรือจุดเน้นของหลักสูตรนั้นๆ เกณฑก์ ารประเมิน โดยการแปลงคา่ รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจ�ำหลักสูตรทม่ี คี ุณวฒุ ิปริญญาเอกเปน็ คะแนนระหว่าง 0-5 หลกั สตู รระดบั ปริญญาตรี ค่าร้อยละของอาจารยป์ ระจ�ำหลักสตู รทมี่ ีคณุ วุฒปิ ริญญาเอก ท่ีก�ำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = รอ้ ยละ 20 ขนึ้ ไป หลักสูตรระดับปรญิ ญาโท คา่ รอ้ ยละของอาจารย์ประจ�ำหลักสตู รที่มีคุณวุฒปิ รญิ ญาเอก ทกี่ ำ� หนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป หลกั สตู รระดับปรญิ ญาเอก ค่าร้อยละของอาจารย์ประจ�ำหลักสตู รที่มคี ุณวุฒิปรญิ ญาเอก ทีก่ �ำหนดใหเ้ ปน็ คะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 100 คมู่ ือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 73

สูตรการค�ำนวณ 1. ค�ำนวณคา่ ร้อยละของอาจารย์ประจ�ำหลักสตู รท่ีมีวุฒปิ รญิ ญาเอกตามสูตร จ�ำนวนอาจารย์ประจ�ำหลักสตู รที่มคี ณุ วุฒปิ รญิ ญาเอก x 100 จ�ำนวนอาจารยป์ ระจำ� หลักสูตรท้งั หมด 2. แปลงคา่ ร้อยละท่ีคำ� นวณได้ในขอ้ 1 เทยี บกับคะแนนเตม็ 5 คะแ นน ที่ไ ด้ = ร ้อย ละข อง อาจารรอ้ยย์ปลระะจขอำ� หงอลากั จสาตู รรยท์ปี่มรคีะจณุ �ำวหุฒลักปิ สรญิตู รญทมี่าเีคอณุ กทว่กีฒุ ำ� ิปหรนญิ ดญใหา้เเปอน็ กคะแนนเตม็ 5 x 5 หมายเหตุ : คุณวุฒิปริญญาเอก พิจารณาจากระดับคุณวุฒิที่ได้รับหรือเทียบเท่าตามหลักเกณฑ์การพิจารณา คุณวุฒิของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีท่ีมีการปรับวุฒิการศึกษาให้มีหลักฐานการส�ำเร็จการศึกษาภายใน รอบปีการศึกษาน้ัน ทั้งน้ีอาจใช้คุณวุฒิอื่นเทียบเท่าคุณวุฒิปริญญาเอกได้ส�ำหรับกรณีที่บางสาขาวิชาชีพ มีคณุ วฒุ อิ ื่นทเ่ี หมาะสมกวา่ ทัง้ นีต้ ้องไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอดุ มศึกษา ร้อยละของอาจารยป์ ระจ�ำหลักสตู รท่ีด�ำรงตำ� แหน่งทางวชิ าการ สถาบันอุดมศกึ ษาถือเป็นขุมปญั ญาของประเทศ และมีความรับผิดชอบทีจ่ ะต้องส่งเสริมใหอ้ าจารย์ ในสถาบันท�ำการศึกษาวิจัยเพ่ือแสวงหาและพัฒนาองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ อย่างต่อเน่ือง เพ่อื นำ� ไปใชใ้ นการเรยี นการสอน รวมทัง้ การแกไ้ ขปญั หาและพัฒนาประเทศ การดำ� รงตำ� แหน่งทางวชิ าการ เปน็ ส่ิงสะทอ้ นการปฏิบัติงานดังกลา่ วของอาจารย์ตามพันธกิจของหลกั สูตร เกณฑก์ ารประเมนิ โดยการแปลงคา่ รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู รทดี่ ำ� รงตำ� แหนง่ ทางวชิ าการเปน็ คะแนน ระหวา่ ง 0-5 หลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรี ค่าร้อยละของอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรท่ีด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารยร์ วมกนั ท่ีก�ำหนดให้เป็นคะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 60 ขน้ึ ไป หลกั สตู รระดับปรญิ ญาโท ค่าร้อยละของอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรท่ีด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์รวมกนั ท่กี ำ� หนดใหเ้ ป็นคะแนนเตม็ 5 = รอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป หลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาเอก ค่าร้อยละของอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรท่ีด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารยร์ วมกนั ท่ีก�ำหนดใหเ้ ป็นคะแนนเตม็ 5 = รอ้ ยละ 100 74 คู่มือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

สตู รการคำ� นวณ 1.คานวณคา่ รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจำ� หลักสตู รท่ีดำ� รงต�ำแหนง่ ทางวิชาการ ตามสตู ร จ�ำนวนอาจารยป์ ระจำ� หลกั สูตรทดี่ �ำรงต�ำแหน่งทางวชิ าการ x 100 จำ� นวนอาจารย์ประจ�ำหลกั สูตรทงั้ หมด 2. แปลงค่ารอ้ ยละที่คำ� นวณไดใ้ นข้อ 1 เทียบกบั คะแนนเต็ม 5 คะแ นน ท่ีไ ด้ = ร ้อย ละข อง อาจารร้อยย์ปลระะจขอ�ำหงอลากั จสาูตรรยท์ปด่ี รำ�ะรจงำ� ตหำ� ลแกั หสนูต่งรททา่ดี งำ�วรชิ งาตกำ� าแรหทน่กี �ำ่งทหานงดวใชิ หา้เกปาน็ รค ะแนนเต็ม 5 x 5 ผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจ�ำหลักสตู ร ผลงานทางวชิ าการเปน็ ขอ้ มลู ทส่ี ำ� คญั ในการแสดงใหเ้ หน็ วา่ อาจารยป์ ระจำ� ไดส้ รา้ งสรรคข์ น้ึ เพอ่ื แสดง ใหเ้ หน็ ถึงความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการและการพัฒนาองคค์ วามรอู้ ยา่ งต่อเนอื่ ง เป็นผลงานทม่ี คี ุณคา่ สมควร ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่และน�ำไปใช้ประโยชน์ท้ังเชิงวิชาการและการแข่งขันของประเทศ ผลงาน ทางวิชาการอยู่ในรูปของบทความวิจัยหรือบทความวิชาการท่ีตีพิมพ์ในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุม วิชาการระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ผลงาน ได้รับการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร หรือเป็นผลงานวิชาการรับใช้สังคมท่ีผ่านการประเมินต�ำแหน่งทาง วิชาการแล้ว ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์การระดับชาติว่าจ้างให้ด�ำเนินการ ต�ำราหรือหนังสือท่ีใช้ใน การขอผลงานทางวิชาการและผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอต�ำแหน่งทางวิชาการแล้ว รวมท้ังงาน สร้างสรรค์ต่างๆ โดยมีวิธีการคิด ดังน้ี เกณฑก์ ารประเมนิ หลกั สตู รระดับปริญญาตรี ค่ารอ้ ยละของผลรวมถว่ งน�้ำหนกั ของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ�ำหลักสตู ร ทกี่ �ำหนดให้เปน็ คะแนนเต็ม 5 = รอ้ ยละ 20 ขน้ึ ไป หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาโท คา่ ร้อยละของผลรวมถว่ งน�้ำหนกั ของผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู ร ท่กี ำ� หนดใหเ้ ปน็ คะแนนเตม็ 5 = รอ้ ยละ 40 ขน้ึ ไป หลกั สูตรระดับปรญิ ญาเอก ค่ารอ้ ยละของผลรวมถ่วงน้�ำหนกั ของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ�ำหลักสตู ร ทก่ี ำ� หนดใหเ้ ปน็ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึน้ ไป คมู่ อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 75

สตู รการคำ� นวณ 1. ค�ำนวณคา่ ร้อยละของผลรวมถ่วงน�้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจ�ำหลักสูตรตามสตู ร ผลรวมถ่วงน้�ำหนกั ของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ�ำหลักสูตร x 100 จำ� นวนอาจารย์ประจ�ำหลกั สูตรทัง้ หมด 2. แปลงค่าร้อยละทีค่ �ำนวณไดใ้ นข้อ 1 เทียบกบั คะแนนเตม็ 5 คะแ นน ที่ไ ด้ = ร้อยละของผลรวมถ่วงน�ำ้ หนกั ของผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ประจำ� หลักสูตร x5 ร้อยละของผลรวมถ่วงน�ำ้ หนกั ของผลงานทางวชิ าการของอาจารยป์ ระจำ� หลักสตู ร ท่ีก�ำหนดใหเ้ ปน็ คะแนนเตม็ 5 กำ� หนดระดบั คุณภาพผลงานทางวชิ าการ ดังนี้ ค่าน้ำ�หนกั ระดับคณุ ภาพ 0.20 • บทความวจิ ัยหรือบทความวิชาการฉบบั สมบูรณ์ทต่ี พี มิ พใ์ นรายงานสบื เน่อื งจากการประชุมวชิ าการ 0.40 ระดับชาติ • บทความวิจยั หรือบทความวิชาการฉบบั สมบูรณ์ทต่ี ีพิมพ์ในรายงานสืบเนือ่ งจากการประชมุ วชิ าการ 0.60 ระดบั นานาชาติหรือในวารสารทางวิชาการระดบั ชาตทิ ไ่ี มอ่ ยู่ในฐานขอ้ มูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรอื 0.80 ระเบยี บคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาวา่ ด้วย หลักเกณฑก์ ารพจิ ารณาวารสารทางวิชาการส�ำหรับการ เผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบนั น�ำเสนอสภาสถาบันอนุมตั แิ ละจดั ท�ำเป็นประกาศ 1.00 ใหท้ ราบเปน็ การทัว่ ไป และแจง้ ให้ ก.พ.อ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นบั แต่วันท่อี อกประกาศ • ผลงานท่ีไดร้ ับการจดอนสุ ิทธิบัตร • บทความวจิ ัยหรอื บทความวิชาการที่ตพี มิ พใ์ นวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานขอ้ มลู TCI กลุม่ ที่ 2 • บทความวจิ ยั หรอื บทความวชิ าการท่ีตพี มิ พใ์ นวารสารวิชาการระดับนานาชาติทไ่ี มอ่ ยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา ว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์การพจิ ารณาวารสาร ทางวิชาการส�ำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบันน�ำเสนอสภาสถาบนั อนมุ ตั ิ และจดั ทำ� เปน็ ประกาศใหท้ ราบเปน็ การทว่ั ไป และแจง้ ให้ ก.พ.อ./กกอ. ทราบภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ท่ี ออกประกาศ (ซงึ่ ไมอ่ ยใู่ น Beall’s list) หรอื ตพี มิ พใ์ นวารสารวชิ าการทป่ี รากฏในฐานขอ้ มลู TCI กลมุ่ ที่ 1 • บทความวจิ ัยหรือบทความวิชาการท่ีตพี มิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติทป่ี รากฏในฐานข้อมลู ระดับนานาชาตติ ามประกาศ ก.พ.อ. หรอื ระเบยี บคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วยหลักเกณฑ์ การพจิ ารณาวารสารทางวชิ าการส�ำหรบั การเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ พ.ศ. 2556 • ผลงานได้รบั การจดสทิ ธบิ ัตร • ผลงานวชิ าการรบั ใชส้ ังคมทีไ่ ดร้ บั การประเมนิ ผ่านเกณฑ์การขอตำ� แหน่งทางวิชาการแลว้ • ผลงานวจิ ัยท่ีหนว่ ยงานหรือองคก์ รระดับชาติว่าจา้ งใหด้ �ำเนนิ การ • ผลงานค้นพบพันธ์ุพชื พันธุส์ ัตว์ ทค่ี น้ พบใหมแ่ ละไดร้ ับการจดทะเบียน • ตำ� ราหรอื หนังสอื หรอื งานแปลทไี่ ด้รบั การประเมนิ ผ่านเกณฑก์ ารขอต�ำแหน่งทางวิชาการแลว้ • ตำ� ราหรอื หนังสอื หรืองานแปลทีผ่ ่านการพจิ ารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำ� แหน่งทางวชิ าการ แตไ่ มไ่ ดน้ ำ� มาขอรับการประเมนิ ต�ำแหน่งทางวิชาการ 76 ค่มู อื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557

การส่งบทความเพื่อพิจารณาคัดเลือกให้น�ำเสนอในการประชุมวิชาการต้องส่งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) และเม่ือได้รับการตอบรับและตีพิมพ์แล้ว การตีพิมพ์ต้องตีพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ซึ่งสามารถ อยูใ่ นรปู แบบเอกสาร หรือส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ด้ กำ� หนดระดับคณุ ภาพงานสร้างสรรค์ ดงั น้ี ค่าน้ำ�หนกั ระดบั คุณภาพ 0.20 งานสร้างสรรค์ท่ีมกี ารเผยแพร่สูส่ าธารณะในลักษณะใดลกั ษณะหน่งึ หรอื ผ่านส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ Online 0.40 งานสร้างสรรค์ทไ่ี ดร้ บั การเผยแพร่ในระดับสถาบนั 0.60 งานสร้างสรรค์ทีไ่ ด้รบั การเผยแพร่ในระดับชาติ 0.80 งานสรา้ งสรรคท์ ไี่ ดร้ บั การเผยแพรใ่ นระดบั ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ 1.00 งานสรา้ งสรรค์ทไ่ี ด้รับการเผยแพรใ่ นระดับภมู ภิ าคอาเซยี น/นานาชาติ ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิน้ ตอ้ งผ่านการพจิ ารณาจากคณะกรรมการทมี่ ีองค์ประกอบไมน่ ้อยกวา่ 3 คน โดยมบี ุคคลภายนอกสถาบันร่วมพจิ ารณาดว้ ย จำ� นวนบทความของอาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู รปรญิ ญาเอกทไ่ี ดร้ บั การอา้ งองิ ในฐานขอ้ มลู TCI และ Scopus ตอ่ จ�ำนวนอาจารยป์ ระจ�ำหลกั สตู ร หลกั สตู รในระดบั ปรญิ ญาเอกถอื ไดว้ า่ เปน็ หลกั สตู รสงู สดุ ของสถาบนั การศกึ ษาเปน็ หลกั สตู รทส่ี ำ� คญั และเน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ดังน้ัน อาจารย์ประจ�ำหลักสูตร ระดบั ปรญิ ญาเอกจึงมีความสำ� คญั อย่างมากตอ่ หลกั สตู รนนั้ ๆ บทความวจิ ยั และบทความทางวชิ าการหรอื Review Article ของอาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู รปรญิ ญาเอก ทีไ่ ด้รบั การอา้ งองิ ยอ่ มแสดงให้เห็นว่าอาจารย์ประจ�ำหลกั สูตรปรญิ ญาเอกมีความสามารถ ในการทำ� วิจัยมี ผลงานท่ไี ดร้ บั การตพี มิ พใ์ นวารสารระดับชาตหิ รือนานาชาตใิ นฐานข้อมูล TCI และ Scopus และบทความ ที่ตีพิมพ์ได้รับการอ้างอิง แสดงให้เห็นว่ามีการน�ำไปใช้ประโยชน์และเป็นฐานในการพัฒนางานวิจัยใหม่ๆ ให้มีความก้าวหน้ามากข้ึน จ�ำนวนบทความของอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรที่ได้รับการอ้างอิงมากย่อมแสดง ใหเ้ ห็นว่าอาจารยป์ ระจ�ำหลักสตู รเป็นผ้ทู ี่มผี ลงานและไดร้ บั การยอมรับในวงวชิ าการนัน้ ๆ การคำ� นวณตัวบ่งชีน้ ี้ ใหเ้ ปรียบเทยี บจ�ำนวนบทความทีไ่ ดร้ บั การอา้ งองิ ตัง้ แต่หนึง่ ครัง้ ข้ึนไป รวมท้ัง การอ้างองิ ตนเอง ท่ีเปน็ ผลงานของอาจารย์ประจ�ำหลักสูตร ท่ตี ีพิมพใ์ นวารสารวิชาการระดับชาติ หรอื ระดบั นานาชาติ ตอ่ อาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู รปรญิ ญาเอกนนั้ โดยนำ� เสนอในรปู สดั สว่ น ทง้ั นี้ พจิ ารณาผลการดำ� เนนิ งาน 5 ปยี ้อนหลงั ตามปปี ฏทิ นิ ซงึ่ นับรวมปที ป่ี ระเมิน ค่มู อื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2557 77

เกณฑก์ ารประเมนิ กลมุ่ สาขาวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี อัตราส่วน จำ� นวนบทความที่ไดร้ บั การอา้ งอิงต่อจำ� นวนอาจารย์ประจ�ำหลักสูตร ทกี่ �ำหนดใหเ้ ป็นคะแนนเต็ม 5 = 2.5 ข้นึ ไป กลมุ่ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ อัตราส่วน จ�ำนวนบทความทไ่ี ด้รับการอ้างองิ ต่อจำ� นวนอาจารยป์ ระจำ� หลักสูตร ทก่ี �ำหนดให้ เป็นคะแนนเตม็ 5 = 3.0 ขึน้ ไป กลุม่ สาขาวิชามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ อัตราสว่ น จำ� นวนบทความที่ได้รบั การอา้ งองิ ตอ่ จ�ำนวนอาจารย์ประจ�ำหลกั สตู ร ที่กำ� หนดให้ เปน็ คะแนนเต็ม 5 = 0.25 ขนึ้ ไป สตู รการค�ำนวณ 1. อตั ราส่วนจ�ำนวนบทความทไี่ ดร้ บั การอา้ งอิงตอ่ จำ� นวนอาจารย์ประจ�ำหลักสูตร = จ�ำนวนบทความท่ไี ดร้ ับการอา้ งองิ จำ� นวนอาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู ร 2. แปลงคา่ ที่คำ� นวณไดใ้ นขอ้ 1 เทียบกบั คะแนนเต็ม 5 คะ แน นท ่ีได ้ = อตั ราส่วนจ�ำนวนบทความทไี่ ด้รับการอา้ งองิ ตอ่ จ�ำนวนอาจารย์ประจำ� หลกั สูตร x5 อตั ราสว่ นจ�ำนวนบทความที่ไดร้ บั การอ้างองิ ต่อจำ� นวนอาจารยป์ ระจ�ำหลกั สตู ร ท่กี ำ� หนดให้เปน็ คะแนนเตม็ 5 ตวั อยา่ งการหาอัตราสว่ นจำ� นวนบทความท่ีไดร้ ับการอา้ งองิ ต่อจ�ำนวนอาจารยป์ ระจำ� หลักสูตร ถ้าอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรระดับปริญญาเอกของหลักสูตรหน่ึงในกลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมีจ�ำนวน 5 คน โดยอาจารย์ทั้ง 5 คนมีผลงานตีพิมพ์บทความวิจัยหรือ Review article ในฐานขอ้ มูล TCI และ Scopus ในปี พ.ศ. 2553-2557 (ค.ศ. 2010-2014) ซง่ึ ดำ� เนนิ การประเมนิ คุณภาพ การศกึ ษาภายใน ของหลกั สตู รใน พ.ศ. 2557 (ประเมนิ ในปี ค.ศ. 2014) เปน็ ดังนี้ - จำ� นวนบทความทต่ี พี มิ พ์ของอาจารย์ ทั้ง 5 คนในฐานขอ้ มูล Scopus ระหว่าง ค.ศ. 2010-2014 เทา่ กบั 15 บทความ และจ�ำนวนบทความทต่ี ีพมิ พใ์ นฐานข้อมูลของ TCI เท่ากบั 5 บทความ - ในจำ� นวนนม้ี บี ทความ 8 บทความ ในฐานขอ้ มลู Scopus ทไ่ี ดร้ บั การอา้ งองิ อยา่ งนอ้ ย 1 ครงั้ และ มีบทความ 2 บทความทต่ี พี มิ พ์ในฐานขอ้ มูล TCI ได้รับการอา้ งองิ อย่างน้อย 1 ครัง้ 78 ค่มู ือการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

ดงั นน้ั อัตราสว่ นจ�ำนวนบทความทไี่ ดร้ บั การอ้างองิ ตอ่ จ�ำนวนอาจารย์ประจ�ำหลักสูตร = จำ� นวนบทความทไี่ ดร้ บั การอา้ งองิ อย่างนอ้ ย 1 ครั้ง = 8+2 = 10 = 2.0 5 5 จำ� นวนอาจารยป์ ระจ�ำหลกั สตู รทง้ั หมด นำ� มา ค�ำน วณ คะ แน น = 2.0 x 5 = 4.0 คะแนน 2.5 ตวั บ่งชี้ท่ี 4.3 ผลที่เกดิ กับอาจารย์ ชนดิ ของตัวบ่งช้ี ผลลพั ธ์ ค�ำอธบิ ายตวั บ่งชี้ ผลการประกนั คณุ ภาพ ตอ้ งนำ� ไปสกู่ ารมอี ตั รากำ� ลงั อาจารยท์ มี่ จี ำ� นวนเหมาะสมกบั จำ� นวนนกั ศกึ ษา ท่รี ับเข้าในหลกั สูตร อตั ราคงอยขู่ องอาจารย์สงู และอาจารย์มีความพงึ พอใจตอ่ การบรหิ ารหลกั สูตร ในการรายงานการดำ� เนนิ งานตามตวั บง่ ชนี้ ใี้ หอ้ ธบิ ายกระบวนการหรอื แสดงผลการดำ� เนนิ งาน ในประเดน็ ต่อไปน้ี - การคงอยู่ของอาจารย์ - ความพงึ พอใจของอาจารย์ เกณฑก์ ารประเมิน 01 2 3 4 5 • ไมม่ ีการ • มีการ • มกี าร • มกี ารรายงาน • มีการรายงาน • มกี ารรายงานผลการ รายงาน รายงาน รายงานผล ผลการ ผลการดำ� เนินงาน ดำ� เนนิ งานครบทุกเรอื่ ง ผลการ ผลการ การดำ� เนนิ งาน ดำ� เนนิ งาน ครบทกุ เรอ่ื ง ตามค�ำอธิบายในตวั บง่ ชี้ ด�ำเนินงาน ด�ำเนินงาน ครบทกุ เรือ่ ง ครบทกุ เร่ือง ตามค�ำอธบิ าย • มแี นวโน้มผลการด�ำเนินงาน ในบางเร่อื ง ตาม ตาม ในตวั บง่ ช้ี ที่ดีขึ้นในทุกเรื่อง คำ� อธิบาย คำ� อธิบาย • มแี นวโน้ม • มีผลการด�ำเนนิ งานทีโ่ ดดเดน่ ในตวั บ่งชี้ ในตัวบ่งชี้ การด�ำเนนิ งาน เทยี บเคียงกบั หลักสตู รนนั้ • มแี นวโนม้ ทีด่ ขี ้นึ ในทุกเร่อื ง ในสถาบนั กลมุ่ เดียวกันโดยมี ผลการ หลักฐานเชงิ ประจักษย์ ืนยนั ด�ำเนนิ งาน และกรรมการผตู้ รวจประเมนิ ท่ีดขี นึ้ สามารถใหเ้ หตุผลอธิบายว่า ในบางเร่ือง เปน็ ผลการด�ำเนินงานท่ี โดดเด่นอยา่ งแทจ้ รงิ คู่มือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 79

องคป์ ระกอบที่ 5 หลกั สตู ร การเรยี นการสอน การประเมินผเู้ รยี น แม้ทุกหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาเปิดสอนต้องผ่านการรับรองจากส�ำนักงานคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษา และมีการปรบั ปรุงทกุ 5 ปี แต่ผบู้ ริหารต้องรับผิดชอบในการควบคุมกำ� กับการบรหิ ารจัดการ หลกั สตู รใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รควรมบี ทบาทหนา้ ท่ี ในการบริหารจัดการ 3 ด้านท่ีส�ำคัญ คือ (1) สาระของรายวิชาในหลักสูตร (2) การวางระบบผู้สอน และกระบวนการเรียนการสอน (3) การประเมินผู้เรียน ระบบประกันคุณภาพในการด�ำเนินการหลักสูตร ประกอบด้วย หลักสูตร การเรียนการสอน และการประเมินผู้เรียน เพื่อให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิตามทีส่ �ำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษาก�ำหนด ตวั บ่งช้ใี นการประเมนิ ตอ้ งให้ความสำ� คญั กบั การก�ำหนดรายวิชาที่มีเนื้อหาที่ทันสมัย ก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการที่เปล่ียนแปลงตลอดเวลา รวมทง้ั การวางระบบผสู้ อนและอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา ซงึ่ ตอ้ งเปน็ บคุ คลทมี่ คี วามรู้ ความเชย่ี วชาญ ประสบการณ์ และมคี ณุ สมบตั เิ หมาะสมในการพฒั นานกั ศกึ ษาใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทเี่ นน้ นกั ศกึ ษา เป็นสำ� คัญ และสง่ เสริมทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 การประกนั คุณภาพหลักสตู รในองค์ประกอบนี้พจิ ารณาไดจ้ ากตัวบง่ ชด้ี งั ต่อไปน้ี ตัวบ่งชท้ี ่ี 5.1 สาระของรายวชิ าในหลักสูตร ตัวบ่งชที้ ่ี 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจดั การเรยี นการสอน ตวั บ่งชท้ี ี่ 5.3 การประเมินผ้เู รยี น ตวั บ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำ� เนนิ งานหลกั สตู รตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ 80 คู่มือการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

ตัวบง่ ชที้ ี่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสตู ร ชนิดของตัวบง่ ช้ี กระบวนการ คำ� อธิบายตัวบง่ ช้ี แม้ทุกหลักสูตรท่ีสถาบันการศึกษาเปิดให้บริการต้องผ่านการรับทราบจากส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และมีการปรับปรุงทุก 5 ปี แต่ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องมีการออกแบบหลักสูตรควบคุม ก�ำกับการจัดการรายวิชาต่างๆ ให้มีเน้ือหาที่ทันสมัยก้าวหน้าทางวิทยาการที่เปล่ียนแปลงตลอดเวลา มีการบริหารจัดการการเปิดรายวิชาต่างๆ ท้ังวิชาบังคับและวิชาเลือกท่ีเน้นกับนักศึกษาเป็นส�ำคัญ โดยสนองความต้องการของนักศึกษา และตลาดแรงงาน ส�ำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาต้องเน้น การพฒั นาทกั ษะด้านการวจิ ยั และการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ในการรายงานการด�ำเนินงานตามตัวบ่งช้ีนี้ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการด�ำเนินงาน อย่างนอ้ ยให้ครอบคลุมประเด็นตอ่ ไปน้ี - การออกแบบหลกั สูตรและสาระรายวชิ าในหลักสตู ร - การปรบั ปรงุ หลกั สูตรใหท้ นั สมยั ตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานัน้ ๆ ในการประเมนิ เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ อยใู่ นระดบั คะแนนใดใหพ้ จิ ารณาในภาพรวมของผลการดำ� เนนิ งาน ทงั้ หมดทที่ ำ� ใหห้ ลกั สตู รมคี วามทนั สมยั สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและความตอ้ งการ ของประเทศ เกณฑ์การประเมิน 01 23 4 5 • ไม่มรี ะบบ • มรี ะบบ • มีระบบ มีกลไก • ไม่มีกลไก มกี ลไก • มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ มกี ลไก • มกี ารน�ำระบบ กลไกไปสู่ • ไมม่ ีแนวคดิ • ไมม่ กี ารน�ำ มกี ลไก มกี ลไก • มกี ารน�ำระบบ การปฏบิ ัต/ิ ด�ำเนนิ งาน ในการกำ� กับ ระบบกลไก • มีการน�ำ • มกี ารนำ� กลไกไปสู่ • มกี ารประเมนิ กระบวนการ ติดตามและ ไปสกู่ าร ระบบกลไก ระบบกลไก การปฏิบตั ิ/ • มกี ารปรบั ปรงุ /พัฒนา ปรบั ปรุง ปฏบิ ตั /ิ ไปสกู่ าร ไปสู่การ ด�ำเนนิ งาน กระบวนการจากผล • ไม่มขี อ้ มลู ด�ำเนินงาน ปฏิบตั /ิ ปฏบิ ัติ/ • มกี ารประเมนิ การประเมิน หลักฐาน ดำ� เนนิ งาน ด�ำเนินงาน กระบวนการ • มีผลจากการปรับปรงุ • มีการประเมนิ • มกี ารประเมนิ • มีการปรบั ปรุง/ เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม กระบวนการ กระบวนการ พฒั นา • มีแนวทางปฏบิ ตั ิที่ดโี ดยมี • ไมม่ ีการ • มีการ กระบวนการ หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ปรับปรุง/ ปรับปรงุ / จากผล ยืนยนั และกรรมการผตู้ รวจ พฒั นา พฒั นา การประเมิน ประเมิน สามารถใหเ้ หตุผล กระบวนการ กระบวนการ • มผี ลจากการ อธบิ าย การเปน็ แนวปฏิบตั ิ จากผลการ ปรับปรุงเห็น ท่ีดไี ด้ชดั เจน ประเมนิ ชัดเจนเปน็ รูปธรรม คู่มือการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 81

ตัวบ่งช้ที ่ี 5.2 การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ชนดิ ของตวั บง่ ช้ี กระบวนการ คำ� อธบิ ายตวั บง่ ชี้ หลกั สตู รตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั การวางระบบผสู้ อนในแตล่ ะรายวชิ า โดยคำ� นงึ ถงึ ความรคู้ วามสามารถ และความเช่ียวชาญในวิชาที่สอน และเป็นความรู้ท่ีทันสมัยของอาจารย์ท่ีมอบหมายให้สอนในวิชาน้ันๆ เพ่ือใหน้ ักศกึ ษาไดร้ ับความรู้ประสบการณ์ และได้รบั การพฒั นาความสามารถจากผู้รจู้ ริง ส�ำหรับหลักสตู ร ระดับบัณฑิตศึกษา ต้องให้ความส�ำคัญกับการก�ำหนดหัวข้อวิทยานิพนธ์ การก�ำหนดอาจารย์ที่ปรึกษา วทิ ยานพิ นธ์ การคน้ ควา้ อสิ ระทเี่ หมาะสมกบั หวั ขอ้ วทิ ยานพิ นธ์ การคน้ ควา้ อสิ ระ และลกั ษณะของนกั ศกึ ษา ให้นักศึกษาไดร้ ับโอกาสและการพฒั นาตนเองเต็มตามศกั ยภาพ อาจารยท์ ปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธ์ การค้นคว้า อิสระต้องสามารถให้ค�ำปรึกษาวิทยานิพนธ์การค้นคว้าอิสระตั้งแต่กระบวนการ พัฒนาหัวข้อจนถึงการท�ำ วทิ ยานพิ นธ์ การคน้ ควา้ อิสระ การสอบป้องกนั และการเผยแพร่ผลงานวจิ ัย จนสำ� เร็จการศึกษา กระบวนการเรียนการสอนส�ำหรับยุคศตวรรษท่ี 21 ต้องเน้นการพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ ตาม โครงสร้างหลักสูตรท่ีก�ำหนด และได้รับการพัฒนาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ คุณธรรมจริยธรรม ทักษะ การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทกั ษะการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ทกั ษะทางภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ ทกั ษะการทางานแบบมสี ่วนรว่ ม ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการดูแลสขุ ภาพ ฯลฯ การเรียนการสอนสมัยใหม่ต้องใช้สื่อเทคโนโลยี และท�ำให้นักศึกษาเรียนรู้ได้ตลอดเวลา และในสถานที่ใด ก็ได้ ผู้สอนมีหน้าท่ีเป็นผู้อ�ำนวยความสะดวกให้เกิดการเรียนรู้ และสนับสนุนการเรียนรู้ ส�ำหรับหลักสูตร ระดบั บณั ฑติ ศึกษา เทคนิคการสอนจะเน้นการวจิ ัยเป็นฐาน การเรยี นแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เปน็ ต้น ในการรายงานการด�ำเนินงานตามตัวบ่งชี้น้ี ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการด�ำเนินงาน ในอย่างน้อยให้ครอบคลมุ ประเด็นต่อไปนี้ - การกำ� หนดผู้สอน - การกำ� กับ ติดตาม และตรวจสอบการจดั ทำ� แผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจัดการเรียนการสอน - การจัดการเรยี นการสอนในระดบั ปริญญาตรที ี่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบรกิ ารวชิ าการทางสงั คม และการท�ำนุบำ� รงุ ศิลปะและวัฒนธรรม - การควบคุมหัวข้อวทิ ยานิพนธ์และการค้นควา้ อสิ ระในระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ให้สอดคล้องกับสาขาวชิ าและความก้าวหน้าของศาสตร์ - การแตง่ ตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวทิ ยานพิ นธแ์ ละการค้นควา้ อิสระในระดบั บณั ฑิตศึกษา ทมี่ ีความเชี่ยวชาญสอดคลอ้ งหรือสัมพันธ์กบั หวั ขอ้ วทิ ยานพิ นธ์ - การชว่ ยเหลือ กำ� กับ ตดิ ตามในการทำ� วิทยานพิ นธ์และการค้นควา้ อิสระ และการตพี มิ พ์ผลงานในระดบั บณั ฑิตศกึ ษา 82 ค่มู ือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557

ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผล การด�ำเนินงานทั้งหมด ท่ีท�ำให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนตอบสนองความแตกต่างของ ผเู้ รยี นการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั กอ่ ใหเ้ กดิ ผลการเรยี นรบู้ รรลตุ ามเปา้ หมาย เกณฑ์การประเมนิ 01 23 4 5 • ไม่มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ มกี ลไก • ไม่มกี ลไก มกี ลไก • มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ มกี ลไก • มกี ารน�ำระบบ กลไกไปสู่ • ไมม่ แี นวคิด • ไม่มกี ารน�ำ มกี ลไก มกี ลไก • มกี ารน�ำระบบ การปฏิบัติ/ด�ำเนนิ งาน ในการก�ำกบั ระบบกลไก • มกี ารน�ำ • มีการน�ำ กลไกไปสู่ • มกี ารประเมินกระบวนการ ตดิ ตามและ ไปสกู่ าร ระบบกลไก ระบบกลไก การปฏบิ ัติ/ • มีการปรับปรุง/พัฒนา ปรบั ปรุง ปฏบิ ตั /ิ ไปสูก่ าร ไปสกู่ าร ดำ� เนนิ งาน กระบวนการจากผล • ไมม่ ีข้อมลู ด�ำเนินงาน ปฏบิ ัติ/ ปฏิบัติ/ • มีการประเมนิ การประเมนิ หลักฐาน ดำ� เนินงาน ด�ำเนนิ งาน กระบวนการ • มผี ลจากการปรบั ปรงุ • มกี ารประเมิน • มีการประเมนิ • มกี ารปรับปรงุ / เหน็ ชัดเจนเป็นรูปธรรม กระบวนการ กระบวนการ พฒั นา • มแี นวทางปฏิบัติทด่ี โี ดยมี • ไมม่ กี าร • มกี าร กระบวนการ หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ปรับปรงุ / ปรับปรุง/ จากผล ยนื ยนั และกรรมการผตู้ รวจ พฒั นา พัฒนา การประเมิน ประเมนิ สามารถใหเ้ หตุผล กระบวนการ กระบวนการ • มผี ลจากการ อธิบาย การเปน็ แนวปฏบิ ัติ จากผลการ ปรับปรุงเห็น ทดี่ ีได้ชัดเจน ประเมนิ ชดั เจนเปน็ รูปธรรม คู่มือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 83

ตวั บง่ ชท้ี ่ี 5.3 การประเมนิ ผ้เู รยี น ชนิดของตวั บง่ ช้ี กระบวนการ คำ� อธบิ ายตัวบ่งชี้ การประเมินนักศกึ ษามจี ุดมุง่ หมาย 3 ประการ คือ การประเมินผลนักศกึ ษาเพื่อใหข้ อ้ มูลสารสนเทศ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงการเรียนการสอนของผู้สอน และน�ำไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (assessment for learning) การประเมินทีท่ ำ� ใหน้ ักศกึ ษาสามารถประเมนิ ตนเองเปน็ และมีการน�ำผลการ ประเมินไปใช้ในการพัฒนาวิธีการเรียนของตนเองใหม่จนเกิดการเรียนรู้ (assessment as learning) และ การประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาที่แสดงผลลัพธ์การเรียนรู้ท่ีคาดหวังของหลักสูตร (assessment of learning) การประเมนิ ส่วนใหญ่จะใช้เพอ่ื จุดม่งุ หมายประการหลัง คือ เนน้ การได้ขอ้ มูลเก่ียวกับสัมฤทธผิ ล การเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษาการจดั การเรยี นการสอนจงึ ควรสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารประเมนิ เพอื่ จดุ มงุ่ หมายสองประการ แรกด้วย ท้ังนี้ ความเหมาะสมของระบบประเมินต้องให้ความส�ำคัญกับการก�ำหนดเกณฑ์การประเมิน วิธีการประเมิน เคร่ืองมือประเมินท่ีมีคุณภาพและวิธีการให้เกรดที่สะท้อนผลการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม มีการกำ� กับใหม้ กี ารประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) มีการใชว้ ิธีการประเมินทหี่ ลากหลาย ให้ผลการประเมินท่ีสะท้อนความสามารถในการปฏิบัติงานในโลกแห่งความเป็นจริง (real world) และมี วิธกี ารให้ข้อมูลปอ้ นกลบั (feedback) ท่ที �ำใหน้ กั ศกึ ษาสามารถแก้ไขจุดอ่อนหรอื เสรมิ จดุ แขง็ ของตนเองได้ ให้ผลการประเมินที่สะท้อนระดับความสามารถท่ีแท้จริงของนักศึกษา ส�ำหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั การวางระบบประเมนิ วิทยานพิ นธ์ การค้นคว้าอิสระทม่ี คี ุณภาพดว้ ย ในการรายงานการด�ำเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการด�ำเนินงาน อยา่ งน้อยให้ครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปน้ี - การประเมินผลการเรยี นร้ตู ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ - การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของนกั ศึกษา - การกำ� กบั การประเมนิ การจดั การเรยี นการสอนและประเมนิ หลกั สตู ร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) - การประเมนิ วิทยานิพนธแ์ ละการคน้ ควา้ อสิ ระในระดับบัณฑิตศึกษา ในการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของ ผลการด�ำเนินงานท้ังหมดที่สะท้อนสภาพจริงด้วยวิธีการหรือเครื่องมือประเมินที่เช่ือถือได้ ให้ ข้อมูลทีช่ ่วยใหผ้ ูส้ อนและผูเ้ รยี นมแี นวทางในการปรบั ปรงุ พฒั นาการเรียนการสอนตอ่ ไป 84 คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

เกณฑ์การประเมิน 01 23 4 5 • ไมม่ รี ะบบ • มรี ะบบ • มีระบบ มีกลไก • ไมม่ กี ลไก มกี ลไก • มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ มกี ลไก • มกี ารนำ� ระบบ กลไกไปสู่ • ไมม่ ีแนวคดิ • ไมม่ ีการนำ� มกี ลไก มกี ลไก • มีการน�ำระบบ การปฏบิ ัต/ิ ดำ� เนนิ งาน ในการก�ำกับ ระบบกลไก • มีการนำ� • มกี ารนำ� กลไกไปสู่ • มีการประเมนิ กระบวนการ ติดตามและ ไปสกู่ าร ระบบกลไก ระบบกลไก การปฏิบตั /ิ • มีการปรบั ปรงุ /พัฒนา ปรับปรุง ปฏบิ ตั /ิ ไปสู่การ ไปสกู่ าร ด�ำเนินงาน กระบวนการจากผล • ไม่มขี อ้ มลู ด�ำเนนิ งาน ปฏิบตั ิ/ ปฏิบตั /ิ • มีการประเมิน การประเมิน หลักฐาน ดำ� เนนิ งาน ด�ำเนินงาน กระบวนการ • มีผลจากการปรบั ปรงุ • มกี ารประเมิน • มกี ารประเมิน • มกี ารปรับปรงุ / เหน็ ชดั เจนเปน็ รปู ธรรม กระบวนการ กระบวนการ พัฒนา • มีแนวทางปฏิบัตทิ ีด่ โี ดยมี • ไม่มกี าร • มีการ กระบวนการ หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ปรบั ปรงุ / ปรับปรุง/ จากผล ยืนยนั และกรรมการผตู้ รวจ พัฒนา พฒั นา การประเมิน ประเมนิ สามารถใหเ้ หตุผล กระบวนการ กระบวนการ • มผี ลจากการ อธิบาย การเป็นแนวปฏบิ ตั ิ จากผลการ ปรับปรุงเหน็ ทดี่ ีไดช้ ดั เจน ประเมนิ ชดั เจนเป็น รูปธรรม คูม่ ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 85

ตัวบ่งชีท้ ี่ 5.4 ผลการดำ� เนนิ งานหลกั สูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ ชนิดของตัวบ่งช้ี ผลลพั ธ์ คำ� อธบิ ายตัวบง่ ช้ี ผลการด�ำเนินงานของหลักสูตร หมายถึง ร้อยละของผลการด�ำเนินงานตามตัวบ่งช้ีการด�ำเนินงาน ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศึกษาที่ปรากฏในหลกั สตู ร (มคอ.2) หมวดที่ 7 ข้อ 7 ทหี่ ลกั สูตรแต่ละ หลกั สตู รดำ� เนนิ งานไดใ้ นแตล่ ะปกี ารศกึ ษา อาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู รจะเปน็ ผรู้ ายงานผลการดำ� เนนิ งานประจำ� ปี ในแบบรายงานผลการดำ� เนนิ การของหลักสตู ร (มคอ.7) เกณฑ์การประเมนิ มีการดำ� เนินงานนอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ของตวั บ่งช้ีผลการดำ� เนนิ งานทร่ี ะบไุ ว้ในแต่ละปี มีคา่ คะแนน เท่ากับ 0 มีการดำ� เนินงานรอ้ ยละ 80 ของตัวบ่งชผี้ ลการด�ำเนินงานทรี่ ะบุไว้ในแตล่ ะปี มคี า่ คะแนนเท่ากับ 3.50 มกี ารดำ� เนนิ งานรอ้ ยละ 80.01-89.99 ของตวั บง่ ชผ้ี ลการดำ� เนนิ งานทรี่ ะบไุ วใ้ นแตล่ ะปี มคี า่ คะแนนเทา่ กบั 4.00 มกี ารดำ� เนนิ งานรอ้ ยละ 90.00-94.99 ของตวั บง่ ชผ้ี ลการดำ� เนนิ งานทรี่ ะบไุ วใ้ นแตล่ ะปี มคี า่ คะแนนเทา่ กบั 4.50 มกี ารดำ� เนนิ งานรอ้ ยละ 95.00-99.99 ของตวั บง่ ชผ้ี ลการดำ� เนนิ งานทร่ี ะบไุ วใ้ นแตล่ ะปี มคี า่ คะแนนเทา่ กบั 4.75 มีการด�ำเนนิ งานร้อยละ 100 ของตวั บ่งชผ้ี ลการด�ำเนนิ งานทรี่ ะบุไวใ้ นแตล่ ะปี มคี ่าคะแนนเท่ากบั 5 หมายเหตุ : คณะกรรมการการอุดมศึกษาได้มีประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง แนวทางการปฏิบัติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2558 ลงวันท่ี 26 พฤศจกิ ายน 2558 ไดก้ �ำหนดแนวทางการปฏบิ ัตติ ามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติเพ่มิ เติมไว้ ดังนี้ ขอ้ 2 ระบวุ า่ “กรณที สี่ ถาบนั อดุ มศกึ ษาจะจดั ทำ� รายละเอยี ดของรายวชิ า รายละเอยี ดของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ามี) รายงานผลการด�ำเนินงานของรายวิชา รายงานผลการด�ำเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ามี) และรายงานผลการด�ำเนินงานของหลักสูตรในลักษณะอ่ืน สถาบันอุดมศึกษาสามารถ ด�ำเนินการจัดท�ำระบบเกบ็ ข้อมลู รายละเอยี ดตามแนวทางของ มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 โดยสามารถปรบั เปลยี่ นหัวขอ้ รายละเอยี ดให้เหมาะสมกบั บรบิ ทเฉพาะของสถาบนั อดุ มศกึ ษานนั้ ๆ ได้ ทัง้ นี้ ใหค้ ำ� นึงถึงเจตนารมณข์ องการจัดทำ� มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7” ข้อ 3 ระบุวา่ “ใหถ้ ือว่า ตวั บ่งชผี้ ลการดำ� เนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ จ�ำนวน 12 ตัวบง่ ช้ี เปน็ เพียงแนวทางเท่าน้ัน โดยสถาบันอุดมศึกษาสามารถก�ำหนดตัวบ่งชี้ผลการด�ำเนินงานตามกรอบมาตรฐาน คณุ วฒุ ไิ ดเ้ อง ซง่ึ แตล่ ะหลกั สตู รมอี สิ ระในการกำ� หนดตวั บง่ ชผี้ ลการดำ� เนนิ งานทใี่ ชใ้ นการตดิ ตาม ประเมนิ และ รายงานคณุ ภาพของหลกั สตู รประจำ� ปที รี่ ะบไุ วใ้ นหมวด 1-6 ของแตล่ ะหลกั สตู ร ตามบรบิ ทและวตั ถปุ ระสงค์ ในการผลิตบณั ฑติ ทั้งนี้ ตอ้ งไดร้ บั ความเห็นชอบหรืออนมุ ัติจากสภาสถาบนั อุดมศกึ ษา ในระหวา่ งท่สี ถาบนั อดุ มศกึ ษายังไม่สามารถเสนอขอปรับตัวบ่งช้ใี หมไ่ ดแ้ ล้วเสรจ็ ใหใ้ ชต้ ัวบ่งชเี้ ดิมก่อนได้ หรือหากหลกั สูตรใด มคี วามประสงคก์ ำ� หนดตวั บง่ ชแี้ บบเดิมกส็ ามารถกระทำ� ได้ กรณหี ลกั สตู รมกี ารปรบั ตวั บง่ ชใ้ี หม่ ใหน้ ำ� เสนอ สำ� นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบในการปรบั ปรงุ หลักสูตรครั้งตอ่ ไป” 86 คมู่ อื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2557

องคป์ ระกอบท่ี 6 ส่ิงสนับสนุนการเรยี นรู้ ในการด�ำเนนิ การบริหารหลักสตู ร จะตอ้ งมีปัจจยั ท่ีส�ำคญั อกี ประการหน่งึ คือ สิ่งสนบั สนนุ การเรียนรู้ ซง่ึ ประกอบด้วย ความพร้อมทางกายภาพ ความพรอ้ มด้านอปุ กรณ์ ความพรอ้ มดา้ นเทคโนโลยี ความพร้อม ดา้ นการให้บรกิ าร เช่น หอ้ งเรยี น หอ้ งปฏิบตั กิ าร ห้องทำ� วิจัย อปุ กรณก์ ารเรียนการสอน หอ้ งสมุด การบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ Wifi และอื่นๆ รวมท้ังการบ�ำรุงรักษาท่ีส่งเสริม สนับสนุนให้นักศึกษา สามารถเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล ตามมาตรฐานผลการเรยี นรทู้ กี่ ำ� หนดตามกรอบมาตรฐาน คณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ โดยพจิ ารณารว่ มกบั ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาและอาจารย์ องคป์ ระกอบด้านสงิ่ สนบั สนุนการเรยี นรจู้ ะพิจารณาได้จาก ตัวบง่ ชี้ 6.1 สิ่งสนบั สนุนการเรยี นรู้ คมู่ อื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 87

ตัวบง่ ช้ที ี่ 6.1 สิง่ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ ชนิดของตัวบง่ ช้ี กระบวนการ ค�ำอธบิ ายตัวบ่งช้ี ความพรอ้ มของสง่ิ สนับสนนุ การเรยี นการสอนมหี ลายประการ ไดแ้ ก่ ความพรอ้ มทางกายภาพ เช่น ห้องเรียน ห้องปฏบิ ตั ิการ ท่พี กั ของนกั ศกึ ษา ฯลฯ และความพร้อมของอปุ กรณ์ เทคโนโลยี และสิ่งอำ� นวย ความสะดวกหรอื ทรพั ยากรทเี่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ เชน่ อปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน หอ้ งสมดุ หนงั สอื ตำ� รา สง่ิ พมิ พ์ วารสาร ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น แหล่งเรียนรู้ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ ส่ิงสนับสนุนเหล่านี้ ต้องมีปริมาณ เพยี งพอ และมคี ณุ ภาพพรอ้ มใชง้ าน ทนั สมยั โดยพจิ ารณาการดำ� เนนิ การปรบั ปรงุ พฒั นาจากผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ ในการรายงานการด�ำเนินงานตามตัวบ่งช้ีนี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการด�ำเนินงาน อยา่ งนอ้ ยใหค้ รอบคลุมประเด็นต่อไปนี้ - ระบบการดำ� เนนิ งานของภาควชิ า/คณะ/สถาบนั โดยมสี ว่ นรว่ มของอาจารยป์ ระจำ� หลกั สตู รเพอ่ื ให้ มสี ิง่ สนับสนุนการเรยี นรู้ - จำ� นวนสง่ิ สนับสนุนการเรียนรู้ที่เพยี งพอและเหมาะสมตอ่ การจัดการเรยี นการสอน - กระบวนการปรบั ปรงุ ตามผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาและอาจารยต์ อ่ สงิ่ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ ในการประเมนิ เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ อยใู่ นระดบั คะแนนใด ใหพ้ จิ ารณาในภาพรวมของผลการดำ� เนนิ งาน ท้ังหมดท่ีสะท้อนการจัดเตรียมส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีจ�ำเป็นต่อการเรียนการสอน และส่งผลให้ ผเู้ รยี นสามารถเรียนรไู้ ดอ้ ย่างมีประสิทธิผล เกณฑ์การประเมิน 01 2 3 4 5 • ไมม่ ีระบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ • มรี ะบบ มกี ลไก • มรี ะบบ มีกลไก • ไม่มกี ลไก มกี ลไก มกี ลไก มกี ลไก • มกี ารนำ� ระบบ • มีการน�ำระบบ กลไกไปสู่ • ไม่มแี นวคดิ • ไม่มกี ารน�ำ • มีการนำ� • มีการนำ� กลไกไปสู่ การปฏิบัติ/ด�ำเนนิ งาน ในการกำ� กับ ระบบกลไก ระบบกลไก ระบบกลไก การปฏบิ ตั /ิ • มกี ารประเมนิ กระบวนการ ติดตามและ ไปสกู่ าร ไปสู่การ ไปส่กู าร ดำ� เนินงาน • มกี ารปรับปรุง/พัฒนา ปรับปรุง ปฏบิ ตั /ิ ปฏิบัต/ิ ปฏบิ ัติ/ • มกี ารประเมนิ กระบวนการจากผล • ไมม่ ีข้อมลู ดำ� เนินงาน ด�ำเนนิ งาน ดำ� เนินงาน กระบวนการ การประเมนิ หลักฐาน • มีการประเมิน • มีการประเมิน • มกี ารปรับปรุง/ • มผี ลจากการปรับปรุง กระบวนการ กระบวนการ พฒั นา เห็นชัดเจนเป็นรปู ธรรม • ไม่มกี าร • มีการ กระบวนการ • มแี นวทางปฏิบัตทิ ี่ดีโดยมี ปรบั ปรุง/ ปรับปรุง/ จากผล หลักฐานเชงิ ประจักษ์ พัฒนา พัฒนา การประเมนิ ยืนยันและกรรมการผตู้ รวจ กระบวนการ กระบวนการ • มผี ลจากการ ประเมนิ สามารถใหเ้ หตุผล จากผลการ ปรับปรุงเห็น อธบิ าย การเป็นแนวปฏิบตั ิ ประเมิน ชดั เจนเปน็ ที่ดีได้ชดั เจน รูปธรรม 88 คมู่ ือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2557

บทที่ 5 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ ระดับคณะ ประกอบดว้ ย ผลการด�ำเนนิ งานระดบั หลักสูตร และเพมิ่ เติมตวั บง่ ชท้ี ด่ี ำ� เนินการ ในระดับคณะ จำ� นวนรวม 13 ตัวบ่งชี้ ดงั น้ี องคป์ ระกอบในการ ตวั บง่ ชี้ เกณฑ์พจิ ารณา ประกันคุณภาพคณะ 1. การผลติ บัณฑิต 1.1 ผลการบรหิ ารจัดการหลักสูตรโดยรวม ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินของ ทุกหลกั สูตรท่คี ณะรับผิดชอบ 2. การวจิ ยั 1.2 อาจารย์ประจ�ำคณะที่มีคุณวุฒิ ร้อยละของอาจารยป์ ระจำ� คณะ ปรญิ ญาเอก ท่ีมีคุณวุฒปิ ริญญาเอก 3. การบรกิ ารวชิ าการ 1.3 อาจารย์ประจำ� คณะทดี่ �ำรงต�ำแหน่ง ร้อยละของอาจารย์ประจำ� คณะ 4. การท�ำนบุ ำ� รงุ ศิลปะ ทางวชิ าการ ทดี่ �ำรงต�ำแหนง่ ทางวชิ าการ และวัฒนธรรม 1.4 จำ� นวนนกั ศกึ ษาเตม็ เวลาเทยี บเทา่ สัดส่วนจ�ำนวนนักศกึ ษาเต็มเวลา 5. การบริหารจัดการ ตอ่ จำ� นวนอาจารยป์ ระจำ� เทยี บเทา่ ต่อจ�ำนวนอาจารย์ประจำ� 1.5 การบริการนักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี เกณฑ์มาตรฐาน 6 ข้อ 1.6 กจิ กรรมนกั ศึกษาระดับปริญญาตรี เกณฑม์ าตรฐาน 6 ข้อ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพฒั นา เกณฑ์มาตรฐาน 6 ข้อ งานวจิ ัยหรืองานสร้างสรรค์ 2.2 เงนิ สนบั สนนุ งานวิจัยและงานสรา้ งสรรค์ เงินสนับสนนุ งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ทง้ั ภายในและภายนอก ต่อจ�ำนวน 2.3 ผลงานทางวชิ าการของอาจารยป์ ระจำ� อาจารยป์ ระจำ� และนกั วิจัย และนักวจิ ยั ผลงานทางวิชาการทุกประเภท 3.1 การบริการวิชาการแกส่ ังคม ตอ่ อาจารยป์ ระจำ� และนกั วจิ ัย 4.1 ระบบและกลไกการท�ำนบุ �ำรงุ ศิลปะ เกณฑม์ าตรฐาน 6 ขอ้ และวัฒนธรรม เกณฑ์มาตรฐาน 7 ข้อ 5.1 การบริหารของคณะเพ่ือการก�ำกบั ตดิ ตามผลลพั ธต์ ามพันธกิจ กล่มุ สถาบัน เกณฑม์ าตรฐาน 7 ขอ้ และเอกลักษณ์ของคณะ 5.2 ระบบก�ำกบั การประกันคุณภาพ หลักสูตร เกณฑ์มาตรฐาน 6 ข้อ คูม่ ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 89

องคป์ ระกอบท่ี 1 การผลิตบัณฑติ พนั ธกจิ ทสี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษา คอื การผลติ บณั ฑติ หรอื การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรใู้ นวชิ าการและวชิ าชพี มคี ณุ ลกั ษณะตามหลกั สตู รทก่ี ำ� หนด การเรยี นการสอนในยคุ ปจั จบุ นั ใช้หลกั การของการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่เี น้นผูเ้ รียนเป็นสำ� คญั ดงั นน้ั พนั ธกจิ ดังกลา่ วจึงเกีย่ วขอ้ งกับการ บรหิ ารจดั การหลกั สตู รและการเรยี นการสอน เรมิ่ ตงั้ แตก่ ารกำ� หนดปจั จยั นำ� เขา้ ทไ่ี ดม้ าตรฐานตามทก่ี ำ� หนด ประกอบด้วย การมีอาจารย์ท่ีมีปริมาณและคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตร มีกระบวนการบริหารจัดการ การเรียนการสอนท่ีอาศัยหลักการร่วมมือรวมพลังของทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ท้ังภายในและภายนอกสถาบัน ตวั บ่งชี้ จำ� นวน 6 ตัวบง่ ชี้ คอื ตวั บ่งชีท้ ่ ี 1.1 ผลการบรหิ ารจดั การหลกั สูตรโดยรวม ตวั บง่ ชี้ที ่ 1.2 อาจารยป์ ระจำ� คณะท่มี ีคณุ วฒุ ปิ รญิ ญาเอก ตวั บง่ ชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจ�ำคณะท่ีดำ� รงต�ำแหน่งทางวิชาการ ตัวบง่ ชท้ี ่ ี 1.4 จำ� นวนนกั ศกึ ษาเตม็ เวลาเทียบเทา่ ต่อจำ� นวนอาจารยป์ ระจ�ำ ตัวบ่งช้ที ่ี 1.5 การบริการนกั ศกึ ษาระดับปริญญาตรี ตวั บ่งชี้ท่ ี 1.6 กจิ กรรมนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี 90 ค่มู อื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศึกษา พ.ศ. 2557

ตัวบง่ ช้ที ี่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสตู รโดยรวม ชนิดของตวั บง่ ชี้ ผลลพั ธ์ คำ� อธบิ ายตวั บง่ ชี้ ผลการด�ำเนินการของแตล่ ะหลักสตู รในคณะ ซง่ึ สามารถสะท้อนคุณภาพของบณั ฑติ ในหลักสตู ร ท่ีคณะรบั ผิดชอบ เกณฑ์การประเมนิ ค่าเฉลย่ี ของคะแนนประเมนิ ทกุ หลกั สตู รท่คี ณะรบั ผดิ ชอบ สูตรการคานวณ คะ แนน ทไ่ี ด้ = ผลรวมของคา่ คะแนนประเมินของทุกหลกั สูตร จำ� นวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ หมายเหตุ : - หลักสูตรท่ีได้รับการรับรองโดยระบบอื่นๆ ตามท่ีคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับ อดุ มศกึ ษาเหน็ ชอบ ไมต่ อ้ งนำ� คะแนนการประเมนิ ของหลกั สตู รนนั้ มาคำ� นวณในตวั บง่ ชน้ี ี้ แตต่ อ้ ง รายงานผลการรับรองตามระบบนัน้ ๆ ในตวั บ่งช้นี ้ีใหค้ รบถว้ น - ในการค�ำนวณค่าคะแนน หากหลักสูตรใช้ระบบอ่ืนที่ไม่ใช่ของ สกอ. ไม่ต้องน�ำมาค�ำนวณ ทั้งตวั ตง้ั ตัวหาร - ทุกหลักสูตรท่ีมีการจัดการเรียนการสอน (แม้ว่าจะเป็นหลักสูตรที่ขอปิดด�ำเนินการแล้วแต่ยังมี นักศึกษาคงค้างอยู่) ให้น�ำมาค�ำนวณด้วยท้ังตัวต้ังและตัวหาร โดยใช้เฉพาะตัวบ่งชี้ที่เก่ียวข้อง เท่าน้นั คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 91

ตัวบง่ ชีท้ ่ี 1.2 อาจารย์ประจ�ำคณะท่มี ีคุณวฒุ ปิ รญิ ญาเอก ชนิดของตวั บง่ ชี้ ปัจจยั น�ำเข้า คำ� อธิบายตวั บ่งช้ี การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาถอื เปน็ การศกึ ษาระดบั สงู สดุ ทต่ี อ้ งการบคุ ลากรทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถและ ความลมุ่ ลกึ ทางวชิ าการ เพอื่ ปฏบิ ตั พิ นั ธกจิ สำ� คญั ของสถาบนั ในการผลติ บณั ฑติ ศกึ ษาวจิ ยั เพอื่ การตดิ ตาม ความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้ ดังน้ัน สถาบันจึงควรมีอาจารย์ท่ีมีระดับคุณวุฒิทาง การศกึ ษาทตี่ รงหรอื สมั พนั ธก์ บั หลกั สตู รทเ่ี ปดิ สอนในสดั สว่ นทเี่ หมาะสมกบั พนั ธกจิ หรอื จดุ เนน้ ของหลกั สตู ร เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงค่ารอ้ ยละของอาจารย์ประจำ� คณะทมี่ คี ณุ วฒุ ปิ รญิ ญาเอกเป็นคะแนนระหว่าง 0-5 1. เกณฑเ์ ฉพาะสถาบันกล่มุ ข และ ค2 คา่ รอ้ ยละของอาจารย์ประจ�ำคณะท่ีมคี ณุ วุฒปิ รญิ ญาเอกท่กี �ำหนด ให้เปน็ คะแนนเต็ม 5 = รอ้ ยละ 40 ขึน้ ไป 2. เกณฑเ์ ฉพาะสถาบนั กลมุ่ ค1 และ ง ค่าร้อยละของอาจารยป์ ระจ�ำคณะท่ีมีคณุ วุฒิปรญิ ญาเอกทีก่ ำ� หนด ให้เปน็ คะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 80 ข้ึนไป สตู รการค�ำนวณ 1. ค�ำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำ� คณะทีม่ ีคุณวฒุ ิปริญญาเอกตามสตู ร จำ� นวนอาจารยป์ ระจำ� คณะทม่ี คี ณุ วุฒปิ ริญญาเอก x 100 จำ� นวนอาจารย์ประจำ� คณะท้ังหมด 2. แปลงค่าร้อยละที่ค�ำนวณได้ในขอ้ 1 เทยี บกับคะแนนเต็ม 5 คะ แน นทไี่ ด้ = ร้อยละของอาจารยป์ ระจำ� คณะทีม่ ีคณุ วฒุ ิปริญญาเอก x5 รอ้ ยละของอาจารย์ประจำ� คณะทม่ี ีคุณวุฒปิ รญิ ญาเอก ท่กี �ำหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 หมายเหตุ : 1. คุณวฒุ ปิ รญิ ญาเอกพิจารณาจากระดับคุณวฒุ ทิ ี่ได้รบั หรือเทยี บเท่าตามหลักเกณฑ์การพจิ ารณา คุณวุฒิของกระทรวงศึกษาธิการ กรณีท่ีมีการปรับวุฒิการศึกษาให้มีหลักฐานการส�ำเร็จการศึกษาภายใน รอบปีการศึกษาน้ัน ทั้งน้ี อาจใช้คุณวุฒิอ่ืนเทียบเท่าคุณวุฒิปริญญาเอกได้ส�ำหรับกรณีท่ีบางสาขาวิชาชีพ มคี ุณวฒุ ิอ่นื ทีเ่ หมาะสมกว่า ทัง้ น้ี ตอ้ งไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา 2. การนบั จ�ำนวนอาจารย์ประจำ� ใหน้ ับตามปีการศกึ ษาและนบั ท้งั ปีปฏบิ ัตงิ านจริง และลาศึกษาต่อ ในกรณีท่ีมีอาจารย์บรรจุใหม่ให้ค�ำนวณตามเกณฑ์อาจารย์ประจ�ำท่ีระบุในค�ำชี้แจงเกี่ยวกับการนับจ�ำนวน อาจารย์ประจ�ำและนกั วจิ ัย 92 คมู่ อื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557

ตัวบง่ ชี้ที่ 1.3 อาจารยป์ ระจำ� คณะทดี่ ำ� รงต�ำแหนง่ ทางวิชาการ ชนิดของตัวบ่งช้ี ปัจจยั น�ำเขา้ ค�ำอธิบายตวั บง่ ชี้ สถาบันอุดมศึกษาถอื เป็นขมุ ปัญญาของประเทศ และมคี วามรับผิดชอบท่ีจะต้องสง่ เสรมิ ให้อาจารย์ ในสถาบันท�ำการศึกษาวิจัยเพ่ือแสวงหาและพัฒนาองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพ่อื นำ� ไปใช้ในการเรียนการสอน รวมทงั้ การแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาประเทศ การด�ำรงตำ� แหน่งทางวชิ าการ เป็นสิง่ สะท้อนการปฏิบตั ิงานดังกลา่ วของอาจารย์ตามพนั ธกิจ เกณฑ์การประเมนิ โดยการแปลงคา่ รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจำ� คณะทด่ี ำ� รงตำ� แหนง่ ทางวชิ าการเปน็ คะแนนระหวา่ ง 0-5 1. เกณฑเ์ ฉพาะสถาบันกลุ่ม ข และ ค2 ค่าร้อยละของอาจารย์ประจ�ำคณะที่ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารย์รวมกัน ท่กี ำ� หนดใหเ้ ป็นคะแนนเต็ม 5 = รอ้ ยละ 60 ข้ึนไป 2. เกณฑ์เฉพาะสถาบนั กลุม่ ค1 และ ง ค่าร้อยละของอาจารย์ประจ�ำคณะที่ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ ศาสตราจารยร์ วมกัน ท่ีก�ำหนดใหเ้ ป็นคะแนนเตม็ 5 = รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป สูตรการค�ำนวณ 1. คำ� นวณค่ารอ้ ยละของอาจารยป์ ระจำ� คณะท่ีด�ำรงตำ� แหนง่ ทางวชิ าการตามสตู ร จำ� นวนอาจารย์ประจ�ำคณะท่ดี ำ� รงตำ� แหนง่ ทางวชิ าการ x 100 จ�ำนวนอาจารยป์ ระจ�ำคณะทงั้ หมด 2. แปลงค่าร้อยละท่ีคำ� นวณไดใ้ นข้อ 1 เทยี บกบั คะแนนเตม็ 5 คะ แน นที่ไ ด้ = รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจำ� คณะท่ีด�ำรงตำ� แหนง่ ทางวิชาการ x5 รอ้ ยละของอาจารยป์ ระจ�ำคณะทด่ี ำ� รงต�ำแหนง่ ทางวิชาการ ที่กำ� หนดให้เปน็ คะแนนเต็ม 5 คมู่ อื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 93

ตัวบง่ ชที้ ่ี 1.4 จำ� นวนนักศกึ ษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำ� นวนอาจารยป์ ระจำ� ชนดิ ของตัวบ่งชี้ ปัจจัยน�ำเขา้ ค�ำอธิบายตวั บง่ ชี้ ปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งส�ำหรับการจัดการการศึกษาระดับอุดมศึกษา คือสัดส่วนของนักศึกษา ต่ออาจารย์ ที่จะต้องสอดคล้องกับศาสตร์ในแต่ละสาขาวิชาและลักษณะการเรียนการสอน รวมท้ังมีความ เชื่อมโยงไปสู่การวางแผนต่างๆ เช่น การวางแผนอตั ราก�ำลัง ภาระงานอาจารย์ เป้าหมายการผลติ บัณฑิต ดังน้ัน คณะจึงควรมีจ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจ�ำนวนอาจารย์ประจ�ำที่ปฏิบัติงานจริง ไม่เกิน จ�ำนวนเหมาะสม เกณฑก์ ารประเมิน ในกรณีท่ีจ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่ออาจารย์ประจ�ำน้อยกว่าหรือเท่ากับเกณฑ์มาตรฐานก�ำหนด เป็นคะแนน 5 ในกรณีที่จ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่ออาจารย์ประจ�ำมากกว่าเกณฑ์มาตรฐานให้ค�ำนวณหาค่า ความแตกต่างระหว่างจ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่ออาจารย์ประจ�ำกับเกณฑ์มาตรฐาน และน�ำค่าความ แตกตา่ งมาพจิ ารณา ดงั นี้ ค่าความแตกต่างของจ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่ออาจารย์ประจ�ำที่สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานตั้งแต่ ร้อยละ 20 ก�ำหนดเปน็ คะแนน 0 ค่าความแตกต่างของจ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่ออาจารย์ประจ�ำท่ีสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานตั้งแต่ รอ้ ยละ 0.01 และไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 20 ใหน้ ำ� มาเทยี บบญั ญตั ไิ ตรยางศต์ ามสตู รเพอ่ื เปน็ คะแนนของหลกั สตู รนน้ั ๆ สตู รการคำ� นวณจ�ำนวนนักศึกษาเตม็ เวลาเทียบเท่า 1. คำ� นวณค่าหน่วยกิตนักศึกษา (Student Credit Hours : SCH) ซึ่งกค็ อื ผลรวมของผลคณู ระหวา่ ง จ�ำนวน นกั ศกึ ษาทล่ี งทะเบยี นเรยี นกบั จำ� นวนหนว่ ยกติ แตล่ ะรายวชิ าทเ่ี ปดิ สอนทกุ รายวชิ าตลอดปกี ารศกึ ษารวบรวม หลงั จากนักศกึ ษาลงทะเบียนแล้วเสรจ็ (หมดก�ำหนดเวลาการเพ่มิ -ถอน) โดยมีสูตรการคำ� นวณ ดงั น้ี SCH = ∑nici เม่ือ ni = จำ� นวนนกั ศกึ ษาทีล่ งทะเบียนในวิชาท่ี i ci = จำ� นวนหน่วยกติ ของวชิ าท่ี i 2. คำ� นวณคา่ FTES โดยใชส้ ตู รค�ำนวณ ดังนี้ จ ำ� นว นนกั ศกึ ษ าเต ็มเว ลาเท ียบเ ทา่ ต ่อปี ( FTES) = Student Credit Hours (SCH) ท้งั ปี จำ� นวนหนว่ ยกติ ต่อปกี ารศกึ ษาตามเกณฑ์มาตรฐาน การลงทะเบียนในระดับปรญิ ญานัน้ ๆ 94 คมู่ อื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2557

การปรบั จำ� นวนในระหวา่ งปรญิ ญาตรแี ละบณั ฑติ ศกึ ษา ใหม้ กี ารปรบั คา่ จำ� นวนนกั ศกึ ษาเตม็ เวลาเทยี บเทา่ ในระดับบัณฑิตศึกษาให้เป็นระดับปริญญาตรี เพ่ือน�ำมารวมค�ำนวณหาสัดส่วนจ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลา ต่ออาจารยป์ ระจ�ำ นกั ศึกษาเตม็ เวลาในหนว่ ยนบั ปริญญาตรี 1. กลมุ่ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ = FTES ระดับปรญิ ญาตรี + FTES ระดบั บัณฑิตศึกษา 2. กลุม่ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์กายภาพ = FTES ระดบั ปรญิ ญาตรี + (2 x FTES ระดับบัณฑติ ศึกษา) 3. กลุ่มสาขาวิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ = FTES ระดบั ปริญญาตรี + (1.8 x FTES ระดบั บัณฑติ ศึกษา) สัดส่วนจำ� นวนนักศกึ ษาเต็มเวลาตอ่ อาจารยป์ ระจำ� แยกตามกลุม่ สาขา สัดสว่ นจานวนนักศึกษา เต็มเวลาตอ่ อาจารย์ประจำ� กลมุ่ สาขา 8:1 1. วิทยาศาสตรส์ ุขภาพ 4:1 - แพทยศาสตร์ 6:1 - พยาบาลศาสตร์ 20 : 1 2. วิทยาศาสตร์กายภาพ 20 : 1 3. วศิ วกรรมศาสตร์ 8:1 4. สถาปตั ยกรรมศาสตรแ์ ละการผงั เมือง 20 : 1 5. เกษตร ป่าไม้ และประมง 25 : 1 6. บริหารธุรกิจ พาณชิ ยศาสตร์ บัญชี การจดั การ การทอ่ งเท่ียว เศรษฐศาสตร์ 50 : 1 7. นิตศิ าสตร์ 30 : 1 8. ครุศาสตร/์ ศกึ ษาศาสตร์ 8:1 9. ศลิ ปกรรมศาสตร์ วิจติ รศิลปแ์ ละประยุกต์ศิลป์ 25 : 1 10. สงั คมศาสตร/์ มนษุ ยศาสตร์ สูตรการค�ำนวณ 1. คำ� นวณหาค่าความแตกต่างจากเกณฑ์มาตรฐานและนำ� มาคิดเป็นคา่ รอ้ ยละตามสตู ร สัดส่วนจ�ำนวนนักศึกษาเตม็ เวลา – สดั ส่วนจ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลาตอ่ X 100 ตอ่ จำ� นวนอาจารยป์ ระจำ� ทเ่ี ปน็ จรงิ จำ� นวนอาจารยป์ ระจำ� ตามเกณฑม์ าตรฐาน สัดสว่ นจำ� นวนนกั ศกึ ษาเต็มเวลาตอ่ จำ� นวนอาจารย์ประจ�ำตามเกณฑ์มาตรฐาน คูม่ ือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557 95

2. นำ� คา่ รอ้ ยละจากขอ้ 1 มาคำ� นวณคะแนน ดงั น้ี 2.1) ค่าร้อยละทีน่ ้อยกวา่ หรือเทา่ กับรอ้ ยละ 0 คิดเปน็ 5 คะแนน 2.2) คา่ ร้อยละทม่ี ากกว่าหรอื เท่ากบั ร้อยละ 20 คดิ เป็น 0 คะแนน 2.3) คา่ ร้อยละท่ีมากกว่ารอ้ ยละ 0 แตน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 20 ใหน้ ำ� มาคิดคะแนนดงั นี้ คะ แน น ทีไ่ ด ้ = 5 - (ค ่าร อ้ ย ละ ทคี่ ำ� น4วณได้จาก 2.3) ตวั อย่างการคำ� นวณ จ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อปี (FTES) ต่อจ�ำนวนอาจารย์ประจ�ำ ของหลักสูตรหน่ึงทางด้าน สังคมศาสตร์/มนษุ ยศาสตร์ = 24 ค่า คว ามแ ตก ตา่ งจ าก เกณ ฑ ์มา ตร ฐาน = 24 - 25 x 100 = ร้อยละ -4 ได้คะแนน 5 คะแนน 25 จ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อปี (FTES) ต่อจ�ำนวนอาจารย์ประจ�ำ ของหลักสูตรหน่ึงทางด้าน สงั คมศาสตร์/มนษุ ยศาสตร์ = 32 คา่ คว ามแ ตก ต่า งจ าก เกณ ฑ ม์ า ตร ฐาน = 32 - 25 x 100 = รอ้ ยละ 28 ไดค้ ะแนน 0 คะแนน 25 จ�ำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อปี (FTES) ต่อจ�ำนวนอาจารย์ประจ�ำ ของหลักสูตรหน่ึงทางด้าน สังคมศาสตร/์ มนุษยศาสตร์ = 28 28 - 25 x 100 = ร้อยละ 12 คา่ คว ามแ ตก ต่า งจ าก เกณ ฑ ม์ า ตร ฐาน = 25 คะแ นน = 5 – (142) = 5 - 3 = 2 คะแนน หมายเหตุ : - การคดิ คา่ FTES กรณหี ลกั สตู รทส่ี ภาวชิ าชพี กำ� หนดสดั สว่ นจำ� นวนนกั ศกึ ษาตอ่ อาจารยป์ ระจำ� ไมต่ รงกบั สัดส่วนที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2557 ใหส้ ถาบันอุดมศกึ ษายึดตามสัดสว่ นท่สี ภาวชิ าชพี ก�ำหนด - กรณที ค่ี ณะมหี ลายกลมุ่ สาขา ตอ้ งแยกอาจารยป์ ระจำ� วา่ อยกู่ ลมุ่ สาขาใดกอ่ นนำ� มาหาคา่ คะแนน ของแต่ละกลุ่ม แลว้ น�ำมาคดิ คะแนนเฉล่ียเป็นของคณะ 96 คมู่ อื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

ตัวบง่ ช้ีที่ 1.5 การบริการนักศกึ ษาระดับปริญญาตรี ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ คำ� อธบิ ายตวั บง่ ชี้ คณะควรจดั บรกิ ารดา้ นตา่ งๆ ใหน้ กั ศกึ ษาและศษิ ยเ์ กา่ ในกจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชนก์ บั นกั ศกึ ษา เพอ่ื การ ด�ำรงชีวิตอย่างมีความสุขและคุ้มค่าในระหว่างการใช้ชีวิตในคณะ ตั้งแต่การให้ค�ำปรึกษาท้ังด้านวิชาการ และการใช้ชีวิตจัดบริการข้อมูลหน่วยงานท่ีให้บริการ เช่น ทุนกู้ยืมการศึกษา แหล่งทุนการศึกษาต่อการ บริการจัดหางาน แหล่งขอ้ มูลการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี การเตรียมความพรอ้ มเพ่อื การทำ� งานเมื่อสำ� เร็จ การศึกษา ข้อมูลข่าวสารความเคลื่อนไหวในและนอกสถาบันที่จ�ำเป็นแก่นักศึกษาและศิษย์เก่าโดยการให้ บรกิ ารทัง้ หมดต้องให้ความสำ� คัญกับการบรกิ ารทีม่ คี ุณภาพและเกิดประโยชนแ์ ก่ผู้รบั บริการอยา่ งแท้จรงิ เกณฑ์มาตรฐาน 1. จัดบรกิ ารใหค้ �ำปรกึ ษาทางวชิ าการ และการใชช้ ีวติ แก่นักศกึ ษาในคณะ 2. มีการให้ข้อมูลของหน่วยงานที่ให้บริการ กิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร แหล่งงานท้ังเต็มเวลา และนอกเวลาแกน่ ักศึกษา 3. จัดกิจกรรมเตรียมความพรอ้ มเพื่อการท�ำงานเมอื่ สำ� เร็จการศกึ ษาแก่นักศกึ ษา 4. ประเมนิ คณุ ภาพของการจดั กจิ กรรมและการจดั บรกิ ารในขอ้ 1-3 ทกุ ขอ้ ไมต่ ำ�่ กวา่ 3.51 จากคะแนนเตม็ 5 5. น�ำผลการประเมินจากข้อ 4 มาปรับปรุงพัฒนาการให้บริการและการให้ข้อมูล เพื่อส่งให้ผล การประเมินสูงขึน้ หรอื เป็นไปตามความคาดหวังของนกั ศึกษา 6. ใหข้ ้อมูลและความรู้ทเี่ ป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพแกศ่ ิษย์เกา่ เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มกี ารด�ำเนินการ มีการดำ� เนนิ การ มกี ารดำ� เนนิ การ มกี ารด�ำเนนิ การ มีการด�ำเนนิ การ 1 ข้อ 2 ขอ้ 3-4 ข้อ 5 ขอ้ 6 ขอ้ คมู่ อื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั อดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 97

ตวั บง่ ชี้ท่ี 1.6 กจิ กรรมนกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี ชนิดของตัวบง่ ชี้ กระบวนการ ค�ำอธิบายตวั บง่ ชี้ คณะต้องส่งเสรมิ ใหม้ กี ารจดั กจิ กรรมนกั ศึกษาต่างๆ อย่างเหมาะสมและครบถ้วนกิจกรรมนกั ศกึ ษา หมายถึง กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรท่ีด�ำเนินการทัง้ โดยคณะและโดยองคก์ รนกั ศึกษา เป็นกิจกรรมท่ี ผเู้ ข้ารว่ ม จะมีโอกาสได้รับการพัฒนาสติปัญญา สังคม อารมณ์ ร่างกาย และคุณธรรมจริยธรรม โดยสอดคล้องกับ คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ทพี่ งึ ประสงค์ ทป่ี ระกอบดว้ ยมาตรฐานผลการเรยี นรตู้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ 5 ประการ ได้แก่ (1) คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (2) ความรู้ (3) ทกั ษะทางปญั ญา (4) ทักษะความสมั พนั ธร์ ะหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ (5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ท่ีคณะ สถาบัน และสภา/องค์กรวิชาชีพได้ก�ำหนดเพิ่มเติม ตลอดจนสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ ณั ฑติ และนำ� หลกั PDSA / PDCA (Plan, Do, Study/Check, Act) ไปใช้ในชวี ติ ประจำ� วันเปน็ การพัฒนาคณุ ภาพนกั ศกึ ษาอยา่ งยงั่ ยืน เกณฑม์ าตรฐาน 1. จดั ทำ� แผนการจดั กจิ กรรมพฒั นานกั ศกึ ษาในภาพรวมของคณะโดยใหน้ กั ศกึ ษามสี ว่ นรว่ มในการ จัดทำ� แผนและการจดั กจิ กรรม 2. ในแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ให้ด�ำเนินกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตาม มาตรฐานผลการเรยี นรตู้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิแห่งชาติ 5 ประการ ใหค้ รบถว้ น ประกอบดว้ ย (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู้ (3) ทักษะทางปญั ญา (4) ทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ (5) ทักษะการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสอื่ สารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. จดั กิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกนั คุณภาพแก่นกั ศึกษา 4. ทุกกิจกรรมที่ด�ำเนินการมีการประเมินผลความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมและน�ำ ผลการประเมินมาปรบั ปรงุ การด�ำเนนิ งานครัง้ ต่อไป 5. ประเมนิ ความสำ� เรจ็ ตามวัตถุประสงค์ของแผนการจดั กิจกรรมพฒั นานกั ศึกษา 6. นำ� ผลการประเมนิ ไปปรับปรุงแผนหรอื ปรบั ปรุงการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนานักศกึ ษา เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มกี ารด�ำเนนิ การ มกี ารดำ� เนนิ การ มกี ารด�ำเนนิ การ มีการดำ� เนนิ การ มีการด�ำเนินการ 1 ข้อ 2 ขอ้ 3-4 ขอ้ 5 ขอ้ 6 ข้อ 98 คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2557

องคป์ ระกอบท่ี 2 การวิจัย สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งอาจมีจุดเน้นในเร่ืองการวิจัยท่ีแตกต่างกันข้ึนกับสภาพแวดล้อม และความพรอ้ มของแตล่ ะสถาบัน อย่างไรกต็ าม ทุกสถาบันอดุ มศกึ ษาจำ� เป็นต้องมพี ันธกจิ นี้เปน็ ส่วนหนง่ึ ของพันธกิจสถาบัน ดังนั้น จึงต้องมีระบบและกลไกควบคุมให้สามารถด�ำเนินการในพันธกิจด้านนี้อย่างมี ประสิทธิภาพและคุณภาพตามจุดเน้นเฉพาะของแต่ละสถาบัน เพื่อให้ได้ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ที่เกิดประโยชน์ การวิจัยจะประสบความส�ำเร็จและเกิดประโยชน์จ�ำเป็นต้องมีส่วนประกอบที่ส�ำคัญ 3 ประการ คอื 1) สถาบนั ตอ้ งมแี ผนการวจิ ยั มรี ะบบและกลไก ตลอดจนมกี ารสนบั สนนุ ทรพั ยากรใหส้ ามารถ ด�ำเนนิ การไดต้ ามแผน 2) คณาจารยม์ สี ่วนร่วมในการวจิ ยั อยา่ งเขม้ แขง็ โดยบูรณาการงานวจิ ยั กับการจัด การเรียนการสอน และพันธกิจด้านอ่ืนๆ ของสถาบัน และ 3) ผลงานวิจัยมีคุณภาพมีประโยชน์ สนอง ยุทธศาสตร์ของชาติและมีการเผยแพร่อย่างกว้างขวาง ตัวบง่ ชี้ จ�ำนวน 3 ตวั บง่ ช้ี คอื ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวจิ ยั หรืองานสรา้ งสรรค์ ตวั บ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนบั สนนุ งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบง่ ชที้ ี่ 2.3 ผลงานวชิ าการของอาจารย์ประจ�ำและนกั วิจัย คมู่ ือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2557 99