ใบความรู้ เร่ือง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศต่าง ๆ ทว่ั โลก การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวปี เอเชีย ทวีปเอเชียนับเป็ นดินแดนแห่งแรกท่ีพระพุทธศาสนา ไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ มาในราวพุทธศตวรรษท่ี3ซ่ึง พระพุทธศาสนาท่ีไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ มาน้นั แบ่งออกเป็ น 2 นิกาย คือ นิกายเถรวาท และนิกายอาจาริยวาท ต่อมา ได้ผสมผสานกับวฒั นธรรมและความเชื่อด้ังเดิมของแต่ละท้องถิ่นของแต่ละ ประเทศ ทาให้เกิดการ ววิ ฒั นาการเป็ นพระพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ หลายนิกาย เช่น นิกายเถรวาทเดิม นิกายตนั ตระ นิกายสุขาวดี เป็นตน้ ดว้ ยเหตุน้ีการนบั ถือพระพทุ ธศาสนาของประเทศต่าง ๆในทวปี เอเชียจึงแตกต่างกนั ออกไป ดงั น้ี การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศศรีลงั กา พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ มายงั ลงั กาทวปี (ศรีลงั กา ปัจจุบนั ) ในรัชกาลของพระเจา้ เทวานมั ปิ ยติสสะ( พ.ศ 235-275)ผคู้ รองเมืองอนุราธปุระ โดยการนาของพระมหินทเถระและคณะสมณทูต ซ่ึงพระเจา้ อโศกมหาราช แห่งชมพูทวีปได้ทรงส่งมาในคราวทาสังคยานาคร้ังที่ 3 ซ่ึงได้รับการต้อนรับจากพระมหากษตั ริยแ์ ละ ประชาชนเป็ นอยา่ งดี ไดม้ ีการส่งสมณทูตไปสู่ราชสานกั ของพระเจา้ อโศกมหาราช และไดท้ ูลขอกิ่งพระศรี มหาโพธ์ิมาสู่ลงั กาทวปี ดว้ ย ตน้ โพธ์ิน้ีปัจจุบนั เป็ นตน้ ไมป้ ระวตั ิศาสตร์ที่มีอายุมากที่สุดในโลก พระเจา้ เท วานมั ปิ ยติสสะยงั ทรงสร้างมหาวิหารและถูปาราม อนั เป็นเจดียอ์ งคแ์ รกของลงั กาไว้ ณ เมืองอนุราธปุระดว้ ย ในสมยั น้ันลงั กาทวีปมีประชาชนอยู่ 2 เผ่า คือ เผ่าสิงหล และเผ่าทมิฬ ชนผ่าสิงหลทว่ั ไปนับถือ พระพุทธศาสนา ส่วนชนเผา่ ทมิฬไม่ไดน้ บั ถือพระพุทธศาสนาเมื่อสิ้นรัชกาลของพระเจา้ เทวานมั ปิ ยติสสะ แลว้ ลงั กาทวปี ก็ตกอยใู่ นอานาจของกษตั ริยท์ มิฬ พระพุทธศาสนาในลงั กาบางคร้ังก็เจริญรุ่งเรือง บางคร้ังก็ เส่ือมลงจนถึงสูญสิ้นสมณวงศส์ ลบั กนั ไปเช่นน้ี ข้ึนอยูก่ บั วา่ กษตั ริยข์ องชนผ่าใดในระวา่ งสิงหลกบั ทมิฬ ข้ึนมามีอานาจ คร้ันต่อมาเมื่อพระเจา้ วิชยั สิริสังฆโพธิ ทรงกอบกูร้ าชบลั ลงั ก์จากพวกทมิฬได้ และทรงจดั การทาง ฝ่ ายราชอาณาจกั รเรียบร้อยแลว้ ก็ไดห้ นั มากอบกูฟ้ ้ื นฟูพระพุทธ ศาสนา และส่งทูตไปขอพระภิกษุสงฆจ์ าก พมา่ มาทาการบรรพชาอุปสมบทกุลบุตรชาวลงั กา ทาใหส้ มณวงศใ์ นลงั กาไดก้ ลบั มีข้ึนอีกคร้ัง ในสมยั รัชกาลของพระเจา้ ปรากรมพาหุที่ 1 ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชปกครองสงฆ์ท้ัง ประเทศเป็ นคร้ังแรก และสร้างวดั วาอารมอีกมากมายจนลงั กาได้กลายเป็ นศูนยก์ ลางการศึกษาพระพุทธ ศาสนา แต่ภายหลงั พวกทมิฬก็มารุกรานอีกและมีอานาจเหนือชาวสิงหล ทาให้พระพุทธศาสนาเสื่อมลงอีก คร้ัง ระหวา่ งที่ลงั กาอ่อนแอลงชนชาติโปรตุเกสและ ฮอลนั ดาก็ไดเ้ ขา้ มาผลดั เปลี่ยนกนั เขา้ มามีอานาจซ่ึงชนท้งั สองพยามยาม ประดิษฐานคริสตศ์ าสนาแต่ก็ไม่สาเร็จ ท้งั น้ีเนื่องจากพระพุทธศาสนาไดฝ้ ังรากลึกลงสู่จิตใจ ของชาวลงั กามาเป็นเวลา ชา้ นาน
ใน พ.ศ.2293 พระเจา้ กิตติสิริราชสีห์ ไดส้ ่งราชทูตไปขอพระสงฆ์จากประเทศไทยในรัชสมยั พระ เจา้ บรมโกศแห่งกรุง ศรีอยุธยา พระเจา้ บรมโกศทรงส่งพระอุบาลีและพระอริยมุนี พร้อมดว้ ยคณะสงฆ์ 12 รูป เดินทางไปลงั กา และไดท้ าการบรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรชาวสิงหล พระสงฆ์ที่บรรพชาอุปสมบท ใหม่หน้ีเรียกวา่ อุบาลีวงศห์ รือสยามวงศ์ หรือสยามนิกาย ซ่ึงเป็ นคณะสงฆส์ ่วนใหญ่ของลงั กามาจนกระทง่ั ทุกวนั น้ี ในปี พ.ศ.2358 องั กฤษไดเ้ ขา้ มายดึ ครองลงั กา ทาใหว้ งศก์ ษตั ริยล์ งั กาสูญสิ้นไป เป็ นเวลากวา่ 100 ปี ท่ีชาวลงั กาไดต้ ่อสู้จนไดอ้ ิสรภาพจากองั กฤษเมื่อ พ.ศ.2490 พระพทุ ธศาสนาจึงไดร้ ับการฟ้ื นฟูข้ึน และไดส้ ่ง พระสงฆอ์ อกไปประกาศเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในทวปี ยโุ รปและอเมริกาดว้ ย การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศจีน เท่าท่ีปรากฏหลกั ฐาน พบวา่ พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ มาในประเทศจีนเม่ือประมาณพทุ ธศกั ราช 608 ในสมยั ของพระจกั รพรรดิมิ่งตี่ แห่งราชวงศ์ฮน่ั โดยพระองค์ส่งสมณทูตไปสืบพระพุทธศาสนาใน อินเดีย และเดินทางกลบั ประเทศจีนพร้อมดว้ ยพระภิกษุ 2 รูป คือ พระกาศยปมาตงั คะและพระธรรมรักษ์ รวมท้งั คมั ภีร์ของพระพทุ ธศาสนาอีกส่วนหน่ึงดว้ ย เม่ือพระเถระ 2 รูป พร้อมดว้ ยคณะทูตมาถึงนครโลยาง พระจกั รพรรดิม่ิงตี่ไดท้ รงส่งั สร้างวดั ใหเ้ ป็ น ที่อยูข่ องพระเถระท้งั 2 และต้งั ช่ือวา่ วดั แปะเบย้ ่ี ซ่ึงแปลวา่ เป็ นไทยวา่ วดั มา้ ขาว ซ่ึงเป็ นอนุสรณ์ให้มา้ ตวั ท่ี บรรทุกพระคมั ภีร์ทางพระพทุ ธศาสนามากบั พระเถระท้งั 2 รูป ในสมยั ราชวงศ์ฮนั่ ถึงแมว้ ่าพระพุทธศาสนาจะเป็ นท่ีเลื่อมแต่ยงั จากดั อยูใ่ นวงแคบคือในหมู่ข้า ราชการและชนช้นั สูงแห่งราชสานกั เป็ นส่วนใหญ่ เพราะชาวจีนส่วนใหญ่ยงั คงนบั ถือลทั ธิขงจ้ือและลทั ธิ เต๋า จนกระทง่ั โม่งจ้ือนัก ปราชญผ์ ูม้ ีความสามารถไดแ้ สดงหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาให้ชาวเมืองได้ เห็นถึง ความจริงใหช้ าวจีนเกิดศรัทธาเลื่อมใสมากกวา่ ลทั ธิศาสนาอื่น ๆ จนถึงสมยั ราชวงศ์ถงั (พ.ศ.1161-1450) พระพุทธศาสนาก็เจริญสูงสุดและได้มีการส่งพระเถระ เดินทางไปสืบพระพุทธใน อินเดียและอญั เชิญพระไตรปิ ฎก กลบั มายงั จีน และไดม้ ีการแปลพระสูตรจาก ภาษาบาลีเป็ นภาษาจีนอีกมากมาย พระพุทธศาสนาเริ่มเสื่อมลงเม่ือพระเจา้ บู๊จง ข้ึน ปกครองประเทศ เพราะพระเจา้ บูจ๊ งนบั ถือลทั ธิเต๋า ทรงส่งั ทาลายวดั บงั คบั ใหพ้ ระภิกษุลาสิกขา ทาลายพระพุทธรูป เผาคมั ภีร์ จนถึง พ.ศ.1391 เม่ือพระเจา้ ชวน จง ข้ึนครองราชย์ ทรงส่ังห้ามทาลายวดั และนาประมุขลทั ธิเต๋ากบั พวกไปประหารชีวิต พร้อมกนั น้นั ก็ได้ อุปถัมภ์บารุงพระพุทธศาสนาให้กลบั มาเจริญรุ่งเรืองอีกคร้ัง พระพุทธศาสนาในประเทศจีนมีความ เจริญรุ่งเรืองสลบั กบั เสื่อมโทรมตามยคุ สมยั ของราชวงศท์ ่ีจะทรงนบั ถือลทั ธิหรือศาสนาใด ใน พ.ศ.2455 ประเทศจีนได้เปลี่ยนช่ือประเทศเป็ น สาธารณรัฐจีน รัฐบาลไม่สนับสนุ น พระพุทธศาสนา แต่กลบั สนบั สนุนแนวความคิดของลทั ธิมาร์กซิสต์ จนใน พ.ศ.2465 พระสงฆ์ชาวจีนรูป หน่ึงช่ือวา่ ไทส้ ู ไดท้ าการฟ้ื นฟูพระพุทธศาสนา โดยการต้งั วทิ ยาลยั สงฆ์ ข้ึนที่ วชู งั เอห้ มึง เสฉวน และหล่ิง นาน และจดั ต้งั พทุ ธสมาคมแห่งประเทศจีน ข้ึน ทาใหป้ ระชาชนและรัฐบาลเขา้ ใจพระพุทธศาสนามากข้ึน
พ.ศ.2492 สาธารณรัฐจีน ไดเ้ ปลี่ยนชื่อประเทศอีกคร้ังหน่ึง เป็ น สาธารณรัฐประชาชนจีน ปกครอง ด้วยลัทธิคอมมิวนิสต์ซ่ึงมีคาสอนที่ขัดแยง้ กับพระพุทธศาสนาเป็ นอย่าง มากรัฐบาลได้ยึดวดั เปนของ ราชการ ทาลายพระคมั ภีร์ต่าง ๆ ทาให้พระพุทธศาสนาเกือบสูญสิ้นไปจากประเทศจีนเลยทีเดียว เมื่อ ประธานพรรคคอมมิวนิสต์จีน เหมา เจ๋อ ตุง ไดถ้ ึงแก่อสัญกรรม พ.ศ.2519 รัฐบาลชุดใหม่ของจีน คือ เติ้ง เสี่ยวผิง คลายความเขม้ งวดลงบา้ ง และให้เสรีภาพในการนบั ถือศาสนาของประชาชนมากข้ึน สภาวการณ์ ทางพระพุทธศาสนาจึงเริ่มกลบั ฟ้ื นตวั ข้ึนอีกคร้ัง รัฐบาลจีนให้การสนบั สนุนจดั ต้งั พุทธสมาคมแห่งประเทศ จีนและสภาการศึกษาพระ พุทธศาสนาแห่งประเทศจีนข้ึนในกรุงปักก่ิงด้วย ปัจจุบันชาวจีนนับถือ พระพทุ ธศาสนาควบคูไ่ ปกบั การนบั ถือลทั ธิขงจ้ือและลทั ธิ เต๋า การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศเกาหลี พระพุทธศาสนาเร่ิมเผยแผ่เขา้ สู่ประเทศเกาหลีเม่ือ พ.ศ.915 โดยสมณทูตซุนเตา เดินทางจากจีน แผน่ ดินใหญเ่ ขา้ เผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในอาณาจกั รโกคุริโอ คือประเทศเกาหลีในปัจจุบนั พ.ศ.1935 พระพทุ ธศาสนาเร่ิมเสื่อมลงเมื่อราชวงศโ์ ซซอน ข้ึนมามีอานาจ ราชวงศน์ ้ีเชิดชูลทั ธิขงจ้ือ ให้เป็ นศาสนาประจาชาติ พ.ศ.2453 ประเทศเกาหลีไดต้ กอยูภ่ ายใตก้ ารปกครองของญี่ป่ ุน ราชวงศเ์ กาหลี สิ้นสุดลง ปลายสงครามโลกคร้ังท่ี 2 กองทพั สหภาพโซเวียต และสหรัฐอเมริกาได้เขา้ ยึดเกาหลีจากญี่ป่ ุน เกาหลีจึงถูกแบ่งเป็ น 2 ประเทศ ทางตอนเหนืออยูภ่ ายใตก้ ารคุม้ ครองดูแลของสหภาพโซเวียต มีชื่อประเทศ วา่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ทางตอนใตอ้ ยูภ่ ายใตก้ ารดูแลของสหรัฐอเมริกา มีชื่อประเทศ วา่ สาธารณรัฐเกาหลี พระพุทธศาสนาในเกาหลีเหนือไม่สามารถที่จะรู้สถานการณ์ได้ เพราะเกาหลีเหนือ ปกครองดว้ ยลทั ธิคอมมิวนิสต์ ส่วนเกาหลีใตไ้ ดม้ ีมีการฟ้ื นฟูข้ึน ไดย้ กเลิกขอ้ บงั คบั สมยั ท่ีญ่ีป่ ุนยึดครอง มหาวทิ ยาลยั พระพทุ ธศาสนาท่ีเก่าแก่ท่ีสุดของเกาหลี คือ มหาวทิ ยาลยั ดงกกุ ในปี พ.ศ.2507 คณะสงฆเ์ กาหลีใตไ้ ดจ้ ดั ต้งั โครงการแปลและจดั พิมพพ์ ระไตรปิ ฎกฉบบั เกาหลีข้ึน เรียกว่า ศูนย์แปลพระไตรปิ ฎกเกาหลี ต้ังอยู่ในมหาวิทยาลัยดงกุก ประชาชนในเกาหลีใต้นับถือ พระพุทธศาสนานิกายเซนผสมกบั ความเชื่อในพระอมิตาภพุทธะ และ พระศรีอารยเมตไตรย หรือพระเมตต รัยโพธิสตั ว์ การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศญป่ี ่ ุน พระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ญ่ีป่ ุนโดยผา่ นเกาหลี โดย พระเจา้ เซมาโวแห่งเกาหลีส่งราชทูตไปยงั ราชสานกั พระจกั รพรรดิกิมเมจิพร้อม ด้วยพระพุทธรูป ธง คมั ภีร์ะพุทธธรรมและพระราชสาร์นแสดงพระราช ประสงค์ที่จะขอให้พระจักรพรรดิกิม เมจิรับนับถือพระพุทธศาสนา ซ่ึงนับเป็ นการเร่ิ มต้นของ พระพุทธศาสนาในญ่ีป่ ุน ซ่ึงเจริญเป็ นอยา่ งมาก หลงั จากพระจกั รพรรดิกิมเมจิสิ้นพระชนมแ์ ลว้ จกั รพรรดิ องคต์ ่อๆมาก็มิไดใ้ ส่พระทยั ในพระพุทธศาสนา จนถึงสมยั ของพระจกั รพรรดินีซุยโกไดท้ รงสถาปนาเจา้ ชาย โชโตกุ เป็ นผูส้ าเร็จราชการแผ่นดิน เจา้ ชายพระองคน์ ้ีเองท่ีไดท้ รงวางรากฐานการปกครองประเทศญ่ีป่ ุน และสร้าง สรรคว์ ฒั นธรรมพร้อมท้งั ทรงเชิดชูพระพทุ ธศาสนา และในวนั ที่ 1 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.1137พระองค์ ไดป้ ระกาศพระราชโองการเชิดชูพระรัตนตรัย ทาให้พระพทุ ธศาสนาเจริญรุ่งเรืองอยา่ งมนั่ คงในญี่ป่ ุนจนได้
ช่ือวา่ ยคุ โฮโก คือ ยคุ ที่สัทธรรมไพโรจน์ ดหลงั จากเจา้ ชายโชโตกุ สิ้นพระชนม์ ประชาชนรวมใจกนั สร้าง พระพุทธรูปขนาดเท่าองคเ์ จา้ ชายโชโตกขุ ้ึน 1 องค์ ประดิษฐานไวเ้ ป็นอนุสรณ์ที่วดั โฮริวจิ หลงั จากน้นั พระพุทธศาสนาก็แบ่งเป็ นหลายนิกาย จนถึงยุคเมอิจิพระ พุทธศาสนาก็เสื่อมลงอยา่ ง หนกั ลทั ธิชินโตข้ึนมาแทนท่ี และศาสนาคริสตก์ ็เริ่มเผยแผพ่ ร้อมกบั วฒั นธรรมตะวนั ตกหลงั่ ไหลเขา้ มาใน ญี่ป่ ุนทาใหก้ ารศึกษาเจริญข้ึน พระพุทธศาสนาถูกยกข้ึนมาในแง่ของวชิ าการ ในปัจจุบันชาวญี่ป่ ุนนับถือพระพุทธศาสนาควบคู่ไป กับศาสนาชินโต พระพุทธศาสนาแบ่ง ออกเป็ นหลายนิกาย แต่นิกายที่สาคญั มี 5 นิกาย คือ นิกายเทนได นิกายชินงอน นิกายโจโด (สุขาวดี) นิกาย เซน (ธฺยาน หรือฌาน เป็นท่ีนิยมมากที่สุด) และนิกายนิจิเรน การเผยแผ่และการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศทเิ บต แต่เดิมชาวทิเบตนบั ถือลทั ธิบอนโป ซ่ึงเป็ นลทั ธิท่ีนบั ถือผีสางเทวดา ต่อมาพระเจา้ สรองสันคมั โป ทรงข้ึนครองราชย์ ไดท้ รงอภิเษกสมรสกบั เจา้ หญิงเนปาลและเจา้ หญิงจีน ซ่ึงนบั ถือพระพุทธศาสนา ทาให้ พระพทุ ธศาสนาเริ่มเผยแผเ่ ขา้ สู่ทิเบต และแพร่หลายในรัชสมยั ของกษตั ริยท์ ิเบตพระองคท์ ี่ 5 กษตั ริยอ์ งคต์ ่อ ๆ มา แทบทุกพระองคท์ รงมีพระราชศรัทธาในพระพทุ ธศานาทาใหพ้ ระพุทธศาสนาไดร้ ับการ อุปถมั ภบ์ ารุง อย่างดี พุทธศตวรรษที่ 16 พระทีปังกรศรีชญาณ(พระอตีศะ)จาก มหาวิทยาชลัยวิกรมศิลา แควน้ พิหาร ประเทศอินเดีย ไดร้ ับการอาราธนาเขา้ มาเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในทิเบตจากเหตุการณ์คร้ังน้ีทาให้ พระพุทธศาสนาประดิษฐานมนั่ คง เป็นศาสนาประจาชาติทิเบตในเวลาต่อมา พระพุทธศาสนาในทิเบตมีหลายนิกาย นิกายเก่าท่ีนบั ถือพระปัทมสัมภวะน้นั ต่อมาไดช้ ื่อวา่ นิกาย หมวกแดง ต่อมาพระตสองขะปะ ไดป้ ฎิรูปหลกั คาสอนของนิกายหมวกแดงน้ีแลว้ ต้งั นิกายใหม่ข้ึน ช่ือวา่ นิกายเกลุกปะ หรือ นิกายหมวกเหลือง นิกายน้ีไดร้ ับการยกยอ่ งจากผูป้ กครองมองโกลวา่ เป็ นผนู้ าทางจิตใจ และตอ่ มาถือวา่ เป็นผปู้ กครองบา้ นเมืองดว้ ย ในรัชสมัยของพระเจ้าอัลตนั ข่าน พระองค์ได้พบประมุขสงฆ์องค์ท่ี 3 ของนิกายเกลุกปะ ช่ือ สอดนมั ยาโส พระองค์ เกิดความเช่ือวา่ พระสอดนมั ยาโสน้ีเป็ นอาจารยข์ องพระองคใ์ นชาติก่อนจึงเรียก พระ สอดนมั ยาโสว่า ดะเล หรือ ดะไล (Dalai ) ต้งั แต่น้นั มาประมุขสงฆ์ของธิเบตจะพูกเรียกวา่ ดะไลลามะ ดะ ไลลามะบางองคไ์ ดร้ ับมอบอานาจจากผนู้ ามองโกลใหป้ กครองประเทศธิเบตท้งั หมดทา ใหพ้ ระพุทธศาสนา และวฒั นธรรมเจริญรุ่งเรือง จนถึงองค์ที่ 7 (พ.ศ.2351-2401) ทิเบตเขา้ สู่ยุคของการปิ ดประตูอยูโ่ ดดเดี่ยว เนื่องจากไดร้ ับความผนั ผวนและ การเปลี่ยนแปลงตา่ ง ๆ จีนแดงเขา้ ครอบครองในปี พ.ศ.2494 ขณะน้ีดะไลลามะประมุขสงฆ์ของทิเบตองค์ปัจจุบนั เป็ นองคท์ ี่ 14 ทรงพานักล้ีภยั อยู่ในประเทศ อินเดีย ต้งั แตท่ รงเดินทางหลบหนีออกจากทิเบต พ.ศ.2505เป็นตน้ มา การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศเนปาล พระพุทธศาสนาเผยแผเ่ ขา้ สู่ประเทศเนปาลทางประเทศ อินเดีย แต่เดิมน้นั ประเทศเนปาลเป็ นส่วน หน่ึงของประเทศอินเดีย สถานท่ีประสูติของพระพุทธเจ้า คือ สวนลุมพินีวนั อยู่ในเขตประเทศเนปาล ปัจจุบนั
ในสมยั พระเจา้ อโศกมหาราชไดพ้ ระราชทานพระราชธิดา พระนามวา่ จารุมตี ใหแ้ ก่ขุนนางผูใ้ หญ่ ชาวเนปาล พระเจา้ อโศกมหาราชและเจา้ หญิงจารุมตีไดท้ รงสร้างวดั และเจดียห์ ลายแห่ง ซ่ึงยงั คงปรากฏอยทู่ ่ี นครกาฐมาณฑุในปัจจุบัน ในสมยั ที่ชาวมุสลิมเขา้ รุกรานแควน้ พิหารและเบงกอล ในประเทศอินเดีย พระภิกษุจากอินเดียตอ้ งหลบหนีภยั เขา้ ไปอาศยั อยู่ในเนปาล ซ่ึงพระภิกษุเหล่าน้ันก็ได้นาคาภีร์อนั มีค่า มากมายไปด้วย และมีการเก็บรักษาไวเ้ ป็ นอย่างดีจนถึงทุกวนั น้ี และเมื่อมหาวิทยาลยั ลนั ทา(ในประเทศ อินเดีย) ถูกทาลายซ่ึงทาใหพ้ ระพุทธศาสนาเสื่อมสูญไปจากอินเดียแลว้ กส็ ่งผลใหพ้ ระพุทธศาสนาในเนปาล พลอยเส่ือมลงดว้ ย คุณลกั ษณะพิเศษท่ีเป็ นเครื่องประจาพระพุทธศาสนา เช่น ชีวิตพระสงฆใ์ นวดั วาอาราม การตอ่ ตา้ น การถือวรรณะ การปลดเปล้ืองความเช่ือไสยศาสตร์หายไป พระพุทธศาสนาในประเทศเนปาล ในยุคแรกเป็ นพระพุทธศาสนาแบบด้งั เดิมหรือแบบเถรวาท ต่อมาเถรวาทเสื่อมสูญไป เนปาลได้กลายเป็ นศูนยก์ ลางของพระพุทธศาสนามหายานนิกายตนั ตระซ่ึงใช้ คาถาอาคม และพิธีกรรมแบบไสยศาสตร์ นอกจากน้ีไดม้ ีนิกายพุทธปรัชญาสานกั ใหญ่ ๆ เกิดข้ึนอีก 4 นิกาย คือ สวาภาวภิ ะ ไอศวริกะ การมิกะ และยาตริกะ ปัจจุบนั ไดม้ ีการฟ้ื นฟูการศึกษาพระพุทธศาสนาฝ่ าย เถรวาทข้ึนในประเทศเนปาลโดยส่งพระภิกษุ สงฆส์ ามเณรไปศึกษาในประเทศที่นบั ถือ พระพุทธศาสนา เช่น ประเทศไทย พม่า ศรีลงั กา โดยเฉพาะใน ประเทศไทยน้นั พระภิกษุสามเณรชาวเนปาล ซ่ึงไดอ้ ุปสมบาทและบรรพชาแบบเถรวาทไดม้ าศึกษาปริยตั ิ ธรรมและศึกษาใน มหาวิทยาลยั สงฆ์ 2 แห่ง คือมหามกุฏราชวทิ ยาลยั และมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ใน ประเทศเนปาลเองมีสมาคมแห่งหน่ึงช่ือธรรโมทยั สภาไดอ้ ุปถมั ภใ์ หพ้ ระภิกษุสงฆจ์ ากประเทศศรีลงั กาและ พระภิกษุสงฆใ์ นประเทศ เนปาลท่ีไดร้ ับการอบรม มาจากประเทศศรีลงั กา ออกเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาอยา่ ง จริงจงั พร้อมท้งั มีการแปลพระสูตรจากภาษาบาลีเป็นภาษาทอ้ งถ่ินพมิ พอ์ อกเผยแพร่เป็ น จานวนมากดว้ ย
ใบความรู้ เรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลก การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวปี ยุโรป การเผยแผแ่ ละการนบั ถือศาสนาในทวปี ยโุ รป พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ ไปในทวปี ยโุ รป โดยผา่ นทางประเทศกรีซก่อนในช่วงพุทธสตวรรษตน้ ๆ แต่ทวา่ ยงั ไม่ไดร้ ับความนิยมเท่าใดนกั จนกระทงั่ หลงั จากพุทธศตวรรษที่ ๒๑ เป็นตน้ มา เมื่อชาวยโุ รปได้ ประเทศต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย ศรีลงั กา พม่า เขมร ลาว และบางส่วนของจีนเป็นอาณานิคมแลว้ ก็ พบวา่ ชาวพ้ืนเมืองส่วนใหญ่นบั ถือพระพุทธศาสนา ซ่ึงมีหลกั ธรรมคาส่ังสอนอนั ลึกซ้ึง มีเหตุมีผลถูกตอ้ ง ตามหลกั วิทยาศาสตร์ จึงบงั เกิดความสนใจและเมื่อได้ทาการศึกษาคน้ ควา้ พระไตรปิ ฎกและคมั ภีร์ต่าง ๆ เพิม่ เติม กป็ ระจกั ษว์ า่ หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาสามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งดียงิ่ จึงมีการนาหลกั ธรรมดงั กล่าวออกเผยแพร่ในหมู่ชาวยุโรปด้วยกนั เหตุผลท่ีทาให้ชาวยุโรปเริ่ม สนใจพระพุทธศาสนาก็เพราะประทบั ใจ หลกั การของพระพุทธเจา้ ท่ีทรงสอนใหบ้ ุคคลอยา่ เช่ือถือคาสอน ของพระองคโ์ ดยทนั ที จนกวา่ จะไดใ้ คร่ครวญพิจารณาหรือทดลองปฏิบตั ิดูก่อน เมื่อเห็นผลแลว้ จึงค่อยเชื่อ นอกจากน้ี หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาก็เน้นถึงความมีเมตตากรุณา ความรัก การไม่เบียดเบียนต่อกนั ส่งเสริมเสรีภาพ ภราดรภาพ และความเสมอภาค จึงส่งผลใหม้ ีชาวยโุ รปประกาศตนเป็ นพุทธมามกะเพิ่มข้ึน เร่ือย ๆ นบั ต้งั แตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบนั ซ่ึงเราสามารถแบง่ รายละเอียดเป็นประเทศๆ ไดด้ งั น้ี การเผยแผ่ศาสนาในประเทศองั กฤษ การเผยแผใ่ นประเทศองั กฤษเร่ิมตน้ ข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2393 โดยนายสเปนเซอร์ อาร์ดี ตีพิมพห์ นงั สือ ช่ือ “ศาสนจกั รแห่งบูรพาทิศ” ออกเผยแผ่ แต่ไม่ประสบผลสาเร็จมากนกั จนกระทง่ั เมื่อ เซอร์ เอด็ วิน อาร์ ดนลด์เขียนหนังสือเรื่อง “ประทีปแห่งเอเชีย” ออกสู่สายตามหาชนใน พ.ศ.2422 นับต้งั แต่น้นั เป็ นตน้ มา ชาวองั กฤษก็เริ่มต่ืนตวั หนั มาสนใจในพุทธศาสนามากข้ึนเร่ือย ๆ โยชาวองั กฤษไดร้ ่วมมือกบั ชาวพุทธใน ประเทศต่าง ๆ ก่อต้งั สมาคมเพื่อดาเนินงานเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศองั กฤษข้ึนหลายสมาคมที่ สาคญั ได้แก่สมาคมบาลีปกรณ์ จดั พิมพพ์ ระไตรปิ ฎกเป็ นภาษาองั กฤษ พุทธสมาคมระหว่างชาติ (สาขา
ลอนดอน) ของพม่า ตีพิมพ์หนงั สือชื่อ “พระพุทธศาสนา” พุทธสมาคมแห่งเกรตบริเตนและไอร์แลนด์ ออกวารสารช่ือ “พุทธศาสตร์ปริทศั น์” สมาคมมหาโพธ์ิ (สาขาลอนดอน) ของศรีลงั กาออกวารสารช่ือ “ชาวพุทธองั กฤษ” และ “ธรรมจกั ร” เป็นตน้ การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในองั กฤษน้ีถึงแมพ้ ทุ ธสมาคมตา่ ง ๆ จะนบั ถืนิกายแตกต่างกนั เช่น นิกายเถรวาท นิกายมหายาน นิกายเซน นิกายสุขาวดี ฯลฯ แตท่ ุกสมาคมก็ สมคั รสมานสามคั คีกันดี โดยมีการจดั กิจกรรมและประชุมกนั บ่อยคร้ัง ท้งั น้ีเพ่ือทาให้พระพุทธศาสนา สามารถเผยแผอ่ อกไปไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง อน่ึงไดม้ ีการจดั ต้งั วหิ ารทางพระพุทธศาสนาข้ึนหลายแห่งในประเทศองั กฤษ เป็ นตน้ วา่ พุทธวหิ าร ลอนดอนของประเทศศรีลงั กา วดั ของมูลนิธิสงฆ์องั กฤษท่ีถนน แฮมสเตท และมีวดั ของชาวพุทธศรี ลงั กา ที่ตาบลซิลิค กรุงลอนดอน วดั ทิเบตที่บิดดอล์ฟ ประเทศสกอตแลนด์ วดั ไทยพุทธประทีปที่กรุง ลอนดอนเกิดข้ึน ต่อมาก็มีวดั อื่น ๆ เช่น วดั ป่ าจิตตวิเวก เมืองแฮมไชร์ วดั ป่ าสันติธรรม เมืองวอริค วดั อมราวดี และวดั สงั ฆทาน เมืองเบอร์มิงแฮม พระภิกษุไทยไดไ้ ปเผยแผ่พระพุทธศาสนา สอนวิปัสสนากรรมฐานให้แก่ชาวพุทธในประเทศ องั กฤษ โดยเฉพาะป่ า จิตตวิเวก วดั อมราวดี และวดั ป่ าสันติธรรม ไดม้ ีชาวองั กฤษมาบวชศึกษาปฏิบตั ิจาก หลวงพ่อชา สุภทั โท พระวิปัสสนาจารยผ์ ูม้ ีชื่อเสียง แล้วกลบั ไปเผยแผ่ยงั ประเทศของตน งานเผยแผ่ พระพุทธศาสนาจึงกระจายไปได้อย่างรวดเร็ว นอกจากน้ีพระเขมธัมโม ได้เข้าไปสอนนักโทษตาม ทณั ฑสถานต่าง ๆ โดยความร่วมมือของรัฐ ผลักดันให้คุกเป็ น สถานปฏิบัติธรรมของนักโทษ และ โครงการองคุลีมารเพอ่ื ช่วย เหลือนกั โทษ โดยมิไดแ้ บ่งวา่ นบั ถือศาสนาพุทธหรือศาสนาอ่ืน ๆ กล่าวโดยสรุป ปัจจุบนั มีชาวองั กฤษประกาศตนเป็ นพุทธมามกะมากข้ึนเร่ือย ๆ และจากรายงาน ในวารสาร “ทางสายกลาง” ของ พุทธสมาคมลอนดอนระบุวา่ มีสมาคมและองคก์ ารตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั พระพุทธศาสนาจดั ต้งั อยใู่ นประเทศองั กฤษแลว้ ประมาณ 32 แห่ง การเผยแผ่ศาสนาในประเทศเยอรมนี ชาวเยอรมนั ไดย้ อมรับพระพุทธศาสนาต้งั แต่ก่อนสงครามโลกคร้ังที่ 2 แลว้ แต่เป็ นเพียงชนส่วน นอ้ ยเทา่ น้นั จนกระทง่ั เม่ือลทั ธินาซีเรืองอานาจ พระพทุ ธศาสนากเ็ ริ่มเสื่อมไปจากประเทศเยอรมนี หลงั จากสงครามโลกคร้ังท่ี 2 เยอรมนั ถูกแบ่งออกเป็ น 2 ประเทศ พระพุทธศาสนาค่อย ๆ ไดร้ ับ การฟ้ื นฟูข้ึนมาใหม่ ในประเทศสาธารณรัฐเยอรมนี (เยอรมนั ตะวนั ตก) โดย ดร.คาร์ล ไซเกนสิตคเกอร์ และ ดร.ยอร์จ กริมม์ ไดร้ ่วมมือต้งั พุทธสมาคมเยอรมนั ข้ึนท่ีเมืองไลป์ ซิก เมื่อ พ.ศ. 2464 เพื่อทาการเผยแผ่ หลกั ธรรมและดาเนินกิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนา
การเผยแผพ่ ุทธศาสนาในประเทศเยอรมนั ตะวนั ตก ดาเนินการโดยเอกชนร่วมมือกบั ภิกษุสงฆ์จาก ญี่ป่ ุน ไทย ศรีลงั กา ไทย ทิเบต จดั พิมพว์ ารสารแลจุลสารออกเผยแผ่ เช่นกลุ่มชาวพุทธเก่าตีพิมพว์ ารสารช่ือ “ยาน” สมาคมพระธรรมทูตศรีลงั กาและชาวพุทธในเมืองฮมั บูร์ก ออกวารสารพระพุทธศาสนาฉบับ ภาษาเยอรมนั นอกจากน้ีก็มีการจดั แสดงปาฐกถาอภิปราย และสนทนาธรรมที่กรุงเบอร์ลินตะวนั ตก ประมาณ 5 – 10 คร้ังต่อเดือน รวมท้งั ยงั มีศาสตราจารยท์ ี่เช่ียวชาญเร่ืองราวทางดา้ นพระพุทธศาสนานิกาย สุขาวดีอยใู่ นกรุงเบอร์ลินตะวนั ตก เมืองมิวนิกและฮมั บูร์ก เป็นประจาอีกดว้ ย เมื่อเยอรมนีตะวนั ตกไดร้ วมเขา้ กบั เยอรมนีตะวนั ออกเป็นประเทศเดียว ก็พอท่ีจะคาดการณไดว้ า่ คง จะมีชาวเยอรมนั ประกาศตนเป็ นพุทธมามกะเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็ นผทู้ ่ีอาศยั อยใู่ นเมืองฮมั บูร์ก เบอร์ลิน สตุตการ์ต มิวนิก โคโลญ และ แฟรงค์เฟิ ร์ต ส่วนการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาท่ีสาคญั มกั จะกระทากนั ท่ี “ศาสนสภาแห่งกรุงเบอร์ลิน” ปัจจุบนั น้ีท่ีสหพนั ธ์สาธารณรัฐเยอรมนี มีวดั ไทย 3 วดั คือ วดั พุทธวิหาร ท่ีเมืองเบอร์ลิน วติ เต นัว วดั ไทยมิวนิค ท่ีเมือง มิวนิค และวดั พุทธารามเบอร์ลิน ซ่ึงเป็ นศูนยก์ ารเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน เยอรมนี การเผยแผ่ศาสนาในประเทศฝร่ังเศส การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศฝร่ังเศสเริ่มข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2471 โดยกลุ่มพุทธศาสนิกชนชาว ฝรั่งเศส ซ่ึงมี นางสาวคอนสแตนต์ ลอนสเบอรี เป็ นผนู้ า ไดร้ ่วมกนั จดั ต้งั พุทธสมาคม ชื่อ “เล ซามี ดู บุดดิส เม” ข้ึนที่กรุงปารีส พุทธสมาคมแห่งน้ีนอกจากจะทาการเผยแผห่ ลกั ธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนิกายเถร วาทแลว้ ก็ยงั ไดจ้ ดั ใหม้ ีการแสดงธรรมอภิปรายเรื่องราวของธรรมะ ออกวารสารพระพุทธศาสนารายเดือน ฝึ กอบรมการนั่งสมาธิและวิปัสสนาให้แก่ผูท้ ี่สนใจ นอกจากน้ียงั ไดน้ ิมนตพ์ ระสงฆ์จากประเทศไทย พม่า ลาว เดินทางไปแสดงพระธรรมเทศนาที่กรุงปารีส และนางสาวคอนสแตนต์ ก็ยงั เป็ นผูร้ ิเริ่มการแปล พระไตรปิ ฎกจากภาษาบาลีเป็นภาษาฝรั่งเศสดว้ ย ปัจจุบนั สถานะของพระพุทธศาสนาในฝร่ังเศสยงั ไม่รุ่งเรืองนกั การเผยแผแ่ ละการจดั กิจกรรมทาง พระพุทธศาสนาดาเนินการโดยพระภิกษุจากไทย ญี่ป่ ุน ศรีลงั กา กลุ่มพุทธศาสนิกชน จากประเทศฝรั่งเศส และประเทศองั กฤษ และเม่ือถึงวนั วสิ าขบูชา ของทุก ๆ ปี ชาวพุทธในกรุงปารีสจะประกอบพิธีเวียนเทียน กนั ท่ีวหิ ารของพุทธสมาคม โยมีวดั ไทยต้งั อยู่ 2 แห่ง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอดีตสหภาพโซเวียต
สหภาพโซเวยี ตจดั เป็ นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีดินแดนครอบคลุมถึง 2 ทวีป คือ ยุโรป และเอเชีย จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์พบว่า พระพุทธศาสนาไดเ้ ผยแผ่เขา้ สู่สหภาพโซเวียตซ่ึงใน ขณะน้ันเรียกว่า “รุสเซีย” เมื่อคร้ังท่ีพวกมองโกลภายใตก้ ารนาของพระจกั พรรดิเจงกิสข่าน ยกทพั มา รุกราน ยุโรปเมื่อ พ.ศ. 1766 และสามารถปกครองรุสเซีย อยู่เป็ นเวลานานประมาณ 250 ปี แต่ทว่ามีชาว รุสเซียเพียงส่วนนอ้ ยเทา่ น้นั ท่ียอมรับพระพทุ ธศาสนา ภายหลงั สงครามโลกคร้ังที่ 1 ไดม้ ีผูน้ าพระพุทธศาสนาเขา้ ไปเผยแผใ่ นรุสเซียอีก เช่น มาดามเชอร์ บาตรสกี และ มร. บี.เอ็น. โตโปรอฟ แปลหนงั สือธรรมบทจากภาษาบาลีเป็นภาษารุสเซีย นอกจากน้ีกย็ งั มี การจดั ต้งั พุทธสมาคมข้ึนในรุสเซียดว้ ย มีช่ือวา่ “บิบลิโอเธคา พุทธิคา” แต่การเผยแผพ่ ุทธศาสนาก็ทาได้ ในขอบเขตท่ีจากดั เนื่องจากสหภาพโซเวียตมีระบบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ จึงส่ังห้ามมิให้บุคคล องค์การ สมาคม ทาการโฆษณาเผยแผห่ ลกั ธรรมคาสอนของศาสนาจนกว่าจะไดร้ ับอนุญาตจากทางการ เสียก่อน การประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาคร้ังใหญ่ที่จดั ทาข้ึนในสหภาพโซเวียต ก็คืองานเฉลิม ฉลอง 25 พุทธศตวรรษ เม่ือ พ.ศ. 2500 ที่กรุงมอสโก ปัจจุบนั เมื่อมีการแยกตวั เป็ นรัฐเอกราชต่าง ๆ ก็ทาให้ชาวพุทธกระจายกนั ออกไปแต่ละรัฐ เช่น สหพนั ธรัฐเซีย สาธารณรัฐลิทวั เนีย สาธารณรัฐคาซคั สถาน เป็นตน้ ซ่ึงโดยมากมกั จะนบั ถือนิกายตนั ตระ ส่วนวดั มีเหลืออยูเ่ พียงไม่กี่แห่งโดยวดั ส่วนใหญ่จะถูกดดั แปลงทาเป็ นพิพิธภณั ฑ์เพ่ือการศึกษา และบาง แห่งก็ถูกดดั แปลงทาเป็ นสถานที่ราชการ วดั สาคญั ๆ ไดแ้ ก่ วดั ไอโวกินสกีมหายานและวดั อีโวลกาใน สหพนั ธ์รัสเซีย เป็นตน้ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศเนเธอร์แลนด์ พระพุทธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ สู่ประเทศเนเธอร์แลนด์โดยผา่ นมาทางพอ่ คา้ ชาวดตั ช์และชาวพ้ืนเมือง จากประเทศอินโดนีเซียและศรีลงั กา ซ่ึงเดินทางเขา้ มาศึกษาเล่าเรียนอยใู่ นกรุงอมั สเตอร์ดมั แต่ทวา่ ก็มีผูน้ บั ถืออยเู่ พยี งไมก่ ่ีคนเท่าน้นั หลงั สงครามโลกคร้ังท่ี 2 ชาวพุทธในกรุงเฮก ไดฟ้ ้ื นฟูชมรมชาวพุทธข้ึนมาใหม่เมื่อ พ.ศ. 2498 โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้เป็ นศูนย์กลางในการพบปะสังสรรค์กันของพุทธศาสนิกชนในประเทศ เนเธอร์แลนด์ ชมรมน้ีจะเปิ ดประชุมทุกวนั องั คาร สัปดาห์ท่ี 3 ของเดือน ซ่ึงในการประชุมทุกคร้ังจะเร่ิมตน้ ดว้ ยการบรรยายหลกั ธรรมของพระพุทธเจา้ แลว้ อ่านพระสูตรพร้อมกบั อธิบายความหรือขยายความเพิ่มเติม และก่อนเปิ ดประชุมจะมีการฝึกสมาธิก่อน ปัจจุบนั การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศเนเธอร์แลนด์ ดาเนินงานโดยพระภิกษุสงฆ์จาก ประเทศไทย ศรีลงั กา และญี่ป่ ุนเป็ นส่วนใหญ่ และมีวดั ไทยเกิดข้ึน เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ วดั
พทุ ธราม และวดั พุทธวิหารอมั สเตอร์ดมั โดยพระ ธรรมทูตที่ผา่ นการอบรมจากมหาวทิ ยาลยั สงฆไ์ ปอยทู่ า หนา้ ท่ีเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา และเป็ นท่ีคาดกนั วา่ ในอนาคตอนั ใกลน้ ้ีคงจะมีชาวดตั ช์หันมายอมรับนบั ถือ พระพทุ ธศาสนาเพ่มิ ข้ึนมากเร่ือย ใบความรู้ เรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลก การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวปี อเมริกาเหนือ การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศสหรัฐอเมริกา พระพุทธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ สู่สหรัฐอเมริกา เมื่อประมาณตน้ พุทธศตวรรษที่ 25 โดยมหาวิทยาลยั ฮาร์วาร์ด ไดเ้ ริ่มจดั พิมพห์ นงั สือสาคญั ๆ ของตะวนั ออก ซ่ึงมีเร่ืองราวของพระพุทธศาสนารวมอยูด่ ว้ ย เช่น Buddhist Legends ของ อี. ดับบลิว. เบอร์ลิงเกม Buddhism in Translation ของ เอช. ซี. วอเรน ทาให้ชาว อเมริกนั โดยเฉพาะปัญญาชนหนั มาสนใจพระพุทธศาสนา นอกจากน้ีหนงั สือ ประทีปแหงเอเชีย ของ เซอร์ เอด็ วนิ อาร์โนลด์ กม็ ีส่วนทาใหช้ าวอเมริกนั สนใจพระพุทธศาสนา เฉพาะหนงั สือเล่มน้ีไดร้ ับการตีพิมพเ์ ผย แผพ่ ระพทุ ธศาสนาในสหรัฐอเมริกามากกวา่ 80 คร้ัง บุคคลที่มีบทบาทสาคญั ในการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ในสหรัฐอเมริกาช่วงแรกๆ คือ พนั เอก เฮนรี สตีล ออลคอตต์ พนั เอก เฮนรี สตีล ออลคอตต์ เป็ นนกั กฎหมายชาวอเมริกนั ไดเ้ ดินทางไปยงั ประเทศศรีลงั กา เม่ือ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2423 และไดป้ ระกาศตนเป็ นพุทธศาสนิกชนพร้อมท้งั ไดต้ ้งั สมาคมพุทธเทวนิยมข้ึน เพื่อต้งั โรงเรียนสอนภาษาองั กฤษสาหรับเด็กชาวพุทธ เม่ือกลบั ถึงอเมริกาไดแ้ ต่งหนงั สือชื่อ ปุจฉาวิสัชนา ทางพระพุทธศาสนา (Buddhist Catechism) ข้ึนเผยแผ่และได้รับความสนใจจากชาวเมริกนั เป็ นอย่างมาก นอกจากน้ีในคราวประชุมสภาพโลกของศาสนา ในเมืองชิคาโก เมื่อ พ.ศ. 2436 ทา่ นยงั ไดร้ ับเชิญใหบ้ รรยาย เก่ียวกบั พระพุทธศาสนาในท่ีประชุม สุนทรพจน์ของทา่ เป็นท่ีซาบซ้ึงใจแก่ผฟู้ ังจานวนมาก
ในปี พ.ศ. 2442 ท่านโซกวั โซนาดะ พร้อมคณะไดน้ าพระพุทธศาสนาแบบมหายานนิกายต่างๆ ไป เผยแผ่ในเมืองซานฟรานซิสโก มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ต่อมาในปี พ.ศ. 2448 ไดม้ ีการสร้างวดั พระพุทธศาสนา ข้ึน ณ เมืองแห่งน้ี แบะวดั น้ีก็ได้กลายเป็ นท่ีทาการใหญ่ของนิกายซินหรือสุขาวดีแห่งญี่ป่ ุน ความ เจริญรุ่งเรื องของพระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกาเป็ นไปอย่างช้าๆ แต่ทว่าม่ันคงศูนย์กลางของ พระพุทธศาสนาท่ีสาคญั ๆ ส่วนใหญ่อยใู่ นเมืองซานฟรานซิสโก ลอสอแอนเจลิส และซีแอตเติล ในปี พ.ศ. 2497 ไดม้ ีการจดั ต้งั พุทธสมาคมข้ึนในวอชิงตนั ดี.ซี. มีชื่อวา่ สหายพุทธศาสนา (Friend of Buddhism) สมาคมแห่งน้ีถือวา่ เป็นสมาคมที่มีกาลงั มากที่สุดแห่งหน่ึงในสหรัฐอเมริกาในเวลาต่อมา ในปี พ.ศ. 2501 พระพิมลธรรม (อาจ อาสภมหาเถระ) ไดร้ ับเชิญจากขบวนการ เอม็ . อาร์. เอ ไปร่วม ประขมุ สุดยอดของขบวนการ ขณะที่ท่านพานกั อยูท่ ่ีกรุงวอชิงตนั ดี. ซี. ไดเ้ ผยแผพ่ ระพุทธศาสนาท้งั ในหมู่ ชาวอเมริกนั และชาวไทยในอเมริกาพอสมควร ในช่วงปี พ.ศ. 2502-2512 การเผยแพระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกาไดด้ าเนินไปอยา่ งต่อเน่ือง มี พระสงฆไ์ ดร้ ับนิมนตไ์ ปแสดงธรรมหรือปาฐกถาธรรมอยเู่ สมอ จนกระทงั่ ปี พ.ศ. 2513 ไดม้ ีกลุ่มคณะพุทธศาสนิกชนชาวไทยในสหรัฐอเมริการ่วมกนั ก่อต้งั พุทธ สมาคมไทย-อเมริกนั ข้ึน ณ นครลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย และไดน้ ิมนตพ์ ระสงฆไ์ ทยจานวน 3 รูป มา จาพรรษาชวั่ คราว หลงั จากออกพรรษาแลว้ ไดป้ ระชุมปรึกษาหารือกนั เพอ่ื สร้างวดั พุทธศาสนานิกายเถรวาท แบบไทยข้ึน ในวนั ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 นายพูนศกั ด์ิ ซอโสตถิกุล ไดท้ าพิธีถวายโฉนดท่ีดินให้แก่คณะ สงฆเ์ พ่อื ใชเ้ ป็ นท่ีสร้างวดั และในวนั ท่ี 19 พฤษภาคม ปี เดียวกนั สมเด็จพระวนั รัต (ป่ ุน ปุณฺณสิริ) ไดว้ างศิลา ฤกษส์ ร้าง วนั ไทยลอสแอนเจลิส เป็นวดั พระพทุ ธศาสนาแห่งแรกในสหรัฐอเมริกา หลงั จากท่ีไดส้ ร้างวดั ไทยลอสแอนเจลิสข้ึนเป็นแห่งแรกแลว้ การดาเนินการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ในสหรัฐอเมริ กาก็เป็ นไปอย่างกว้างขวาง พระสงฆ์ไทยก็ได้รับการนิ มนต์ให้ไปทาการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาตามรัฐต่างๆ มากข้ึน และมีการสร้างวดั ไทยเพ่ิมข้ึนในรัฐต่าง ๆ เช่น วดั ไทยกรุงวอชิงตนั ดี.ซี. วดั วชิรธรรมปทีป ในนิวยอร์ก วดั พทุ ธาราม ในเดนเวอร์ วดั พุทธาวาส ในฮิวส์ตนั เป็นตน้ การเผยแผ่และการนับถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศแคนาดา พระพุทธศาสนาในประเทศแคนาดาก็มีลกั ษณะเช่นเดียวกบั พระพุทธศาสนาในสหรัฐอเมริกา คือ เร่ิมเผยแผ่เขา้ สู่แคนาดาโดยมีชาวเอเชียจากประเทศต่าง ๆ เดินทางเขา้ มาอาศยั อยูใ่ นแคนาดาซ่ึงชาวเอเชีย เหล่าน้ีก็ไดน้ าเอาหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาเขา้ ไปเผยแผต่ ่อชาวพ้ืนเมืองดว้ ย โดยเฉพาะในปัจจุบนั น้ีมี
ชาวเกาหลี เวียดนาม เขมร และลาวจานวนมากไดอ้ พยพเขา้ ไปต้งั ถ่ินฐานในประเทศแคนาดา จึงทาให้มี การจดั ต้งั พุทธสมาคมข้ึนเพื่อดาเนินกิจกรรมทางดา้ นพระพุทธศาสนาด้วยเหตุน้ีจึงทาให้จานวนชาวพุทธ เพ่ิมมากข้ึน องค์กรที่สาคญั ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศแคนาดา ได้แก่ พุทธสมาคมแห่ง ออตตาวา กลุ่มชาวพุทธแห่ งโตรอนโต คณ ะพระธรรมทูตแห่ งอเมริ กาเหนื อ เป็ นต้น ปัจจุบนั พระพุทธศาสนาในประเทศแคนาดาส่วนใหญ่ยงั คงนบั ถือกนั ในกลุ่มคนเอเชียที่ไปต้งั ถ่ิน ฐานในแคนาดา ชาวแคนาดาไม่ค่อยให้ความสนใจในพระพุทธศาสนามากนกั วดั ทางพระพุทธศาสนาส่วน ใหญจ่ ึงเป็นวดั ของนิกายสุขาวดีและนิกายเซนแบบญี่ป่ ุน ใบความรู้ เรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลก การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในทวปี อเมริกาใต้ ประเทศบราซิล ชาวเอเชียจากประเทศจีน เกาหลี ญ่ีป่ ุน เป็ นบุคลกลุ่มแรกท่ีนาพระพุทธศาสนาไปเผยแผเ่ ขา้ มาใน ประเทศบราซิล ต้งั แต่ก่อนสงครามโลกคร้ังที่ 2 ชาวพุทธเหล่าน้ีส่วนใหญ่จะอาศยั อยู่ในเมืองเซาเปาลู และรีโอเดจาเนโร ปัจจุบนั มีการสร้างวดั ทางพระพุทธศาสนานิกายมหายานตามเมืองต่าง ๆ ทางชายฝ่ัง ทะเลดา้ นตะวนั ออกของประเทศประมาน 30 แห่ง รวมท้งั มีการจดั ต้งั องคก์ ารทางพระพุทธศาสนาข้ึนดว้ ย เช่น สมาคมสหายพระพุทธศาสนา สหพนั ธ์พระพุทธศาสนาแห่งบราซิล และชมรมชาวพทุ ธญ่ีป่ ุน เป็นตน้ อยา่ งไรก็ตามการนบั ถือพระพุทธศาสนาในประเทศบราซิลก็ยงั จากดั อยแู่ ต่เฉพาะในกลุ่มเอเชียเท่าน้นั ส่วน ชาวพ้ืนเมืองท่ีมีความศรัทธานบั ถือพระพทุ ธศาสนายงั มีจานวนนอ้ ย ประเทศอื่นในทวปี อเมริกาใต้ ประเทศอื่นในทวีปอเมริกาใตม้ ีการปฏิบตั ิธรรมและการประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนากนั อยู่บา้ งในกรุงบวั โนสไอเรส เมืองหลวงของประเทศอาเจนตินา กรุงการากสั เมืองหลวงของประเทศ เวเนซุเอลา และกรุงมอนเตวิเดโอ เมืองหลวงของประเทศอุรุกวยั เพราะมีชาวพุทธเช้ือชาติจีนและญี่ป่ ุน
อาศยั ร่วมกนั เป็ นกลุ่มเลก็ ๆ กล่าวไดว้ า่ การนบั ถือพระพทุ ธศาสนาในประเทศตา่ ง ๆ ของวปี อเมริกาใตย้ งั อยใู่ นขอบเขตจากดั และคงตอ้ งใชเ้ วลาอีกนบั เป็น สิบ ๆ ปี ถึงทาการเผยแผไ่ ปไดท้ วั่ ใบความรู้ เร่ือง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลก การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในออสเตรเลยี พระพุทธศาสนาไดเ้ ผยแผเ่ ขา้ มาในทวีปออสเตรเลียต้งั แต่ พ.ศ. ๒๔๕๓ โดยพระภิกษุชาวองั กฤษ ชื่อ ศาสนชะ (มร.อี.สตีเวนสัน) ท่านผนู้ ้ีไดอ้ ุปสมบทท่ีประเทศพม่า ท่านไดเ้ ดินทางเขา้ สู่ประเทศออสเตรเลีย และเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่ชาวออสเตรเลียโดยแนะนาแต่เพียงวา่ พระพุทธศาสนาเนน้ การพฒั นาจิตใจ หลงั สงครามโ,กคร้ังท่ี ๒ เป็นตน้ มา พระพุทธศาสนาในประเทศออสเตรเลียก็มีการเคล่ืนไหวอยา่ งคึกคกั ในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ รัฐควีนสแลนด์ นิวเซาทเ์ วลส์ และวกิ ตอเรีย ไดจ้ ดั ต้งั พุทธสมาคมข้ึน โดยมีวตั ถุประสงค์ เพ่ือเผยแผห่ ลกั ธรรมในพระพุทธศาสนา ในปี พ.ศ. ๒๔๙๗ พุทธสมาคมแห่งรัฐนิวเซาทเ์ วลส์ก็ไดจ้ ดั พิมพ์ วารสารเกี่ยวกบั พระพุทธศาสนาออกเผยแพร่ใหก้ บั ผูส้ นใจและในปี ๒๔๙๘ ก็มีการจดั ต้งั พุทธสมาคมแห่ง รัฐแทสเมเนียข้ึน ในขณะเดียวกนั คือ ในปี ๒๔๙๗ - ๒๔๙๙ อนั เป็ นระยะเวลาที่ประเทศพม่ากาลงั มีการสังคายนา คร้ังท่ี ๖ พระเถระชาวพม่าชื่อ อู ฐิติละ ไดไ้ ปเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาท่ีประเทศออสเตรเลีย มีผสู้ นใจฟังการ บรรยายธรรมเป็ นอมั มาก ท่านอูฐิติละไดจ้ ดั อบรมกรรมฐานแก่ชาวออสเตรลียดว้ ย มีผูบ้ ริจาคเงินซ้ือท่ีดินจะ
สร้างวดั เพ่ือให้มีวดั และพระสงฆอ์ ยปู่ ระจา แต่ท่านอูฐิติละไม่ไดก้ ลบั ไปออสเตรเลียอีก การสร้างวดั จึงไม่ เป็ นผลสาเร็จ ในเวลาต่อมาพุทธสมาคมต่างๆ ทว่ั ประเทศออสเตรเลีย ไดร้ ่วมกนั จดั ต้งั สหพนั ธ์พระพุทธศาสนา แห่งออสเตรเลียข้ึนโดยมีสานกั งานใหญ่อยูท่ ี่กรุงแคนเบอร์รา ท้งั น้ีก็เพื่อจะทาการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา อยา่ งมีระบบโดยสหพนั ธ์แห่งน้ีจดั ให้เป็ นสถานท่ีจดั แสดงปาฐกถาธรรม สัมมนาทางวิชาการ อ๓ิิปราย ธรรม และใชเ้ ป็ นศูนยร์ วมในการประกอบศาสนกิจตามประเพณีของพระพุทธศาสนาทาใหม้ ีผหู้ นั มานบั ถือ พระพุทธศาสนามากข้ึนเป็ นลาดบั สาหรับประเทศนิวซีแลนดน์ ้นั การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนากค็ ลา้ ยคลึงกบั ของประเทศออสเตรเลีย แตพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศนิวซีแลนดย์ งั ไมร่ ุ่งเรืองเป็นท่ียอมรับเหมือนในประเทศออสเตรเลีย ส่วน ใหญก่ ารเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาจะดาเนินการ โดยพระภิกษุสงฆช์ าวญี่ป่ ุน ซ่ึงไดร้ ับการสนบั สนุนจากพทุ ธ สมาคมแห่งเมืองฌอคแลนด์ พระพทุ ธศาสนาในทวปี ออสเตรเลยี ในปัจจุบัน พุทธศาสนิกชนท้งั ชาวไทยและชาติอ่ืนๆ ไดเ้ ไปเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในทวปี ออสเตรเลียมากข้ึน ชาวออสเตรเลียไดม้ าอุปสมบทในประเทศไทยและประเทศอื่นท่ีนบั ถือพระพุทธศาสนาฝ่ ายเถรวาท มีการ สร้างวดั ไทยข้ึนท้งั ในประเทศออสเตรเลียและประเทศนิวซีแลนด์ เพ่ือเป็ นศูนยก์ ลางเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา เช่น วดั ธรรมรังสี วดั รัตนประทีป วดั ป่ าพทุ ธรังสี วดั ป่ าสุญญตาราม บนั ดานูน วดั ธรรมธารา
ใบความรู้ เรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาสู่ประเทศต่าง ๆ ทว่ั โลก การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในแอฟริกา ประเทศอยี ปิ ต์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศอียิปต์น้ัน ส่วนใหญ่จะเป็ นไปในรูปแบบอย่างไม่เป็ น ทางการ กล่าวคือ เกิดจากการท่ีมีชาวพุทธโดยเฉพาะชาวญี่ป่ ุน เกาหลี ไทย ศรีลงั กาอินเดียเดินทางเขาไป ทางาน ศึกษา ท่องเท่ียงในอียิปต์ แลว้ บุคคลเหล่าน้ีก็ค่อยๆ ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกบั พระพุทธศาสนาใหก้ บั ชาวอียิปตร์ ุ่นใหม่ ซ่ึงไม่ใคร่ยดึ ติดกบั วฒั นธรรมด้งั เดิมของตนมากนกั ให้ยอมรับนบั ถือพระพุทธศาสนา ดว้ ย แต่ก็ยงั มีจานวนไม่มากนกั ประมาณวา่ ไม่น่าจะเกิน 10,000 คนซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็ นผูท้ ่ีอาศยั อยูใ่ นกรุง ไคโร และเมืองอะเลก็ ซานเดรีย นอกจากน้นั ก็มีชาวพทุ ธท่ีไปอาศยั อยใู่ นอีกจานวนหน่ึง ในช่วงวนั วิสาขบูชาชาวพุทธที่อียิปต์จะมารวมตวั กนั ณ สถานทูตของประเทศตนหรือสมาคมท่ี ชาวพุทธเป็ นเจา้ ของ เพื่อปฏิบตั ิศาสนกิจดว้ ยการเวียนเทียนกนั เป็ นกลุ่มเล็กๆ และเชิญผทู้ รงภูมิมาแสดง ธรรมเป็นเวลาส้ันๆ ปัจจุบนั พระพทุ ธศาสนาในอียปิ ตย์ งั เผยแผไ่ ดน้ อ้ ย เน่ืองจากมีขอ้ จากดั ดา้ นวฒั นธรรม
ประเทศเคนยา พระพุทธศาสนาเผยแผเ่ ขา้ สู่ประเทศเคนยา ผา่ นมาทางชาวพุทธอินเดีย และศรีลงั กาท่ีเดินทางเขา้ ไปทางานในไร่การเกษตรของชาวองั กฤษ ซ่ึงในช่วงแรกๆ ก็จากดั ขอบเขตที่ผนู้ บั ถือเฉพาะชาวเอเชียเทา่ น้นั ภายหลงั ชาวเคนยาซ่ึงมีอยูเ่ ป็ นจานวนหน่ึงท่ีนบั ถือลทั ธิภูตผปี ี ศาจ ไดห้ นั มายอมรับนบั ถือพระพุทธศาสนา บา้ ง แต่ยงั คงเป็นกลุ่มเล็กๆ โดยอาศยั อยตู่ ามเมืองทา่ ทางชายฝั่งตะวนั ออกของประเทศ ภายหลงั จากการประชุมศาสนาและสันติภาพของโลก ท่ีนครไนโรบีเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.2527 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเคนยาเริ่มมีรูปแบบมากข้ึน เม่ือมีความพยายามท่ีจะก่อต้งั ชมรมชาวพุทธใน เคนยาข้ึนมาและมีการนิมนตพ์ ระสงฆจ์ ากญี่ป่ ุน จีน ไทยเพ่ือใหเ้ ดินทางเขา้ มาเผยแผห่ ลกั ธรรมในประเทศน้ี แต่ก็เป็ นช่วงส้ันๆ และไม่ประสบความสาเร็จคืบหน้ามากนัก เน่ืองจากสถานภาพในประเทศเคนยาก็มี ปัญหาท้งั ในเร่ืองการเมืองและเศรษฐกิจ รวมท้งั ชนพ้ืนเมืองบางกลุ่มมีความไม่เป็ นมิตรนกั สาหรับผูท้ ่ีนบั ถือศาสนาแตกต่างไปจากตน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศน้ีจึงค่อนขา้ งมีปัญหามาก ปัจจุบนั ใน ประเทศเคนยามีผูน้ บั ถือพระพุทธศาสนาอยูเ่ พียงเล็กนอ้ ย ส่วนใหญ่จะเป็ นชาวเอเชีย โดยเฉพาะชาวอินเดีย และศรีลงั กา นอกจากน้นั กม็ ีชาวพ้นื เมืองอีกกลุ่มหน่ึงซ่ึงจานวนไมม่ ากนกั
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: