Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โควิด 19 กับ การศึกษาวิถีใหม่

โควิด 19 กับ การศึกษาวิถีใหม่

Published by samard686, 2021-07-31 10:21:10

Description: โควิด 19 กับ การศึกษาวิถีใหม่

Search

Read the Text Version

โควดิ 19 กบั การศึกษาวิถีใหม่ เมอื่ โรคโควดิ 19 ระบาด โรงเรยี นเปน็ จุดเสย่ี ง เพราะโรงเรียนเปน็ ที่รวมของนักเรียนจานวน มาก โดยเฉพาะโรงเรยี นขนาดใหญ่ นกั เรยี นต้องทากจิ กรรมการเรยี นร่วมกัน หากเกิดการ ระบาดในโรงเรยี นจะแพรก่ ระจายได้มาก และเรว็ เหมือนโรคหวดั ตามฤดกู าล และหากนักเรียน ติดเชอ้ื ไวรัสโควดิ 19 มักจะมีอาการไมม่ าก จะนาไปแพร่ให้บคุ คลในบา้ น โดยเฉพาะผู้สงู อายุที่มี ความเสีย่ ง ดังนน้ั ในช่วงการระบาดของโควิด 19 มนี กั เรียนทั่วโลกกว่า 1700 ลา้ นคน ต้อง หยดุ อยู่บ้าน แตก่ ารเรยี นการสอนยงั ดาเนินการตอ่ โดยปรับรูปแบบวิถใี หม่ เปน็ วธิ ีการเรยี น การสอนแบบใหมท่ ี่ใช้เทคโนโลยชี ว่ ยทดแทนการมาโรงเรยี น ในชว่ งวกิ ฤตเิ ช่นน้ี หลายโรงเรียน จึงต้องหาวธิ ีทเี่ หมาะสมตามบริบทของโรงเรียน เพ่ือแกป้ ัญหาใหก้ ารศกึ ษาดาเนินต่อไป สาหรบั ประเทศไทย การระบาดรอบแรก มกี ารเลื่อนเปดิ เรียนภาคตน้ จากวันท่ี 17 พ.ค. 2563 ไปเป็นวนั ท่ี 1 ก.ค. 2563 และในการระบาดรอบใหมใ่ นชว่ งเดือนธนั วาคม พ.ศ. 2563 กม็ กี าร ปิดเรยี นในหลายพ้ืนท่ี ตอ้ งเคร่งครัดในการรักษาระยะห่าง (Social distancing) และตอ้ ง ดาเนนิ การตามคาแนะนาของกระทรวงสาธารณสขุ จนสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดในประเทศ ควบคมุ ได้ดีขนึ้ จึงมีมาตรการผอ่ นปรนให้เปิดเรียนได้

ชว่ งการระบาดของโรคโควิด 19 โรงเรยี นตอ้ งปิดการเรยี นการสอน อย่างไรกต็ าม นอกจากแรงกดดันจากการระบาดของโควดิ 19 ทท่ี าให้เกดิ การเปลยี่ นแปลง และมผี ลกระทบกับการศึกษาแลว้ ยังมปี ัจจัยทเ่ี กอ้ื หนนุ ทที่ าใหก้ ารศึกษาตอ้ งปรบั เปลย่ี นอีก สามปจั จัย ปจั จยั แรก ผ้เู รียนที่เปน็ คนรุ่นใหม่ คุน้ เคยกับการใชด้ จิ ทิ ัล (Digital native) มี ความค้นุ เคยกับอปุ กรณด์ ิจทิ ัล การเขยี นอ่านแบบดจิ ทิ ลั สื่อสารดว้ ยดิจทิ ลั ใช้อปุ กรณด์ จิ ทิ ัล ไดค้ ล่อง ตงั้ แต่การเลน่ เกมจนถึงการใช้สมาร์ทโฟน คิดทางานพรอ้ มกนั ไดห้ ลายงาน เหมอื น การทางานของคอมพิวเตอรท์ ม่ี หี ลายวนิ โดว์ รับรขู้ อ้ มลู ขา่ วสารมาก จงึ ไมช่ อบอ่านหนังสือทีม่ ี รายละเอยี ด ชอบดภู าพมากกว่าอ่านตวั หนงั สือ มคี วามอดทนลดลง สมาธสิ น้ั มจี ินตนาการ และ จนิ ตภาพดี ปจั จยั ทสี่ อง คือเทคโนโลยีได้รับการพัฒนากา้ วหน้าไปมาก การส่ือสาร อินเทอรเ์ นต็ เชอ่ื มโยงสรา้ งโลกไซเบอร์ ให้ผ้คู นออนไลน์ผ่านอปุ กรณ์ทท่ี นั สมัย เปลีย่ นสงิ่ ของ ทางกายภาพ (Physical objects) เป็น สิ่งของดจิ ทิ ัล (Digital objects) ทาใหเ้ กดิ กจิ กรรม ใน โลกไซเบอรข์ ึ้นมากมาย และ ปจั จัยทีส่ าม คอื สงั คมความเปน็ อยเู่ ปลย่ี นไปมาก มีรปู แบบ การรวมกลุ่มกันแบบใหมท่ ีใ่ ชส้ ือ่ สังคม เทคโนโลยดี จิ ิทัลทาให้มอี ุปกรณท์ ี่ใชง้ า่ ย มขี ่าวสาร ความรู้ในรปู ดิจทิ ัล เข้าถงึ งา่ ย และใช้รว่ มกันจนเป็นส่วนหน่ึงของชีวิต มกี ารสรา้ งเครอื ข่าย

สังคมแบบใหม่ ทุกคนมสี มารท์ โฟน เป็นสังคมไซเบอร์ ออนไลน์ การค้าขาย การเงิน การ บรกิ าร อยบู่ นแพลตฟอรม์ ดิจิทลั การศกึ ษาก็ปรบั มาใช้บนแพลตฟอรม์ ดจิ ิทลั ไดด้ ว้ ยเช่นกัน เม่อื โควดิ 19 ระบาด ทาใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงทางการศึกษาเรว็ ขึ้นกวา่ เดมิ โควิด 19 กดดนั ให้ต้องเปลีย่ นมาใช้ชีวิต และการรวมกลมุ่ กนั ทางไซเบอร์ การเรยี นการสอนตอ้ งปรบั ตวั คร้งั ใหญ่ เป็นการแปลงรปู ไปตามเทคโนโลยีดิจทิ ลั ที่พัฒนาขึน้ ทาใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงทางการ เรยี นการสอนเรว็ ขึ้น เทคโนโลยีในปัจจบุ นั รองรบั การเรยี นการสอนแบบใหม่ได้ดี มวี ิดโี อคอน เฟอเรนซท์ ร่ี วมกลุ่มเหน็ หนา้ กัน เราจึงรวมกลมุ่ คนเพื่อทากิจกรรมการเรยี นบนโลกไซเบอรไ์ ด้ จดั การเรยี น การสอน การสมั มนาและประชุมแบบออนไลน์ สามารถพู ดคุยโตต้ อบเหมอื นอยู่ ใกล้ๆ กนั การศกึ ษาจงึ เปลี่ยนแปลงตามววิ ัฒนาการ ตามความกา้ วหน้า และความเจรญิ เติบโตของ เทคโนโลยี ถึงแม้ว่าไมม่ กี ารระบาดของโควดิ 19 การศึกษาก็เปลี่ยนแปลงมาตามยุคสมยั อยู่ แล้ว สมยั กอ่ นเราเรยี นกนั อยู่ใต้ต้นไม้ เรียนทีว่ ดั ใช้กระดานชนวน ตอ่ มาก็มกี ารจดั ระบบ การศกึ ษาเป็นโรงเรยี น เพื่อให้ประสทิ ธิภาพการเรียนรูด้ ีขนึ้ การเปล่ียนแปลงเรือ่ ยมาจนกระท่งั มคี อมพิวเตอร์ อินเทอรเ์ นต็ การเกิดใหม่ของเทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงจากวตั ถุกายภาพ (Physical Objects) แปลงไปสูว่ ัตถุดจิ ิทลั (Digital Objects) สิง่ ของอะไรก็ตามท่เี ราจบั ต้องได้ สมดุ ดินสอ ปากกา ยางลบ วงเวยี น หนงั สือ เปลี่ยนแปลง (ทรานฟอร์ม) ไปสู่การ เปน็ วตั ถดุ จิ ทิ ัล

การเรียนการสอนวถิ ใี หม่ เมื่อการระบาดของโควิด 19 เป็นตัวเรง่ ใหต้ ้องใช้ดจิ ทิ ลั ทาให้มีการดาเนนิ กิจกรรมการเรียน การสอนในสองสภาวะ สภาวะหนง่ึ เรียกว่า สภาวะทางกายภาพ (Physical) เราต้องมสี งั คม เจอหนา้ กัน ไปโรงเรียน นกั เรยี นมาพบครู ครสู อนหนงั สอื ขณะเดียวกนั ก็มอี กี สภาวะหนงึ่ ใน สภาวะทางไซเบอร์ (Cyber) ซึ่งเป็นสภาวะท่ีพัฒนากา้ วหนา้ เติบโตมาเร่ือย ๆ การจัดการ เรียนการสอนในโลกน้ีจึงเกิดขน้ึ ได้ แพลตฟอร์มการใชง้ านบนไซเบอรไ์ ม่ใช่เร่ืองใหม่ แต่ค่อยๆ พัฒนามานาน เดก็ ๆ อยใู่ นไซเบอร์มานานแลว้ ผา่ นการเล่นเกม ต่อมามี เฟสบกุ ไลน์ ทวติ เตอร์ โซเชยี ลเนต็ เวิร์ค มแี พลตฟอรม์ ทใี่ ชส้ าหรับกิจกรรมดา้ นการเงิน การซือ้ ขาย เปน็ การ เปลยี่ นไปในโลกไซเบอร์ท่ีเกดิ ภายหลัง แต่เติบโตเรว็ การศึกษาจงึ ปรบั มาเป็นการเรยี นการ สอนบนโลกไซเบอร์ได้ เมอ่ื โควดิ -19 ระบาด เป็นจงั หวะท่เี ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาถึงจุดที่ใช้เพ่ือ การศกึ ษาไดด้ ี มแี หลง่ ความรอู้ ยบู่ นอินเทอรเ์ นต็ มากมาย เมื่อโรงเรยี นปิด จงึ ตอ้ งหันมาทา การเรยี นออนไลน์ทบี่ า้ น (LFH : Learning From Home) หรอื กรณีการเปดิ ห้องเรียนแบบ ออนไลนใ์ ช้ซอฟตแ์ วรป์ ระชมุ ออนไลน์ เช่น ZOOM, Webex, Microsoft Team, Google Meet ฯลฯ เพื่อการเรยี นการสอนเหมอื นหอ้ งเรยี นจริง

2 ปจั จยั ทาให้การศกึ ษาวถิ ีใหมส่ ู่ออนไลน์ เม่อื ปดิ สถานศกึ ษา ก็ตอ้ งหนั มาใชร้ ปู แบบอืน่ แทน สาหรบั ในระดับมหาวิทยาลัย การเรยี นการ สอนออนไลน์คงไมเ่ ปน็ ปัญหา เพราะมคี วามพรอ้ มทางดา้ นเทคโนโลยี และผเู้ รยี นมีวฒุ ภิ าวะ และความคนุ้ เคยมากพอ การเรียนการสอนในรปู แบบนี้เปน็ ไปได้ และมีใช้กันทั่วโลก แต่สาหรับ โรงเรยี นในประเทศไทย มหี ลายระดับ ต้งั แตป่ ระถมวัย จนถงึ มธั ยม โรงเรียนแตล่ ะแหง่ มีความ พร้อมแตกต่างกัน ชว่ งทยี่ งั เปิดโรงเรยี นเต็มรูปไมไ่ ด้ ประเทศไทยจึงไดใ้ ช้หลายรปู แบบตาม ความเหมาะสม โดยเร่มิ จากการ ใช้ระบบทีวดี จิ ิทลั DLTV ทมี่ กี ารส่งออกอากาศเพ่ือการเรียน การสอนอยูแ่ ลว้ โดยมูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม มีการเผยแพรก่ ารจัดการเรยี นการ สอนของนกั เรียนระดบั ประถมวัย ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ไปจนถงึ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ผา่ นชอ่ งทาง ดังกล่าว นกั เรียนกลุ่มนท้ี กุ คนไมว่ ่าจะอยใู่ นพ้ืนทห่ี า่ งไกลกส็ ามารถเขา้ ถงึ การเรียนการสอนได้ เป็นการเรียนผ่านทวี ีดจิ ิทลั ที่เรยี กว่า ครตู ู้ ทงั้ นี้ ในส่วนช้นั ระดบั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4-6 มอบให้ ครูและโรงเรียนทีม่ คี วามพรอ้ ม ท่วั ประเทศจัดทาการเรียนการสอนออนไลนห์ รอื รปู แบบอื่นตาม บริบทของโรงเรียน และใหค้ รูชว่ ยสรา้ งสื่อการเรยี นการสอน เพ่ือนามารวบรวมไวท้ เี่ ว็บไซต์ ของสานักงานการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) ทาเป็นแพลตฟอร์มเพ่ือให้โรงเรียน ใชส้ ่อื ออนไลน์ ให้นกั เรยี นเรยี นรู้ หรอื ใช้เป็นสื่อรว่ มกัน ปัจจยั ท่ที าใหก้ ารศึกษาตอ้ งเขา้ สูอ่ อนไลน์ มีประเดน็ สาคัญทน่ี า่ สนใจหลายประเด็น เพราะ ออนไลน์ ทาใหก้ ารเข้าถงึ (Access) ไดง้ ่าย ถ้าเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปถงึ ได้ทุกท่ี (Ubiquitous) จะทาให้ไมข่ ึ้นกับสถานท่ี เวลา และ คา่ ใช้จ่ายโดยรวมต่ากวา่ ในการปฏิรูป การศกึ ษาทั่วโลกต้องการ คอื “ความเสมอภาคเท่าเทยี ม” (Equity) ระบบการศึกษาออนไลน์ ต้องเนน้ ในเรอ่ื งน้ดี ว้ ย ประเทศไทยจึงมีนโยบายเนน้ การสรา้ งเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต และ เครอื ขา่ ยสมาร์ทโฟน ให้เขา้ ถงึ ทุกท่ี เช่น โครงการ เน็ตประชารฐั อนิ เทอรเ์ นต็ หม่บู ้าน โครงข่ายโทรศพั ท์มือถือทเ่ี ข้าถงึ ชมุ ชน เพราะเด็กและประชาชนส่วนหนงึ่ จะได้มีการเขา้ ถึง เครือข่ายไดม้ ากข้นึ เพื่อลดช่องว่างการเขา้ ถึงการศกึ ษา และช่องว่างระหวา่ ง คนรวยคนจน และ คนในพ้ืนที่ชนบท และ ในเมอื ง ขณะเดียวกนั ความไมเ่ สมอภาคเทา่ เทียมนี้ ยงั หมาย รวมถึง ครทู สี่ มควรได้รบั การฝกึ อบรมอย่างสมา่ เสมอเพื่อพัฒนาทกั ษะของตนเอง และสร้าง สิง่ แวดล้อมทเี่ ออ้ื ใหค้ รูสามารถมุ่งความสนใจ และมีความสามารถใชเ้ ทคโนโลยีมุ่งไปทก่ี ารให้ ความรนู้ ักเรยี นอยา่ งเตม็ ท่ี

โรงเรยี นขนาดเล็ก และโรงเรยี นในท่หี ่างไกลยงั มีปญั หาการศกึ ษา ปัจจัยตอ่ มาคอื การเพ่ิมคุณภาพการศกึ ษา เพราะแหล่งความรมู้ ีมากและเขา้ ถงึ ผา่ นเครอื ขา่ ย อนิ เทอร์เนต็ สภาพหอ้ งเรยี นและโรงเรียนในชนบท พื้นท่หี า่ งไกล สว่ นใหญย่ ังไมพ่ รอ้ มท่ีจะ เรียนผ่านระบบออนไลน์ ไมใ่ ช่ทุกโรงเรียนท่จี ะเพียบพร้อม ดงั น้นั สิง่ ทร่ี ฐั บาลทว่ั โลกกาลงั ทา คือการหาแนวทางที่สรา้ งสรรค์ ในการเปิดทางใหเ้ ดก็ ทุกคนไดเ้ ขา้ ถงึ การศึกษาให้มากท่สี ดุ เทา่ ที่ จะเปน็ ไปได้ เพราะถา้ หากเขา้ ถงึ อินเทอรเ์ นต็ ได้ กล็ ดชอ่ งว่างทางการศึกษาและเพิ่มคณุ ภาพได้ เทคโนโลยีทางการศึกษาเปน็ ส่ิงท่ไี ดร้ บั การพัฒนาตอ่ เนอ่ื ง มีการพัฒนาระบบสือ่ สารท่ีทาให้ ชอ่ งสัญญาณมีความเร็ว มีการส่งรบั ขอ้ มลู และเขา้ ถึงได้มากขึ้น ทาให้ผเู้ รียนสามารถใช้ สอ่ื การศกึ ษาไดม้ ากขนึ้ ทงั้ สื่อแบบออนไลน์ดว้ ยวดิ โี อท่เี วลาจริง จงึ ทดแทนทรัพยากรสงิ่ ท่ี ขาดในบางพ้ืนทไ่ี ด้ เช่น การขาดครูเฉพาะวิชา ขาดครูไม่ครบชั้น เทคโนโลยอี อนไลน์ยังทาให้ การเรียนการสอนแบบโตต้ อบเห็นหนา้ กันไดเ้ สมือนรวมอย่ใู นหอ้ งเดียวกัน คณุ ภาพและ ประสิทธิภาพของเทคโนโลยที ี่นามาแก้ปัญหาขอ้ จากัดบางเรอื่ งได้ แตก่ ารเลอื กใช้จะตอ้ งดวู า่ เหมาะสม และเป็นประโยชน์มากน้อยแคไ่ หน และสอดคลอ้ งกับบริบททางสงั คม แม้การแพร่ ระบาดของโควดิ -19 ทาใหเ้ ทคโนโลยที างการศกึ ษาได้รับความสนใจ แตห่ ลงั จากทก่ี ารระบาด ยตุ ลิ ง การสรา้ งความคุ้นเคย จะทาใหเ้ ทคโนโลยเี หล่านีย้ ังคงใช้ได้ อยา่ งไรกด็ ี เทคโนโลยี อาจ ไมส่ ามารถทดแทนส่งิ ท่โี รงเรยี นและห้องเรียนต้องการไดท้ ้งั หมด เชน่ สายสมั พันธร์ ะหว่างครู กับนกั เรยี น การพัฒนาทกั ษะบางเร่ือง แตเ่ ทคโนโลยีก็ชว่ ยเสริม เพื่อการสอ่ื สารใหด้ ยี ิง่ ขึน้

การผสมการเรยี นการสอนบนโลกกายภาพกับโลกไซเบอร์ สง่ิ สาคญั ท่ตี อ้ งพิจารณา คือ สถานะภาพทางสังคม โรงเรียนเปน็ สถาบนั ทางสังคม ทส่ี ร้าง ความสมั พันธ์ ระหว่างครู นักเรียน ปัจจยั การใช้เทคโนโลยีออนไลน์ อาจสร้างสังคมเสมอื น จริงได้ แต่ ไมว่ า่ ระบบการศึกษาจะเปน็ อยา่ งไร การผสมผสานระหวา่ งสงั คมกายภาพ กับไซ เบอร์ ต้องไปด้วยกัน โรงเรยี นทางกายภาพยังคงเปน็ ส่งิ จาเปน็ ต้องมี เพราะการมอี ยู่ของ โรงเรยี น ไมไ่ ด้หมายถงึ การเปน็ แค่สถานศกึ ษาใหค้ วามร้เู ท่าน้ัน แต่ยังเป็นส่วนหนงึ่ ท่ีนกั เรียน จะไดเ้ รียนรูท้ กั ษะ ประสบการณด์ า้ นต่าง ๆ ที่จาเปน็ ตอ่ การดารงชวี ติ ดว้ ย 3 รูปแบบการเรยี นรู้วิถใี หม่ จากทีก่ ลา่ วมาแลว้ พัฒนาการทางด้านดจิ ทิ ลั ทาใหเ้ ราใช้ประโยชน์จากสองสถานะ สถานะทาง กายภาพ กับสถานะทางโลกไซเบอร์ สถานะในโลกกายภาพเปน็ ชีวติ ท่ีไกล้กนั แบบเชิงวตั ถุ เหน็ ซ่ึงกัน (Face to face) เป็นสงั คมอยู่รวมกนั แตเ่ มอ่ื มีเทคโนโลยดี จิ ิทลั ก็สรา้ งนิเวศดิจทิ ลั ใหม่ เปล่ียนวัตถุกายภาพให้กลายเปน็ วตั ถุดจิ ทิ ัล ลองนึกถงึ หนงั สอื ในห้องสมุด กระดาษ ดินสอ ยางลบ วงเวียน ไม้บรรทัด กระดาษกราฟ อุปกรณก์ ารเรียนการสอน เปล่ยี นจากของ ที่มีตวั ตน ไปเปน็ การใช้ในไซเบอร์ด้วยวตั ถดุ ิจทิ ัล เดก็ รุ่นใหม่ เริ่มคุ้นชินกบั การเขียนอา่ นดจิ ิทลั

มที รัพยากรการศึกษาแบบเปิด (Open education resource) เป็นแหลง่ เรยี นร้บู นคลาวด์ เช่น คลิปยูทูบ รปู ภาพบนเวบ็ บทความจากวกิ พิ ีเดีย ค้นหาข้อมลู จากกเู กลิ นาบทเรียน การศึกษาแบบเปิดมาเรียนรไู้ ด้มากมาย เขา้ ถงึ แหลง่ เรียนรูไ้ ด้ ทกุ ที่ ทกุ เวลา เขยี น อา่ น แบบ ดจิ ทิ ัล การเรียนรจู้ ึงต้องเปลี่ยนวธิ กี ารไปจากแบบเดมิ ทเี่ น้นแต่ทางกายภาพมารว่ มกับทางไซ เบอร์ เด็กนกั เรยี นยุคใหมก่ บั ครสู ามคน ครวู ิกิ ครูยทู ูบ และ ครูกูเกิล ในสถานการณโ์ ควดิ การเรียนทบี่ า้ น หมายถึง ให้นกั เรียนเรยี นรู้อยทู่ ีบ่ ้าน อาจใช้ หรอื ไมใ่ ช้ เทคโนโลยกี ไ็ ด้ เช่น ครู ออกแบบ บทเรียน เปน็ โปรแกรมบุก เป็นใบงาน โจทย์ กจิ กรรม มี การส่งเอกสารส่ิงพิมพ์ สอื่ ให้นกั เรยี น เลน่ ทดลอง ศึกษาบนบรบิ ททอ้ งถิน่ ให้นักเรียนทา หรอื เรยี นรู้ ถ้าโรงเรยี นขนาดเล็ก และไม่เสย่ี งต่อโรคโควิด 19 ครดู แู ลได้ อาจให้มาโรงเรยี น ตามความจาเปน็ ถ้าโรงเรียนขนาดใหญ่ กส็ ลับกันมา แบบความคุมการแพรร่ ะบาดของโรคได้ ปัจจุบนั มีระบบ ทวี ี มีโครงข่ายสื่อสารอินเทอรเ์ น็ต มีการใชส้ มารท์ โฟน จะนามาช่วยเสริมได้ อยา่ งไร มี DLTV ที่ออกอากาศทุกวนั ทกุ ระดับช้ัน อาจมปี ญั หาอยูบ่ ้าง เช่น ถา้ เดก็ สองคนใน บ้านเดยี วกนั จะแบ่งกนั อย่างไร หรือจะทาใหเ้ ดก็ เรยี นผา่ นครูตู้ ท่ผี สมผสานกับครูประจาชั้น ของตัวเองทโี่ รงเรียนอยา่ งไร ครจู ะจัดโปรแกรมให้นกั เรียนได้อย่างไร อะไรทีน่ กั เรยี นตอ้ งทา เหล่านี้เป็นสิง่ ทีท่ าให้เกดิ การศกึ ษาที่บา้ นได้ท้งั ส้นิ โรงเรียนและนักเรยี นท่ีพรอ้ มทางเทคโนโลยี ก็มเี ทคโนโลยใี หเ้ ลือกใชไ้ ด้ การเลอื กใชโ้ ปรแกรม ออนไลน์ ระบบการเรียนผา่ นวิดีโอออนไลน์ มีทง้ั ใหใ้ ชไ้ ดฟ้ รีในชว่ งวกิ ฤตกิ ารระบาด อาจใช้การ จดั หอ้ งเรียนทางไกลแบบตา่ ง ๆ อาจดวู า่ ถา้ มนี กั เรยี นสว่ นนอ้ ย บางคน ไมม่ เี คร่อื งมือ ยังไม่ พรอ้ มทางเทคโนโลยี กห็ าทางช่วยหลือเฉพาะบุคคล จัดหาอปุ กรณ์ให้ยมื เปน็ ต้น

ในยุคที่ ขอ้ มูลข่าวสาร ความรู้ มีมากมาย อยู่บนคลาวด์ บนอินเทอรเ์ นต็ ทเี่ รียกเขา้ ถงึ ได้ การ เรียนร้ไู ดด้ ว้ ยตนเอง (Self directed learner) มคี วามสาคัญอย่างมาก นกั เรยี นควรได้รบั การสร้างประสบการณ์ และทักษะให้เรยี นรู้ด้วยตนเองได้ เพราะในอนาคต จะต้องเรียนได้ ตลอดชีวติ ความสาเร็จของการศกึ ษา จึงต้องสรา้ งนักเรียนใหเ้ ปน็ ผเู้ รยี นไดด้ ้วยตนเอง หากนาเทคโนโลยสี มัยใหม่ ทจี่ ัดการข้อมูลบนคลาวด์ เรียกใช้ไดง้ ่าย และนามาใชก้ ับการศึกษา อาจเรียกการศึกษาท่เี ชอ่ื มการทางานบนสองสถานะ ไซเบอร์ และ กายภาพ วา่ การศึกษาวิถี ใหม่ (New normal education) การเรยี นออนไลน์ จะเป็นเรอ่ื งปกติของผ้เู รยี นท่มี ีทกั ษะการ เรยี น การเขา้ ถึงบทเรยี นแบบดจิ ทิ ัล ได้ต้งั แตร่ ะดบั ประถม สามารถเรียนรู้ไดท้ งั้ แบบมี ปฏิสมั พันธท์ ป่ี ระสานเวลา (Synchronous learning) และแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous learning) การส่งชิน้ งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายผ่านระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ มีทักษะการใชส้ ารสนเทศ การจัดการเรียนรู้ในลักษณะ Learn from Home โดยการใช้ ปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งผู้สอนกับผู้เรียนจึงข้ึนอยู่กบั ระบบออนไลนเ์ ป็นสาคญั แตอ่ ย่างไรก็ตามการ จัดการเรยี นการสอนในลกั ษณะออนไลน์ดงั กล่าว ตอ้ งคานึงถงึ บรรยากาศในการจัดการเรียน การสอนในช้ันเรยี น ซึ่งสามารถออกแบบเพื่อสรา้ งกจิ กรรม หรอื การทางานร่วมกัน ผา่ นทาง เครอื ขา่ ยส่ือสารเพ่ือทดแทน

คนรุ่นใหม่มที กั ษะการเขียน การอา่ น แบบดจิ ทิ ลั มากขึ้น การเรียนร้วู ถิ ใี หม่ทเี่ ชอื่ มโยงกบั การสร้างความสามารถท่จี ะใชใ้ นอนาคต จงึ ตอ้ งให้ความสาคญั ในเรอ่ื งผเู้ รยี นเปน็ ศนู ย์กลาง กล่าวคือในยุคหลงั โควิด เนอ้ื หาความรูอ้ ยูบ่ นคลาวดม์ ากมาย การเรยี นจึงไมไ่ ดห้ มายถงึ การถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสตู รท่ีกาหนดฝา่ ยเดยี ว เพราะหลักสตู ร จะเป็นเพียงกรอบเท่านั้น มีความรู้ท่ตี อ้ งเรยี นอีกมากมาย นกั เรยี นสามารถเรยี นรู้ได้ดว้ ย ตนเองตามความสนใจ บนคลาวดม์ ีสอื่ การศึกษาแบบเปิด มีรูปแบบเป็นมลั ตมิ เี ดีย คลิปวดิ โี อ ทชี่ ว่ ยกระตนุ้ ความสนใจ ความสนกุ และแรงบันดาลใจให้อยากดู ครูอยูใ่ นฐานะที่ช่วยให้ผเู้ รยี นเรยี นรู้ได้ด้วยตนเอง และ เสรมิ ทกั ษะที่จาเปน็ ใหผ้ ู้เรยี น การเรยี นรจู้ งึ เป็นไปในรปู แบบเฉพาะตัวมากขน้ึ เรียนตามความ สนใจ ผ้เู รยี นแตล่ ะคน มลี ักษณะประจาตวั กบั จุดแข็งแตกต่างกนั การเรียนยุคใหมจ่ ะตอ้ งเนน้ การพัฒนาทักษะความคดิ สร้างสรรค์ เสรมิ สรา้ งพลังจินตนาการและความคดิ รเิ ริ่มของผเู้ รียน รูปแบบการเรียนรู้วิถีใหมเ่ ป็นพ้ืนฐานการสร้างความสามารถ สมรรถนะ การกาหนดทกั ษะ ความสามารถท่จี ะได้รบั จากกิจกรรมการเรียน แลว้ ประเมนิ และวดั ผลระดบั ความสามารถที่

ผ้เู รยี นได้รบั เพื่อมาชว่ ยวางแผนการเรยี นการสอนใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย การเรยี นจงึ ตอ้ งเน้นให้ เกิดการแสดงออก เชน่ ใช้แบบอภิปราย ครูจะเป็นผู้กระตุ้นการเรยี นแบบอภิปรายใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพยงิ่ ข้ึน เทคโนโลยีมสี ่วนชว่ ยในเรื่องเหล่านี้ได้ รูปแบบการเรยี นรวู้ ิถีใหม่ จึงควรเนน้ รูปแบบการสร้างประสบการณ์ (Learning experience) การลงมอื ทา หรอื การพบปัญหาดว้ ยตนเอง วิธีเรยี นด้วยประสบการณ์เชน่ นจ้ี ะ ช่วยตอ่ ยอดการเรียนร้มู ากขึ้น การทากจิ กรรมตา่ ง ๆ เพ่ือเสรมิ ทกั ษะความรว่ มมอื การ แก้ปัญหาโดยแสวงหาความร่วมมือกับคนอน่ื พร้อมกับเคารพในคิด ความตา่ งของมุมมองท่ี ไม่เหมือนกนั การศกึ ษาจงึ ตอ้ งประสานทั้งโลกกายภาพและไซเบอร์ 4 MOOC กบั การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง ดิจิทลั มผี ลตอ่ การเปลีย่ นแปลงวถิ กี ารดาเนินชีวติ เปลย่ี นแปลงในหลายดา้ น ท้งั ทางด้าน เศรษฐกจิ สงั คม และความเปน็ อยู่ ชวี ิตมดี จิ ิทัลชว่ ยบรกิ ารใหส้ ะดวกสบายขึน้ การใชจ้ ่าย กาลังเข้าส่ยู ุคการเงินแบบดิจิทลั ทไี่ มต่ อ้ งหยบิ จับธนบัตรหรอื เหรยี ญ สง่ ผลโดยตรงกับการ กา้ วสเู่ ศรษฐกิจดจิ ิทลั มรี ะบบพรอ้ มจา่ ย เชน่ การใช้จา่ ยผ่านคิวอาร์โคด้ การเบิกจ่ายเงินผา่ น สมาร์ทโฟน การใชก้ ระเป๋าเงินแบบดิจิทลั เกบ็ เงิน ฯลฯ กระดาษดจิ ทิ ัลเข้ามาแทนทีก่ ระดาษจริง ทาใหห้ นังสอื ส่ิงพิมพ์อยู่บนคลาวด์ เป็นแหลง่ ความรู้ (Cloud knowledge) อยากค้นหาความรูก้ ็เข้าถงึ ได้รวดเร็ว มคี วามรูม้ ากมาย แต่เดิม สือ่ ขอ้ มูล ขา่ วสารเปน็ ระบบปดิ (Close system) ซง่ึ มผี ู้เขา้ ถงึ ได้ในวงจากดั เชน่ ต้องไป ห้องสมุด รา้ นหนังสอื เมอื่ อินเทอร์เนต็ ทาใหเ้ ข้าถงึ ข้อมูลไดจ้ ากทกุ ที่ ทกุ เวลา เกดิ ระบบ แบ่งปนั (Sharing) ทาใหเ้ กิดระบบข้อมูลข่าวสารที่แบง่ ปนั เปน็ ระบบเปดิ (Open System) เพราะสังคมเปน็ สงั คมทแ่ี บ่งปัน ช่วยกันสร้าง ชว่ ยกนั ใช้ เช่น วิกิพีเดยี ขอ้ มลู ข่าวสารบนสอ่ื สงั คม บนยทู ูป และอ่ืน ๆ

มชี ิ้นสว่ นดจิ ทิ ลั บนคลาวดม์ ากมาย แนวคดิ ของการศกึ ษาจึงปรบั เปลีย่ นมาเป็นแบบเปิด เปน็ การศึกษาของผ้คู นจานวนมาก (Mass education) จดั การศึกษาทตี่ อบสนองเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชวี ิต เรยี นตามความ ตอ้ งการของแต่ละบคุ คล ทกุ ระดบั อายุ เรียนทใี่ ด เวลาใดก็ได้ ที่สาคัญคอื มรี ะบบให้เลอื กเรียน แบบอิสระ (free online course) เปน็ จานวนมาก เนอ่ื งจากความรู้ในโลกมีเปน็ จานวนมาก เกดิ ใหมต่ ลอดเวลา จงึ มีการจดั การช้นิ ความรูอ้ อกมา ในรูปสือ่ ดิจทิ ลั เปน็ ข้อความ เสียง คลิป และอนื่ ๆ เปน็ ทรัพยากรดิจิทลั เพื่อการศกึ ษา (Digital education resource) จดั เกบ็ ไว้บนคลาวด์ ปัจจบุ ันมีการกาหนดสทิ ธิก์ ารใชไ้ ว้ ชัดเจน เพ่ือให้เกดิ การเข้าถงึ และนาไปใชแ้ ละพัฒนาตอ่ ไ่ ด้งา่ ย เราเรยี กชนิ้ ส่วนดจิ ิทลั เพื่อ การศึกษาน้วี า่ ทรัพยากรการศกึ ษาแบบเปิด (OER Open Education Resource) คาว่า โอ เพน จึงหมายถงึ การเปดิ ให้เขา้ ถงึ ไดแ้ บบออนไลน์ ไดจ้ ากทกุ ท่ี ทกุ เวลา เพ่ือประโยชนใ์ นการใช้ งานได้งา่ ย

เม่ือมีชิน้ ส่วนดจิ ิทัลเพ่ือการศกึ ษาเปน็ จานวนมาก สามารถนามาสร้างเปน็ สอ่ื หรือบทเรยี น (Courseware) เพ่ือใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนต่อไป การศึกษาที่ทาบนโลกออนไลนจ์ งึ เป็น การนาสือ่ ตา่ ง ๆมารวบรวม ปรับให้เขา้ เป็นเน้อื หาที่จะเรยี นรไู้ ด้ เปน็ หลักสตู รได้ การจัดการ ศกึ ษาแบบออนไลนจ์ งึ แพรห่ ลาย และเปน็ การเรยี นรู้เพื่อทุกคน การเรยี นรตู้ ามความต้องการ เรียกการจดั การศกึ ษาแบบนวี้ า่ มุก (MOOC : Massively Open Online Course) แตเ่ ดมิ สถานศึกษาเปน็ แบบปดิ จะมขี ้อจากัดทต่ี ้องให้นักเรียน นกั ศึกษามาเรยี นท่สี ถานศกึ ษา รูปแบบการศกึ ษาในอนาคต จึงตอ้ งรวมแบบเปิดเขา้ มาอยใู่ นสถานศึกษาแบบปดิ ด้วย การ จัดการศกึ ษาตอ้ งนาข้อดี ทง้ั แบบปดิ ทีเ่ รียนรู้ทักษะชวี ติ ประสบการณล์ งมอื ทาและแบบเปิดมา ผสมกนั เปดิ ให้เรียนร้กู นั อยา่ งกวา้ งขวาง และเรยี นได้ตามตอ้ งการตลอดชวี ติ การจดั การ เรยี นรรู้ ูปแบบใหม่นต้ี อ้ งใชเ้ ทคโนโลยชี ่วย เพ่ือให้เกดิ การเรยี นรทู้ ี่ตรงใจผู้เรียน มีความ สนุกสนาน เรา้ ใจ คนรุ่นใหมม่ พี ื้นการใชเ้ ทคโนโลยอี ยูแ่ ล้วจงึ ไมม่ ปี ัญหา การจัดการศกึ ษาใน ระบบปัจจุบนั ตอ้ งรวมการเรียนรู้แบบต่าง ๆ (Blended learning) หรอื การบรู ณาการท้งั รปู แบบทางการ (Formal education) และแบบไมท่ างการ (Informal education) เขา้ ดว้ ยกนั เพื่อเกดิ ประโยชน์สงู สุด การจดั การเรยี นการสอนสมัยใหม่ สามารถสรา้ งรูปแบบให้เป็นแพลตฟอรม์ การบรกิ าร การศึกษา (Education Digital Service Platform) ใช้ ระบบออนไลน์ เพ่ือการแบง่ ปนั เขา้ ถงึ สอื่ การสอนแบบต่าง ๆ เปน็ การสรา้ งรูปแบบ การเรียนร้โู ดยใชก้ ารเรยี นรเู้ ชงิ สงั คม (Social learning) สรา้ งเครอื ข่ายการเรียนรูแ้ นวราบ บนแนวคิดแบบลงมอื เรยี นร้รู ว่ มกนั (Connectivism learning) อีกท้ังการเรียนรยู้ ังเป็นรูปแบบเปิด (Open education model) หมายถึง ทกุ คนมีโอกาสเข้าถงึ แหลง่ เรยี นรไู้ ด้ มสี ่วนรว่ มสร้างและแบง่ ปัน ซง่ึ สอื่ และ แหลง่ เรยี นรู้ สามารถนาส่กู ารเรียนรทู้ งั้ ในหอ้ งเรยี น นอกห้องเรียน หรอื สร้างเปน็ เรียนทบี่ ้าน ทาการบ้านทโ่ี รงเรยี น (Flipped classroom) ได้

ตัวอยา่ ง MOOC ท่ีมีผู้เรยี นออนไลนจ์ านวนมาก ท้ังนีเ้ พราะเทคโนโลยีชว่ ยทาให้การศกึ ษากว้างไกล ไรข้ อบเขต เปน็ แบบเปดิ ท่อี ยู่บน แพลตฟอร์มการบริการแบบดิจิทัล (Digital Service Platform) รองรบั คนจานวนมาก มี แอป และสื่อ ทไ่ี ดร้ ับการพัฒนาขึ้นจานวนมาก มีใหเ้ ลือกใชต้ ามความเหมาะสม มกุ (MOOC- Massive Open Online Course) จึงเปน็ รูปแบบ การศกึ ษาแบบเปดิ ทอี่ ยู่ บนแพลตฟอร์มบริการดจิ ิทลั รองรับคนจานวนมาก และหากปรบั ใชก้ ับการเรยี นการสอนใน หอ้ งเรยี นหรือกลุม่ เลก็ กจ็ ะเปน็ การศึกษาเฉพาะกลุ่ม (SPOC-Small Private Online Course) เพ่ือประโยชน์ในการสร้างรูปแบบผสม (Blended learning model) หรือการเรียน ท่ีบ้านฝึกปฏบิ ัตทิ โี่ รงเรียนได้ สถาบันการศกึ ษาใหค้ วามสาคญั เรื่องการเข้าถงึ แบบเปิด (Open access) หลายมหาวิทยาลัย มรี ูปแบบให้คนภายนอกไดเ้ ข้าเรียนรู้ในรปู แบบเปดิ มหี ลายวชิ าท่เี ปดิ ให้ผู้คนจากทวั่ โลกเข้ามา เรยี นรู้ได้ เรียกวา่ OCW-Open Courseware นอกจากน้ี ยงั มวี ิสาหกจิ เพื่อสงั คมสร้าง ระบบการศกึ ษาแบบนี้หลายแห่ง เชน่ Coursera, EdX, Khan Academy, Udacity, Iversity etc เปน็ การศึกษาเพื่อผคู้ นจากทวั่ โลก หรอื มกุ (Massive Open Online

Course – MOOC) ที่เปน็ รปู แบบเปดิ ทีใ่ ครจะเขา้ ไปเรยี นก็ได้ เลอื กเรียนไดต้ ามชอบใจ แนวทางของเทคโนโลยีกาลังชว่ ยทาให้การศกึ ษากลายมาเปน็ การเรียนร้แู บบเปดิ การเรยี นการ สอน ออนไลน์ ทางไกล ในอนาคตจะเน้นตามความตอ้ งการของผู้เรียน เรยี นเพื่อเพิ่มคณุ ภาพชีวติ เรยี นเพราะอยาก เรยี น เรยี นตามความตอ้ งการตลอดชีวติ เช่นมคี วามตอ้ งการดแู ลสขุ ภาพตวั เอง ดูแล ผสู้ ูงอายุ เรยี นรู้เรอื่ งวคั ซนี ดแู ลเรอ่ื งโรคความดนั เบาหวาน อื่น ๆ หรือ การเรียนรู้วิชาการท่ี เกดิ ใหม่ การสง่ เสรมิ ประกอบอาชีพสมัยใหม่ เชน่ การตลาดดจิ ทิ ัล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ฯลฯ การนาวิชาการไปใช้ประโยชน์เฉพาะ เช่น การทาอาหาร การเล้ียงเดก็ การทาการเกษตร เป็นตน้ การศึกษาระบบเปิด มีแนวโน้มทดี่ ี เพราะเป็นการศกึ ษาไม่จากัดกล่มุ อายุ มผี เู้ รยี นได้มาก เปดิ กวา้ ง เรยี นได้ทกุ วัย ทุกที่ ทุกเวลา ทสี่ าคัญ ตอ้ งเนน้ เปลย่ี นจากการสอนมาเปน็ การเรียน และ เรียนได้เอง 5 การเรยี นรู้บนฐานสมรรถนะวถิ ใี หม่ การระบาดของโควิด 19 เป็นตัวเร่งใหใ้ ช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั เข้าชว่ ยเพื่อการเรยี นรู้ โดยใช้ กิจกรรมบนโลกไซเบอร์รว่ มกับโลกกายภาพ เทคโนโลยดี ิจิทลั ช่วยรน่ ระยะทาง ทาใหเ้ รียนรู้ได้ ทกุ ท่ี ไร้พรมแดน ทุกเวลา แทรกมาชว่ ยเปน็ ตวั กลางแทนการทางานแบบเดมิ ทาให้ข้นั ตอน ต่าง ๆลดลง การบริการหลายอย่างหมดความจาเปน็ ท่ีใชค้ นกลาง การศึกษากเ็ ช่นกัน ทาให้ ผเู้ รียนเขา้ ถงึ แหล่งความรู้ หรอื เรียนกบั ครูไดโ้ ดยตรง ระบบการศกึ ษาเปน็ การบริการรปู แบบ หน่ึง ทีใ่ หบ้ รกิ ารบนแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ัลได้ ภูมิทัศน์ ระยะห่างทต่ี อ้ งเปลีย่ นจากการทา Social distancing จงึ ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั ชว่ ย กระทากิจกรรมผา่ นโลกไซเบอร์ ทาใหผ้ ู้คนเสมอื นใกล้กันผา่ นทางมิติไซเบอร์ มิตทิ างสงั คมจงึ เปลยี่ น ครู นกั เรยี น สามารถเชื่อมตอ่ ถึงกนั โดยมีเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เปน็ ตวั เชอื่ ม ทาใหบ้ ้าน และ โรงเรียนเชอ่ื มถงึ กนั ไดด้ กี ว่าเมอ่ื ก่อน ขอบเขตการเรียนรู้ระหวา่ งบา้ นและโรงเรียนเชอ่ื มหากนั ได้เสมอื นอยู่ใกล้กนั ตง้ั แต่เกดิ ทุกคนเรียนรทู้ างสงั คมมาตลอด การพูดสื่อสารในวยั ทารก เร่ิมจากการเรียนรู้ทาง สงั คมในครอบครัว เพื่อสอื่ สารกบั คนรอบข้าง เรียนรู้จากคนท่ีมีความสมั พันธด์ ้วย และยงั เรียนรู้จากสง่ิ ท่ีอยู่รอบ ๆ ตัวหรอื สง่ิ ท่ีมคี วามเชื่อมโยงสัมพันธก์ บั เรา ทงั้ ส่งิ ทเี่ ป็น ธรรมชาติ และสงิ่ ทอ่ี ยูเ่ หนือธรรมชาติ เปน็ ความร้สู ึก จติ สานกึ ศรัทธา ความเชอ่ื เม่ือบ้านและโรงเรยี นมี เทคโนโลยอี อนไลน์ เช่อื มหากนั ทาใหร้ ะบบการเรยี นรมู้ คี วามสมบรู ณย์ ง่ิ ขน้ึ เทคโนโลยที าให้มี แหล่งความรู้อยบู่ นคลาวด์ และเข้าถงึ ออนไลน์ ไดจ้ ากทุกที่ บ้านจึงมแี หล่งค้นควา้ แสวงหา ความรูไ้ ด้ไมแ่ ตกต่างจากที่โรงเรยี น

การเรียนรู้จากทีบ่ า้ นทีเ่ ชอ่ื มกบั โรงเรยี นจงึ จดั ได้ว่า เปน็ การเรยี นรู้ทมี่ ีคุณค่ายงิ่ จนมีรปู แบบ เป็น เรยี นรทู้ ี่บา้ น ทาการบ้านทโี่ รงเรยี น เพราะโรงเรียนเป็นแหลง่ สรา้ งประสบการณ์ และ สมรรถนะทีส่ าคญั สงั คมกาลังเปลย่ี นไปจากการใชเ้ ทคโนโลยี อินเทอรเ์ น็ต ไอโอที คลาวด์ การประมวลผลข้อมลู ขนาดใหญ่ เอไอ หนุ่ ยนต์ ทาให้กระบวนการเรยี นจะเปลี่ยนไปสู่วิธกี ารทางานรว่ มกนั บน แพลตฟอร์มบริการแบบดิจทิ ลั การเรยี น การสอนมลี ักษณะชว่ ยกนั รว่ มมือกัน แบง่ ปัน สร้างสรรค์ความรูร้ ่วมกัน ทางานร่วมกัน (Coteaching, Colearning, Cocreating, Coworking) มีเครือ่ งมอื สมัยใหม่ เช่น การสรา้ งโลกเสมือนจริง (VR-Virtual Reality) ทา ให้การเรยี นรบู้ างเรือ่ งที่ยากทาให้ง่ายข้ึน เทคโนโลยชี ว่ ยทาใหส้ รา้ งจนิ ตนาการการเรยี นรงู้ ่ายข้ึน ส่ิงทเี่ ป็นโอกาสจากวกิ ฤติโควดิ 19 คราวน้ี คอื การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ระหว่างบา้ น โรงเรียน ครู นักเรียน ผปู้ กครอง ชาวบ้าน องคก์ รส่วนท้องถน่ิ วดั ฯลฯ สภาพการเรียนต้อง พัฒนาเข้าสกู่ ารเรยี นรูไ้ ดท้ ุกท่ี ทกุ เวลา นักเรียนตอ้ งพัฒนาทกั ษะให้ตนเองเพ่ือเป็นคนทเ่ี รียนรู้ ดว้ ยตนเอง (Self directed learners)ได้ ตอ้ งทาบ้านใหเ้ ปน็ ฐานการเรยี นรู้ (HBL - Home

Base Learning) หรือ บ้าน สถานที่แหง่ การเรียนรู้ ท่ีตอ่ ยอดจากคาวา่ การเรียนทบี่ ้าน (Learning from Home-LFH) การอ่านการต์ ูนบน แพลตฟอรม์ การบรกิ าร ดว้ ยสมาร์ทโฟน บนสถานะการณ์การระบาดท่นี ักเรยี นไม่สามารถมาโรงเรียนไดต้ ามปกติ ครตู อ้ งคิด และ ออกแบบบทเรยี น ใหเ้ รียนท่ีบ้าน ออกแบบกิจกรรมใหท้ าด้วยความสนกุ ไมใ่ ช่สง่ หนงั สือให้อ่าน หรอื สง่ แบบฝึกหดั ใหท้ า หรอื ส่งเอกสารผ่านอนิ เทอร์เนต็ เทา่ น้ัน ครูออนไลน์ ใช้ เครื่องมือ สอื่ สาร สอ่ื สงั คม สมารท์ โฟน เพื่อการสือ่ สาร สร้างกจิ กรรม การเรยี นกบั นักเรียน ทาบ้านให้ เป็นแหลง่ เรยี นรู้ทส่ี นกุ ไม่จาเปน็ ตอ้ งยดึ เนื้อหาเฉพาะในหนังสอื เรียนอยา่ งเดยี ว แตม่ ีเรอ่ื ง สงิ่ ที่นา่ รู้ นา่ สนุก น่าเรยี นอีกมาก ท่ีมีแรงจงู ใจใหน้ กั เรยี นอยากเรยี น มีสังคม กลุม่ การเรยี นรู้ รว่ มกัน บนพ้ืนฐานของส่งิ แวดล้อมท่บี า้ นแตกต่างกนั

การเรียนรู้ท่บี า้ น (LFH) ฐานการเรียนรู้ท่ีบ้านจงึ มคี วามสาคญั ทจ่ี ะชว่ ยเสริมประสบการณก์ ารเรียนรดู้ ้วยตนเอง ทเี่ ปน็ แนวทางการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต (Life long learning) ต้องทาให้ บา้ นมสี ง่ิ ทีน่ า่ เรียนรู้ มี กจิ กรรมการเรียนรู้ รอบ ๆบา้ น สวน ไร่ นา เปน็ แหล่งเรียนรูไ้ ด้ การทากิจกรรมในบ้านตาม ชีวิตประจาวนั เชน่ การดแู ลบา้ น ทาความสะอาด ทาอาหาร ทากจิ กรรมช่วยงาน เปน็ การ เรยี นร้รู ว่ มกนั ในสังคมบา้ น ทาใหผ้ ูป้ กครอง ใชเ้ วลากบั ลกู หลาน ทากิจกรรมต่าง ๆ ไดม้ ากขน้ึ การจัดสิ่งแวดลอ้ มในหอ้ งเรียน ในโรงเรยี น เพ่ือสง่ เสริมใหน้ กั เรยี นได้ทากิจกรรมเสริมทักษะ ประสบการณ์ หรอื จัดการศกึ ษาแนวระดับ (Horizontal learning) เปน็ การเรียนรูร้ ะหว่าง เพื่อนกับเพ่ือน พ่ีกับน้อง เรียนแบบร่วมมือกนั ช่วยเหลอื กัน แบ่งปนั และแสวงหาความรู้ รว่ มกัน แลกเปล่ยี นเรียนรรู้ ะหว่างกัน ทากจิ กรรมต่าง ๆรว่ มกัน การศกึ ษาของนักเรียนใน โรงเรยี น จึงต้องเน้นกระบวนการเรียนรพู้ ัฒนาทักษะ ความนกึ คดิ ทศั นคติ โดยเชอื่ มโยงไป ยงั ท่บี ้าน หรือเชื่อมต่อทางสังคมกบั คนภายนอกโรงเรียนผา่ นเครอื ข่ายทใ่ี ช้เทคโนโลยชี ่วย

เทคโนโลยีสมยั ใหมม่ ีสว่ นชว่ ยในการเช่อื มประสานระหว่างคนกับคน คนกบั ขอ้ มูลข่าวสาร ความรู้ กอ่ ให้เกิดเป็นเครอื ข่ายสังคม (Social network) เพ่ือการเรียนรู้ มรี ปู แบบการสร้าง สอ่ื ใหม่ (New media) การเชอ่ื มกบั การใช้ความรู้บนคลาวด์ การจดั การศกึ ษาสมยั ใหมจ่ ึงให้ ความสาคัญในเรอ่ื งกระบวนการเรียนร้ทู ี่ใชค้ วามรบู้ นคลาวด์มากขนึ้ การเรยี นทบี่ ้าน (LFH) จงึ ไม่ใช่การกาหนดตารางเรยี น ชั่วโมงน้ีเรยี นเรื่องนนั้ เร่ืองน้ี เหมือนใน โรงเรียน LFH ตอ้ งคดิ รปู แบบใหม่ ไม่มีกฎเกณฑต์ ายตวั ข้นึ กับบรบิ ททางบา้ นและความ เหมาะสมกบั การใช้เทคโนโลยแี บบต่าง ๆ ตอ้ งพัฒนาเนอ้ื หาหลกั สูตรท่ยี ดื หย่นุ ตามความ เหมาะสม เดิมหลกั สตู รที่เรยี นในโรงเรียนแยกเปน็ วชิ า กลุม่ สาระ ทาให้ต้องมีตารางสอน ครู สอนตามตารางสอน ใชเ้ วลาการเรียนไปมาก แต่การ LFH ต้องเป็นแบบบรู ณาการ ครตู ้อง ทางานรว่ มกนั เป็นทมี ทุกกลมุ่ สาระ มาคดิ ร่วมกนั ใหฐ้ านทบ่ี า้ นเรยี นได้ ไม่ใช่ตา่ งคนตา่ งสอน จนนกั เรียนไมส่ ามารถแบง่ เวลาได้ หลกั สูตร LFH ทพ่ี ัฒนาใหม่ ตอ้ งอยู่บนฐานสมรรถนะ อยู่ทีต่ อ้ งการพัฒนานักเรียนสู่ เป้าหมายทกุ ดา้ น ทั้ง ความรู้ (Knowledge) ทกั ษะ (Skill) ทศั นคติ และคณุ ค่า (Attitude and Value) เพราะถา้ เนน้ แบบเดมิ ทเ่ี รยี นเพื่อจา เพื่อสอบ ประเมนิ ผลจากสอบ คงทา LFH ไมส่ าเรจ็ LFH ต้องไมเ่ น้น การเรยี นเพ่ือคะแนน ไมเ่ ช่นน้ันจะแก้ปัญหาบางอย่างยาก การสอบแบบ ออนไลนค์ วบคุมได้ยาก เพราะกลไกการตรวจสอบตวั ตน เปน็ เรอื่ งยุ่งยาก วธิ ีการเรยี นรทู้ ่บี ้าน ครูตอ้ งคดิ เอง อาจคดิ รว่ มกับทางบา้ น และรวมครหู ลายสาขา หลายวิชามาบูรณาการ สรา้ ง กิจกรรมรว่ มกัน ไมส่ ามารถทาเหมือนกนั ทวั่ ประเทศ ต้องคดิ และแกป้ ญั หาบนบริบทของ ตัวเอง เดก็ แต่ละคนไม่เหมือนกัน โรงเรียนแตล่ ะโรงเรียน แตล่ ะทอ้ งถนิ่ ไมเ่ หมือนกนั อาจต้อง ระดมผู้นาท้องถน่ิ มาช่วยกัน สรา้ งการเรยี นรใู้ หเ้ ดก็ ได้ดีที่สุด \"LFH ไม่จาเปน็ ต้องใช้เทคโนโลยกี ไ็ ด้ ครสู ามารถ เขยี นโครงงานใหเ้ ดก็ ทา ตั้งคาถามใหเ้ ด็กไป คน้ ควา้ สังเกตเุ รียนรู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook