บทท่ี 3 การออกแบบการวิจยั 23 บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย การดาเนินการวิจัย เป็นกระบวนการท่ีเป็นระบบ ระเบียบในการหาความรู้ ความจริง ด้วยวิธีการท่ีเชื่อถือได้ นักวิจัยจึงต้องดาเนินการอย่างเป็นข้ันตอน มีการวางแผนว่าจะดาเนินการ อย่างไร เพอ่ื ให้คาตอบของปัญหาการวิจยั นน้ั มีความถกู ต้อง นา่ เชอื่ ถอื ซ่ึงกระบวนการที่จะให้งานวจิ ัย มีความเท่ียงตรงและได้คาตอบท่ีเป็นองค์ความรู้ ความจริงที่ถูกต้อง นักวิจัยต้องมีการออกแบบ การวจิ ัยที่ดี ในบทนี้ผ้เู ขียนจะนาเสนอเกีย่ วกบั การออกแบบการวิจัยเพอ่ื ให้นกั วจิ ัยสามารถดาเนินการ วิจยั ไดอ้ ย่างมีคุณภาพและมีความถูกต้อง ความหมายของการออกแบบการวจิ ยั ได้มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของการออกแบบการวิจัยไว้หลายท่าน ดังนี้ Kerlinger, 1986; Thyer, 1993 (cited in Kumar, 1999) ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย ว่ า การออกแบบการวิจัย หมายถึงแผนการ วิธีการและโครงสร้างที่กาหนดขึ้น เพื่อค้นหาคาตอบของ สมมติฐานปฏิบัติการ วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างจากประชากรที่สนใจจะศึกษา วิธีการเก็บรวบรวม ข้อมูล และวธิ กี ารวเิ คราะหผ์ ลการวจิ ยั สิน พนั ธพุ์ ินิจ (2549) ได้กลา่ วว่า การออกแบบการวจิ ยั หมายถึง การวางแผนและการจัด โครงการการวิจยั ตัง้ แต่การกาหนดปัญหาการวิจัยจนถึงการทารายงานและการพิมพ์เผยแพร่ ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์ (2556) ได้ให้ความหมายว่าการออกแบบการวิจัย หมายถึง การออกแบบการวิจัยเป็นการวางแผนดาเนินการวิจัยอย่างเป็นระบบ และใช้ระเบียบวิธีการทางวิจัย ใหเ้ หมาะสม จากความหมายของการออกแบบการวิจัย สรุปได้ว่าเป็นกระบวนการในการวางแผน การดาเนินการวิจัยที่มีระบบ และมีขั้นตอนเพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูลที่ต้องการในการตอบปัญหาการวิจัย ตามจุดประสงค์ สมมุติฐานของการวิจัยที่กาหนดไว้ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน รวดเร็วและ มคี วามน่าเชอ่ื ถือ
24 บทท่ี 3 การออกแบบการวจิ ัย วตั ถุประสงค์ของการออกแบบการวิจัย การออกแบบการวจิ ยั มีวตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อหาคาตอบของปัญหาการวิจัยได้อย่างถูกต้อง เท่ียงตรง (Validity) เป็นปรนัย (Objectivity) และประหยัด (Economy) เพราะถ้าหากการออกแบบวิจัยได้กระทาโดยความ ระมัดระวังบนฐานของกฎ ทฤษฎี และประสบการณ์รวมทั้งได้กาหนดแบบแผนการวิจัยอย่าง รอบคอบตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ จะทาให้ได้ผลการวิจัยท่ีถูกต้อง มีความเป็นปรนัยและแม่นยา ตามตอ้ งการ 2. เพ่ือควบคุมความแปรปรวนในการวิจยั ทเี่ ปน็ ผลมาจากตัวแปรภายนอก 3. เพ่ือให้การวัดของตัวแปรถูกต้องแม่นยา เนื่องจากวา่ ถ้าผู้วิจัยได้กาหนดตัวแปร ให้นิยาม เชิงทฤษฎี นิยามเชิงปฏิบัติการ และเลือกวิธีการทางทางสถิติไว้อย่างเหมาะสมในขั้นของ การออกแบบวิจยั แล้ว กจ็ ะทาให้วัดตวั แปรแตล่ ะประเภทไดอ้ ยา่ งถูกต้องแม่นยา 4. เพือ่ ใหก้ ารวจิ ัยดาเนนิ การอยา่ งเป็นระบบอยา่ งต่อเนอื่ งตามขัน้ ตอนของกระบวนการวจิ ัย จึงไดก้ าหนดแผนไว้ลว่ งหนา้ วา่ จะทาอะไร ทไ่ี หน อยา่ งไร และเม่ือใด นอกจากนยี้ ังสามารถตรวจสอบ ตดิ ตามความก้าวหน้าและปญั หาอุปสรรคของการวจิ ยั ได้ หลกั การออกแบบการวิจัย ในการออกแบบวิจัยทั่วไป จะยึดหลักการควบคุมตัวแปรภายนอกต่าง ๆ ไม่ให้มีผลต่อ ตัวแปรตาม โดยยึดหลัก Max Min Con Principle ซึ่งมีรายละเอียดดังน้ี (ยุวดี ฦๅชา และคณะ, 2532; พวงรัตน์ ทวรี ตั น์, 2543: 55-56) 1. Maximization of Systematic Valiance (Max.) เป็นการทาให้ความแปรปรวน อันเน่ืองมาจากตัวแปรอิสระหรือตัวแปรทดลองมีค่าสูงที่สุด โดยพยายามทาให้คุณสมบัติของตัวแปร อิสระมีความแตกต่างกันมากๆ เพื่อท่ีจะให้ผลที่เกิดจากตัวแปรอิสระต่อตัวแปรตามที่ต้องการศึกษา มีค่าแตกต่างกันมากที่สุด เช่น นักวิจัยต้องการศึกษาเกี่ยวกับการสอนแบบ E-learning 2 วิธีว่าจะ ทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่างกันหรือไม่ โดย 2 วิธีท่ีนามาใช้ต้องเป็นวิธีที่แตกต่างกัน มากที่สุด เม่ือการวัดท่ีตัวแปรตามคือผลสัมฤทธิ์พบว่าแตกต่างกัน ข้อสรุปท่ีได้จะมีความน่าเช่ือถือ มากทสี่ ดุ และอ้างอิงไปสู่ประชากรได้ 2. Minimization of Error Variance (Min.) เป็นการลดความแปรปรวน อันเน่ืองมาจาก ความคลาดเคล่ือนให้มีค่าต่าสุด ซ่ึงความคลาดเคลื่อนอาจมาจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ท่ีนามาศึกษา
บทที่ 3 การออกแบบการวจิ ัย 25 มคี ณุ สมบัตติ ่างกนั วิธกี ารดาเนินการวิจัยไม่เหมาะสม และเคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลขาด คณุ ภาพกไ็ ด้ ดังนัน้ ผู้วิจยั ควรเพมิ่ ความระมัดระวงั ในเร่อื งต่อไปนี้ 2.1 การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ควรใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมกับลักษณะของกลุ่ม ประชากร เพือ่ ใหไ้ ดต้ วั แทนทด่ี ีของประชากรในการทาวจิ ัย 2.2 เครอื่ งมือที่ใชว้ ัด ควรมคี วามเที่ยง (Reliability) สงู 2.3 การควบคุมสภาพแวดล้อมในการทดลองหรือการวัดให้เหมาะสม ปราศจาก สงิ่ รบกวน 3. Control of Extraneous Variables (Con.) เป็นการควบคุมอิทธิพลของตัวแปรภายนอก อ่ืนๆ ที่ไม่ได้ศึกษาแต่ตัวแปรนั้นอาจมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม เพ่ือไม่ให้เกิดผลต่อตัวแปรตาม ซ่ึงอาจ ทาไดโ้ ดยวิธตี า่ ง ๆ ดงั นี้ 3.1 การกาจัดตัวแปรภายนอก เช่น ถ้าศึกษาผลการสอนผู้ป่วยโดยวิธีการสอน 2 วิธี ว่าจะให้ผลแตกต่างกันหรือไม่ ก็จะต้องจัดสภาพการณ์เพื่อจากัดตัวแปรอ่ืนๆ ที่อาจมีอิทธิพลต่อ การเรียนการสอนให้หมดไป เช่น ความสามารถของผู้สอน สภาพห้องที่ใช้สอน เวลาที่ใช้สอนและ เนอื้ หาท่ีใชส้ อน ควรจะมีคุณสมบัติไม่แตกตา่ งกัน 3.2 การทาให้ตัวแปรภายนอกที่มีผลต่อตัวแปรตามมีจานวนเท่าๆ กัน และเหมือนกัน ในแต่ละกลุ่มตัวอย่างท่ีนามาศึกษาเช่น การจับคู่ (Matching by Pair) โดยจัดให้ทั้ง 2 กลุ่มท่ีทดลอง มีคุณสมบัติเหมือนกันเป็นคู่ๆ เช่น มี IQ เท่ากัน มีอายุเท่ากัน เพศเดียวกัน เป็นต้น หรือถ้าแบ่งกลุ่ม ตัวอย่างเป็นกลุ่มก็จัดให้ 2 กลุ่มมีลักษณะของตัวแปรภายนอกเท่ากัน หรือมีค่าเฉลี่ยของตัวแปร ภายนอกทีเ่ ทา่ กัน 3.3 ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง โดยให้ประชากรทุกหน่วยมีโอกาสได้รับเลือกมาเป็นกลุ่ม ตัวอย่างเท่าเทียมกัน ซ่ึงจะช่วยให้กลุ่มตัวอย่างมีคุณสมบัติคละกัน ถือว่าเป็นไปตามทฤษฎี ความน่าจะเป็น และจะสามารถช่วยควบคุมตัวแปรภายนอกได้ 3.4 การนาตัวแปรภายนอกมาเป็นตัวแปรอิสระตัวแปรหนึ่งในการศึกษา เช่น ในการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยรุ่น ถ้าพบว่าฐานะทางเศรษฐกิจ ของครอบครัวจะมีผลต่อชนิดของอาหารท่ีเด็กวัยรุ่นเลือกรับประทานก็นาฐานะทางเศรษฐกิจ ของครอบครวั มาเป็นตวั แปรหนงึ่ ในการทาวจิ ัยด้วย 3.5 การใช้สถิติควบคุม เป็นการนาตัวแปรภายนอกมาเป็นตัวแปรคุมโดยการใช้วิธีการ ทางสถิติมาช่วยเช่น ถ้าต้องการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนของนักศึกษาพยาบาลชาย และหญิง แตร่ ะดับ IQ เป็นตัวแปรภายนอกที่ผู้วิจยั ไม่สามารถควบคุมได้ ก็นาระดบั IQ ของนักศึกษา แต่ละคนมาเป็นตัวแปรร่วม (Covariate) ในการวิเคราะห์ดว้ ย
26 บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย 3.6 การใช้เครื่องมือทางกายภาพ การควบคุมด้วยวิธีน้ี ส่วนใหญ่ใช้สาหรับการควบคุม ตัวแปรแทรกซ้อนอันเน่ืองจากสภาพแวดล้อมขณะทาการทดลอง เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ เป็นต้น ให้มีลักษณะคงที่หรือเหมือนกันทั้งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง และให้เหมือนกันทุกครั้ง ตลอดระยะเวลาทดลอง 3.7 การออกแบบการวิจัย หมายถึงแบบการวิจัยที่นักวิจัยได้วางแผนไว้ เพ่ือควบคุม ความแปรปรวนของตัวแปร โดยยึดหลักเพ่ิมค่าความแปรปรวนท้ังหมดของตัวแปรตาม อันเน่ืองจาก ตวั แปรอิสระท่ีทดลองให้มีค่าสงู สุดและทาให้คา่ ความแปรปรวนอันเนื่องมาจากความคลาดเคล่ือนให้มี คา่ ต่าสุดจนเป็นศูนย์ ความเทีย่ งตรงของแบบการวจิ ยั (Validity of Research Design) การออกแบบการวิจัย ส่ิงที่นักวิจัยต้องคานึงถึงอยู่เสมอคือความเที่ยงตรง 2 ลักษณะ คอื ความเทย่ี งตรงภายในและความเทย่ี งตรงภายนอกของการวจิ ยั ความเท่ียงตรงภายใน (Internal Validity) เป็นคุณลักษณะท่ีสามารถสรุปได้ว่าผล การทดลองท่ีเกิดข้ึนกับตัวแปรตาม เป็นผลของการจัดกระทาหรือตัวแปรต้นอย่างแท้จริง ไม่ใช่เกิด จากปัจจัยภายนอกอ่ืนๆ ร่วมด้วย ซึ่งปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อความเท่ียงตรงภายในมีหลายปัจจัย (ยุวดี ฦๅชา และคณะ, 2532) ดงั นี้ 1. ประวัติของกลุ่มตัวอย่าง (History) ได้แก่เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนชั่วคราวหรือเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นโดยธรรมชาติอยู่แล้วไปร่วมมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อตัวแปรตาม โดยที่ผู้วิจัยไม่ทราบ หรือไม่ได้คาดคิดมาก่อน เช่น การศึกษาผลการสอนเร่ืองการรับประทานอาหารต่อการรับประทาน อาหารที่มีไขมันสูง ถ้าในช่วงระยะเวลาเดียวกันได้มีการรณรงค์เรื่องวิธีการป้องกันโรคหัวใจและ หลอดเลอื ด การรณรงคน์ กี้ ็อาจมีอิทธพิ ลตอ่ การรับประทานอาหารประเภทไขมนั ของกลุ่มตัวอย่างได้ 2. วุฒิภาวะ (Maturation) เป็นปัจจัยท่ีเกิดขึ้นกับกลุ่มตัวอย่างท่ีนามาทดลองในแง่ของ การเปลี่ยนแปลงทางดา้ นชีววทิ ยา สรีรวิทยา หรอื จิตวิทยา ตามระยะเวลาทผ่ี ่านไปนานในการทาวิจัย เช่น กลุ่มตัวอย่างมีพัฒนาการตามอายุท่ีเพ่ิมขึ้น มีความชานาญเพิ่มข้ึน ความสนใจลดลง เกดิ ความเบือ่ หนา่ ย เป็นต้น 3. การวัดหรือการทดสอบ (Testing) ในการวัดเพื่อทราบข้อมูลพ้ืนฐานของกลุ่มตัวอย่าง ก่อนการทดลอง เพื่อใช้เปรียบเทียบกับข้อมูลท่ีได้จากการวัดภายหลังจากทดลอง อาจมีผลให้กลุ่ม ตัวอย่างเกิดความคุ้นเคย ความชานาญในเน้ือหาหรือขอ้ คาถาม หรือวิธกี ารวัด จึงทาให้ผลการวัดครั้ง หลังดขี ้นึ ก็ได้ แสดงวา่ ผลของการทดลองก็จะไม่ได้เกดิ จากการจดั กระทาหรือการทดลองแต่อยา่ งเดยี ว
บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย 27 4. เครื่องมือวิจัย (Instruments) ผลของการวิจัยจะเช่ือถือได้ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย จะต้องมีความเท่ียงตรง (Validity) และความเท่ียง (Reliability) สูง นอกจากน้ีการเปล่ียนเคร่ืองมือ ในระหว่างการทดลองการเปล่ียนบุคคลผู้ใชเ้ คร่ืองมือ การเปล่ียนหลักเกณฑ์ในการจด นับ วัด สังเกต ย่อมมีผลตอ่ การทดลองดว้ ยทง้ั ส้ิน 5. การถดถอยทางสถิติ (Statistical Regression) เป็นผลที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของ การคานวณทุกๆ ครั้ง มักจะมีแนวโน้มที่จะเบี่ยงเบนเข้าสู่ค่าเฉล่ียของกลุ่มเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การวิจัยที่เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวกัน 2 คร้ัง หรือมากกว่าแล้วนาผลการศึกษา มาวิเคราะห์เปรียบเทียบ ซึง่ ถ้าผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอยา่ งที่ไม่เปน็ ตวั แทนที่ดี เชน่ ได้คนที่อ่อนมาก หรือ ไดค้ นที่เกง่ มากจะทาให้คะแนนที่วัดไดใ้ นครัง้ ท่ี 2 มแี นวโน้มจะเข้าใกลค้ ่าเฉลย่ี มาก ซ่งึ ผลการวจิ ัยท่ไี ด้ อาจไมใ่ ช่เป็นผลทีเ่ กิดขน้ึ จากการทดลองจริงๆ กไ็ ด้ 6. ความลาเอียงในการเลือกตัวอย่าง (Selection Bias) ในการเลือกตัวอย่างบางครั้ง ถ้าผู้วิจัยเลือกใช้เทคนิคการเลือกตัวอย่างท่ีไม่เหมาะสมทาให้ ได้ตัวอย่างท่ีไม่เป็นตัวแทนที่ดีของ ประชากร หรือตัวผู้วิจัยมีความลาเอียงเลือกตัวอย่าง หรือเครื่องมือวิจัยตามลักษณะที่ตนเองชอบเข้า ไปไว้ในกลุ่มทดลอง ซ่ึงในกลุ่มควบคุมก็อาจได้ลักษณะที่ไม่ดี ก็อาจทาให้ผลการวิจัยท่ีได้แตกต่างกัน อย่างชัดเจน ซ่ึงตามความจริงแล้วความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนอาจไม่ได้เกิดจากอิทธิพลของวิธีการ ทดลองกไ็ ด้ แต่อาจเกิดจากคณุ ลักษณะของกลมุ่ ตัวอย่างท่ีไดม้ าอาจดีกว่าตัง้ แตเ่ ริม่ ต้นรวมถึงเครื่องมือ ที่ใช้ในการทาการทดลองด้วย 7. การลดน้อยลงของตัวอย่าง (Mortality) ในการวิจัยบางคร้ังเมื่อทาการทดลองไปได้ ระยะหน่ึงกลุ่มตัวอย่างอาจเกิดความเบื่อหน่าย หรือเปล่ียนใจถอนตัวจากการทดลอง หรือบางครั้ง กลุ่มตัวอย่างอาจย้ายภูมิลาเนา หรืออาจมีการเจ็บป่วยหรือตายไป ก็อาจทาให้กลุ่มตัวอย่างที่เหลือ ในการทดลองในข้ันตอนสุดท้ายเหลือน้อยเกินไปจนไม่สามารถเป็นตัวแทนท่ีดี ของประชากรได้ก็จะ ส่งผลทาใหผ้ ลการวิจัยขาดความเที่ยงตรงได้ 8. อิทธิพลร่วมขององค์ประกอบ (Interaction Effect) เป็นผลจากการเกิดปัจจัยร่วม ระหว่างความลาเอียงในการเลือกตัวอย่างกับปัจจัยตัวอ่ืนๆ ที่กล่าวมาแล้ว เช่น ความลาเอียง ในการเลือกตัวอย่างกับวุฒิภาวะ ดังเชน่ ในการทดสอบวธิ ีการสอน 2 วิธี ถ้าผู้วิจัยเลือกเด็กหรือผู้ท่ีจะ เรียนในวิธีการทดลองเป็นกลุ่มที่มีความพร้อมทางด้านร่างกายและสมอง มีการเรียนรู้เร็วกว่าและ มอี ายมุ ากกวา่ อีกกล่มุ หน่งึ ที่เป็นกลุม่ ควบคมุ ก็จะทาให้ผลการทดลองได้ผลดกี ว่าวธิ ีทีใ่ ช้เป็นวธิ ีควบคุม แตโ่ ดยแท้จรงิ แล้วผลท่ีเกดิ ข้ึนอาจไมไ่ ด้เป็นผลจากวิธกี ารสอนอย่างเดยี วก็ได้ ความเที่ยงตรงภายนอก (External Validity) เป็นความเที่ยงตรงของแบบการวิจัยที่ ผลสรุปจากการวจิ ยั มีความเชอื่ ถือได้ สามารถอ้างองิ ไปสู่ประชากรเป้าหมายได้ และสามารถนาวิธีการ
28 บทท่ี 3 การออกแบบการวจิ ัย ทดลอง วิธีการวัด และเครื่องมือต่างๆ ไปใช้กับกลุ่มประชากรอื่นได้ ซึ่งปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ความเทีย่ งตรงภายนอกของการวจิ ยั มดี ังนี้ 1. อิทธิพลร่วมของความลาเอียงของการเลือกตัวอย่างกับการทดลอง (Interaction Effect of Selection Biases and Treatment) ซึ่งความลาเอียงในการเลือกตวั อย่างท่ีมีคุณลักษณะ พิเศษ อาจมีส่วนในการส่งเสริมวิธีการทดลองแล้วทาให้ผลการทดลองไม่สามารถขยายผลไปสรุป ใหค้ รอบคลมุ ประชากรสว่ นใหญ่ได้ 2. ปฏิกิริยาหรืออิทธิพลร่วมของการทดสอบก่อนการทดลอง (Reactive or Interaction Effects of Pre-Testing) การทดสอบก่อนการทดลองในบางครั้งอาจทาให้ผู้ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง มีความรู้สึกท้ังในด้านบวกและลบต่อการทดลอง และยังทาให้ร้สู ึกตื่นตวั ตระหนักหรือสนใจเปน็ พิเศษ ทาให้พฤติกรรมเปลี่ยนไปจากท่ีเป็นอยู่ตามปกติซ่ึงเป็นพฤติกรรมของประชากรกลุ่มใหญ่ได้ ทาให้ ผลการวิจัยไม่สามารถสรุปไปถึงประชากรกลมุ่ ใหญไ่ ด้ 3. ปฏิกิริยาของผู้ถูกทดลองต่อวิธีการทดลอง (Reactive Effects of Experimental Procedures) โดยที่งานวิจัยบางอย่างถ้ากลุ่มตัวอย่างรู้ตัวว่ากาลังถูกทดลองหรือถูกสังเกตในเรื่องใด ก็จะทาให้มีปฏิกิริยาตอบสนองในทางที่ดีมากขึ้น หรือบิดเบือนไปในทางที่ไม่ดีมากขึ้น จึงทาให้ ไมส่ ามารถนาผลการวิจัยไปขยายใช้กบั ประชากรกลุ่มใหญ่ได้ 4. อิทธิพลของการทดลองหลายวิธี หรือการทดลองซ้า (Reactive Effects of Multiple Treatments) โดยท่ีการให้การทดลองหลายๆ วิธี หรือการทดลองวิธีการเดิมซ้าๆ ในกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเดิม อาจเกิดผลได้ว่าผลการทดลองสุดท้ายอาจเป็นผลเน่ืองมาจากการสะสมของอิทธิพลของ การทดลองก่อนหน้านี้เร่ือยมา จึงไม่สามารถนาวิธีการทดลองนั้นไปใช้กับกลุ่มประชากรทั่วไปได้ เพราะในสภาพการณจ์ ริงจะไม่มีการให้สิ่งทดลองซ้า ๆ กัน แบบแผนการวจิ ยั นักวิจัยส่วนใหญ่ได้แบ่งแบบแผนสาหรับการวิจัยออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ตามระเบียบ วิธกี ารวจิ ัย (เกียรติสุดา ศรสี ุข, 2546: 16-28 ) ดงั น้ี 1. งานวิจัยที่ไม่มีแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง (Non–Experimental Design) เป็น การวิจัยท่ีไม่มีการจัดวางเงื่อนไข หรือควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น งานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ งานวิจัยเชิงบรรยาย งานวิจัยเชิงสารวจ เป็นต้น งานวิจยั ทานองนี้ หากผู้วจิ ัยต้องการทราบอะไรก็ทา การรวบรวมข้อมูลจากประชากร หรือกลุ่มตัวอย่าง แล้วทาการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปเกี่ยวกับ คาตอบท่ตี อ้ งการทราบนน้ั ได้เลย
บทท่ี 3 การออกแบบการวจิ ัย 29 2. งานวิจัยท่ีมีแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Design) เป็นการวิจัยท่ีมี การจัดวางเง่อื นไข หรอื ควบคุมคัวแปรตา่ ง ๆ เพ่ือให้ม่นั ใจว่าผลหรือตวั แปรตามที่เกิดขึ้นมเี หตุมาจาก ตวั แปรอิสระหรือส่งิ ท่จี ัดกระทาในการทดลองนัน้ จริง ๆ เนื่องจากแบบแผนของการวิจัยจะมีการเน้นเฉพาะในการวิจัยเชงิ ทดลอง ดังนั้น ผู้เขียนจึง จะขออธิบายแบบแผนการวิจัยเชิงทดลองแต่ละแบบท้ังลักษณะ วิธีการ ข้อดี และข้อจากัดของแต่ละ แบบต่อไป ก่อนท่ีจะอธิบายรายละเอียดแบบแผนการวิจัยเชิงทดลองแต่ละแบบ ผู้เขียนขอกาหนด สัญลักษณท์ ีใ่ ช้ในแบบแผนการวิจยั ดงั นี้ X หมายถึง ตวั แปรอสิ ระท่ีจัดกระทาในการทดลอง T1 หมายถงึ การทดสอบก่อน T2 หมายถึง การทดสอบหลัง RE หมายถงึ กลุ่มทดลอง หรอื กลุ่มที่จดั กระทาท่ีไดม้ าโดยการสมุ่ RC หมายถึง กลุ่มควบคมุ หรือกลุ่มที่ไมไ่ ด้จัดกระทาท่ีไดม้ าโดยการส่มุ E หมายถงึ กลมุ่ ทดลอง/กล่มุ ทีถ่ ูกจดั กระทา C หมายถงึ กลุ่มควบคมุ /กลุ่มที่ไม่ได้จัดกระทา 2.1 แบบกลุ่มเดยี วทดสอบหลงั การทดลอง ลักษณะของแผนการวิจัย X T2 แผนการวิจยั แบบนี้มีการใช้กลมุ่ ตวั อยา่ งเพยี งกลุ่มเดยี ว คือ กลุ่มทดลองเมอ่ื ทาการทดลอง กับกลุม่ ตัวอย่างเสร็จก็ทาการทดสอบเพ่อื ดผู ลของการทดลองเลย การวจิ ยั เชงิ ทดลองแบบกล่มุ เดียวทดสอบหลังการทดลอง มีวธิ ีดาเนนิ การ ดังน้ี 1. เลือกกลุ่มตวั อย่าง 1 กลุ่ม 2. ทดลองโดยการใหต้ ัวแปรอิสระ (X) 3. ทดสอบหลงั การทดลอง (T2) 4. สรุปผลการทดลองจากการนาผลการทดสอบ T2 ไปเทียบกับเกณฑ์ที่ต้ังไว้ก่อน การทดลอง
30 บทท่ี 3 การออกแบบการวิจัย ขอ้ ดแี ละข้อจากัด ข้อดีของการใช้แผนการวิจัยแบบน้ี คือเป็นการทดลองท่ีง่ายซึ่งเหมาะกับการวิจัย เชิงปฏิบัติการ (Action Research) เพ่ือแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในหน่วยงาน หรือในห้องเรียนได้ อยา่ งรวดเรว็ ขอ้ จากดั ของการใชแ้ ผนการวิจัยแบบนี้ คอื ผลสรุปที่ไดจ้ ากการทดลองอาจไม่ไดม้ าจาก การจดั กระทาในการทดลองที่แทจ้ ริง เนือ่ งจากขาดการควบคมุ ตวั แปรแทรกซ้อน 2.2 แบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อน – หลงั การทดลอง ลักษณะของแผนการวิจัย T1 X T2 แผนการวิจัยแบบนี้ มีการใช้กลุ่มตัวอย่างเพียงกลุ่มเดียว มีการให้ตัวแปรอิสระกับ กลุ่มตัวอย่าง แต่ทาการทดสอบท้ังก่อนและหลังการทดลอง และพิจารณาผลการทดลองจาก การเปรยี บเทียบผลการทดสอบกอ่ นและหลงั การทดลอง แผนการวิจัยเชิงทดลองแบบกลุ่มเดยี วทดสอบก่อน-หลงั การทดลอง มวี ธิ ีการดังน้ี 1. เลือกกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุม่ 2. ทดสอบก่อนการทดลอง (T1) 3. ทดลองโดยการใหต้ ัวแปรอสิ ระ (X) 4. ทดสอบหลงั การทดลอง (T2) 5. สรุปผลการทดลองจากการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบ T1 และ T2 ข้อดีและข้อจากัด ขอ้ ดีของการใชแ้ ผนการวิจยั แบบน้ี มี 2 ประการ คอื 1. ทาให้ผ้วู ิจัยควบคมุ การทดลองไดง้ ่ายเพราะมเี พียงกลุ่มตัวอยา่ งเดียว 2. ทาให้ผู้วิจัยสรุปผลการทดลองจากการเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนและหลัง การทดลองได้
บทที่ 3 การออกแบบการวิจยั 31 ข้อจากัดของการใช้แผนการวิจยั แบบนี้ คือ ผลการทดสอบหลังการทดลองท่ีดีขึ้นอาจเป็น ผลจากการจาในการทดสอบคร้ังแรกหรือกลุ่มตวั อย่างอาจมีประสบการณ์ มีวฒุ ิภาวะที่เพิ่มข้ึนในช่วง ที่มีการทดสอบพอดี เป็นต้น 2.3 แบบสุ่มแลว้ แบ่งเปน็ กลุ่มทดลอง-กลุ่มควบคุม ทดสอบก่อน-หลังการทดลอง ลกั ษณะของแผนการวจิ ัย RC T1 - T2 RE T1 X T2 แผนการวิจัยแบบน้ี มีการสุ่มหน่วยตัวอย่างเข้าไปเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยมีการให้ตัวแปรอิสระกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มทดลอง แล้วทาการทดสอบท้ังก่อนและหลัง การทดลอง แผนการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มแล้วแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง-กลุ่มควบคุม ทดสอบก่อน–หลัง การทดลอง มวี ิธีการดงั น้ี 1. สุ่มกลุ่มตัวอยา่ ง 1 กลุ่ม 2. แบ่งเป็นกลุม่ ควบคมุ (RC) – กลุ่มทดลอง (RE) โดยการส่มุ 3. ทดสอบก่อนการทดลอง (T1) ทง้ั กล่มุ ทดลองและควบคุม 4. ทดลองโดยการใหต้ วั แปรอิสระ (X) ในกลมุ่ ทดลอง 5. ทดสอบหลงั การทดลอง (T2) ทงั้ กลุ่มทดลองและควบคุม 6. สรุปผลการทดลองจากการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบ T2 ของกลุ่มทดลองและกลุม่ ควบคุม หรือเปรยี บเทียบผลการทดสอบ T1 กับ T2 ของกลุ่มทดลอง และเปรียบเทียบผลการทดสอบ T1 กับ T2 ของกลุ่มควบคมุ ขอ้ ดแี ละข้อจากัด ข้อดีของการใชแ้ ผนการวจิ ยั แบบน้ี มี 2 ประการคอื 1. ทาให้ผู้วจิ ัยสามารถเปรยี บเทียบผลการทดลองระหว่างก่อนและหลังการทดลองได้ 2. ทาใหม้ ีกลมุ่ ในการเปรียบเทยี บผลทีเ่ กิดข้นึ ซึง่ ชว่ ยสร้างความมนั่ ใจในผลของตัวแปร
32 บทที่ 3 การออกแบบการวจิ ยั อิสระได้มากข้ึน ข้อจากัดของการใช้แผนการวิจัยแบบน้ี คือ อาจขาดการควบคุมการจาข้อสอบหรือ การทดสอบก่อนการทดลอง 2.4 แบบโซโลมอนสก่ี ลมุ่ ลกั ษณะของแผนการวิจัย RC1 T1 - T2 RE1 T1 X T2 RC2 T1 – T2 RE2 T1 X T2 แผนการวิจัยแบบน้ี มีการสุ่มหน่วยตัวอย่างเข้ากลุ่มเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม และกลุ่ม ควบคุม 2 กลุ่ม มีการให้ตัวแปรอิสระกับกลุ่มทดลอง แล้วทาการทดสอบก่อนทดลอง 2 กลุ่มและ ทดสอบหลังการทดลองในทุกกลมุ่ แผนการวิจยั เชิงทดลองแบบโซโลมอนสี่กลุ่ม มวี ธิ กี าร ดังนี้ 1. สุ่มกลุ่มตวั อย่าง 1 กล่มุ 2. แบ่งเป็นกลุ่มควบคมุ (RC) โดยการส่มุ ออกเปน็ 2 กลุ่ม คือ RC1 และ RC2 3. แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง (RE) โดยการสุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม คือ RE1 และ RE2 4. ทดสอบก่อนการทดลอง (T1) กับกล่มุ ควบคุมและกลุ่มทดลองอย่างละ 1 กลุ่ม 5. ทดลองโดยการให้ตัวแปรอิสระ (X) กับกลุ่มทดลองทง้ั 2 กลุม่ 6. ทดสอบหลงั การทดลอง (T2) กับท้ัง 4 กลุ่ม 7. สรุปผลการทดลองจาก 7.1 หาความแตกตา่ งระหวา่ งผลการสอบก่อน–หลังในกลุ่มควบคุมและกลมุ่ ทดลอง ดังน้ี กลมุ่ ควบคมุ 1 T2 – T1 = D1 กลุ่มทดลอง 1 T2 – T1 = D2 กลมุ่ ควบคุม 2 T2 = D3 กลมุ่ ทดลอง 2 T2 = D4
บทท่ี 3 การออกแบบการวิจยั 33 7.2 พิจารณาผลของตวั แปรอิสระทที่ ดลองอย่างเดียว โดยเปรียบเทยี บ D3กับ D4 7.3 พจิ ารณาผลของการทดสอบก่อนการทดลองอยา่ งเดยี ว โดยเปรียบเทียบ D1 กบั D3 7.4 พจิ ารณาผลของตัวแปรแทรกซอ้ น เช่น ประวัติ วุฒิภาวะ โดยเปรยี บเทียบ D1 กบั D2 7.5 พิจารณาความเทย่ี งตรงภายนอกของการทดลอง โดยดูจาก D4 7.6 พจิ ารณาส่งิ ทเี่ กิดข้นึ ขณะทดลอง โดยดูจาก D3 7.7 พิจารณาผลร่วมกันของการทดสอบก่อนการทดลองกบั ตวั แปรอิสระทท่ี ดลอง โดยเปรียบเทียบ D2 กับ คา่ เฉลี่ยของ (D1 + D4) ขอ้ ดีและขอ้ จากัด ขอ้ ดขี องการใชแ้ ผนการวจิ ยั แบบน้ี มี 5 ประการ คือ 1. สามารถเปรยี บเทียบผลการทดลองระหว่างก่อนและหลังการทดลองได้ 2. มีกลุม่ ในการเปรยี บเทียบผลทเ่ี กดิ ขนึ้ ทาใหม้ ัน่ ใจในผลการจดั กระทาได้มากข้ึน 3. มีการปอ้ งกนั ผลร่วมกนั ระหว่างการสอบครั้งแรกกับตัวแปรอิสระทจ่ี ดั กระทา 4. มกี ารปอ้ งกนั ผลร่วมกันระหวา่ งการเลือกกล่มุ ตวั อย่างกบั ตัวแปรอสิ ระทีจ่ ัดกระทา 5. มีการปอ้ งกนั ผลร่วมกนั ระหวา่ งประวัติและประสบการณก์ ับตวั แปรอิสระทจี่ ดั กระทา ข้อจากดั ของการใช้แผนการวิจยั แบบนี้ มี 2 ประการ คือ 1. ตอ้ งใช้จานวนกลมุ่ ตวั อยา่ งค่อนข้างมากในการสุ่มแลว้ แบง่ เขา้ กลุ่ม 2. อาจทาใหค้ วบคมุ ตวั แปรตา่ ง ๆ ไดย้ าก เน่ืองจากมีหลายกลมุ่ 2.5 แบบสมุ่ แล้วแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง–กลุ่มควบคุมทดสอบหลังการทดลอง ลักษณะของแผนการวจิ ัย RC T1– T2 RE TX T2 แผนการวิจัยแบบนี้ มีการสุ่มหน่วยตัวอย่างเข้าไปเป็นกล่มุ ทดลองและกลุ่มควบคุม เมื่อให้ ตัวแปรอิสระกับกล่มุ ทดลองแลว้ ก็ทาการทดสอบเฉพาะหลังการทดลองทัง้ 2 กลุม่
34 บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย แผนการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มแล้วแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง – กลุ่มควบคุม ทดสอบหลัง การทดลอง มวี ธิ ีการ ดงั น้ี 1. สุ่มกลุม่ ตัวอยา่ ง 1 กลุ่ม 2. แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง (RE) – กลุ่มควบคมุ (RC) โดยการส่มุ 3. ทดลองโดยการให้ตวั แปรอิสระ (X) ในกลมุ่ ทดลอง 4. ทดสอบหลังการทดลอง (T2) ทัง้ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 5. สรุปผลการทดลองจากการเปรียบเทียบผลการทดสอบ T2 ของกลุ่มทดลองและ กลมุ่ ควบคุมว่าแตกต่างกนั หรือไม่ ข้อดีและขอ้ จากดั ข้อดขี องการใชแ้ ผนการวิจัยแบบน้ี มี 3 ประการ คอื 1. ไม่มีอิทธิพลของการสอบคร้ังแรก คือ ไม่มีผลร่วมกันระหว่างการสอบคร้ังแรกกับ ตัวแปรอสิ ระที่จดั กระทา 2. มีกลมุ่ ในการเปรียบเทียบผลท่เี กดิ ขึ้น 3. สะดวกต่อการดาเนินการในกรณีท่ีไม่ต้องการให้หน่วยตัวอย่างรู้ตัวว่าจะถูกทดลอง ในเร่อื งใด ข้อจากัดของการใช้แผนการวิจัยแบบน้ี คือ การไม่คานึงถึงสภาพ ประวัติ ประสบการณ์ วุฒิภาวะ หรือความเท่าเทียมกันของกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มก่อนการทดลอง ซึ่งอาจทาให้ไม่มี ความมนั่ ใจในผลทีเ่ กิดขึน้ เทา่ ท่คี วร 2.6 แบบไม่สุ่มแตแ่ บ่งเปน็ กลุ่มทดลอง - กลุ่มควบคุม ทดสอบก่อน - หลังการทดลอง ลกั ษณะของแผนการวิจัย C T1 – T2 E T1 X T2 แผนการวิจัยแบบนี้ มีการเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมี การทดสอบก่อนการทดลองทั้ง 2 กลุ่ม และเม่ือให้ตัวแปรอิสระกบั กลุ่มทดลองแล้ว จึงทาการทดสอบ หลังการทดลองท้งั กลมุ่ ทดลองและกล่มุ ควบคมุ อีกครั้ง
บทท่ี 3 การออกแบบการวจิ ัย 35 แผนการวิจัยเชิงทดลองแบบไม่สุ่มแต่แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง-กลุ่มควบคุม ทดสอบ ก่อน- สอบหลังการทดลองมวี ิธีการ ดงั นี้ 1. เลอื กกลุ่มตัวอย่างท่ีมีความคล้ายคลงึ กนั 2 กลุ่ม 2. แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม (C) – กลุ่มทดลอง (E) 3. ทดสอบก่อนการทดลอง (T1) 4. ทดลองโดยการให้ตัวแปรอิสระ (X) 5. ทดสอบหลงั การทดลอง (T2) 6. สรปุ ผลการทดลองจากการเปรยี บเทียบผลตา่ งระหวา่ ง T1 กับ T2 ของกลุ่มทดลอง กบั กลุ่มควบคุมว่าแตกต่างกันหรอื ไม่ ข้อดแี ละขอ้ จากดั ขอ้ ดีของการใช้แผนการวจิ ัยแบบน้ี มี 3 ประการ คือ 1. สามารถเปรียบเทียบผลการทดลองระหว่างก่อนและหลังการทดลองได้ 2. มกี ลุ่มในการเปรียบเทยี บผลท่ีเกดิ ขนึ้ ทาให้ม่ันใจในผลการจดั กระทาได้มากขึ้น 3. ไม่รบกวนสภาพความเป็นธรรมชาติของกลุ่มตัวอย่างในการแบ่งกลุ่มเพ่ือทา การทดลองเนื่องจากสามารถเลือกใช้หน่วยตัวอย่างที่มีอยู่เป็นกลุ่ม ๆ ได้เลย โดยไม่ต้องสุ่มเพ่ือจัด แบง่ เปน็ กลมุ่ ขึน้ ใหม่ ขอ้ จากัดของการใชแ้ ผนการวิจัยแบบน้ี มี 2 ประการ คอื 1. ขาดการควบคุมอทิ ธิพลของการสอบครั้งแรก 2. อาจมีผลร่วมกันระหว่างการเลือกหน่วยตัวอย่างกับประวัติและวุฒิภาวะของ หน่วยตวั อย่าง 2.7 แบบหมุนเวียนหรอื พบกันหมด ลกั ษณะของแผนการวจิ ัย กลมุ่ ครงั้ ที่ 1 ครง้ั ที่ 2 ครั้งที่ 3 1 X1T2 X2 T2 X3 T2 2 X2T2 X3 T2 X1 T2 3 X3T2 X1 T2 X2 T2
36 บทท่ี 3 การออกแบบการวิจัย แผนการวิจัยแบบน้ี มีการใช้กลุ่มตัวอย่างตามจานวนตัวแปรอิสระที่ใช้ในการทดลองเป็น การทดลองกบั กล่มุ ตัวอย่างที่อาจมีลักษณะความไม่เท่าเทียมกันระหวา่ งกลุ่มให้ได้รับตวั แปรอิสระหรือ ถกู กระทาอย่างเหมอื นกนั ในทุกกลมุ่ แผนการวิจยั เชงิ ทดลองแบบหมุนเวียนหรอื พบกนั หมด มวี ธิ ีการ ดงั นี้ 1. เลือกกลุ่มตัวอย่างตามจานวนตัวแปรอิสระที่จะทดลอง เช่น มีตัวแปรอิสระ 3 ตัว กล่มุ ตัวอยา่ งทใี่ ช้จะมี 3 กล่มุ 2. ทดลองโดยการให้ตัวแปรอิสระ (Xi) ทั้ง 3 ตัว ซ่ึงหมุนเวียนกันไปในแต่ละกลุ่ม จนทุกกลุ่มได้รับตัวแปรอิสระครบทั้ง 3 ตัว โดยมีการทดสอบทุกคร้ังที่มีการทดลอง (T2) เมื่อ X i คือ ตัวแปรอสิ ระท่ีจดั กระทาในการทดลอง 3. สรุปผลการทดลองจากการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของผลที่เกิดขึ้นจากตัวแปรอิสระ ทัง้ 3 ตัว ข้อดแี ละข้อจากดั ขอ้ ดีของการใช้แผนการวิจยั แบบน้ี มี 2 ประการ คือ 1. ในการแบ่งกลมุ่ จะมกี ารสมุ่ หน่วยตัวอย่างหรือไมก่ ็ได้ ทาให้หากลุ่มตวั อยา่ งไดง้ า่ ย 2. กลุ่มตวั อย่างแตล่ ะกลุ่มได้รบั ตัวแปรอสิ ระเหมือนกนั ทกุ กลมุ่ ทาให้การทดลองไมม่ ี อิทธิพลของความแตกตา่ งระหวา่ งกลุม่ ตวั อย่าง ขอ้ จากัดของการใชแ้ ผนการวจิ ัยแบบนี้ มี 2 ประการ คือ 1. ระหว่างการทดลอง หากเกิดการขาดหายของหน่วยตัวอย่างไปจะส่งผลกระทบต่อ การทดสอบ หรือค่าของตวั แปรนัน้ ๆ 2. การให้ตัวแปรอิสระหมุนเวียนกันไปยังกล่มุ ตัวอยา่ งจนครบทุกตัวน้ัน หากไม่มีการท้ิง ช่วงเวลาทน่ี านเหมาะสมแล้ว ผลของตัวแปรอิสระท่ีให้ไปแรกๆ อาจมีผลตกคา้ งอยู่ และส่งผลกระทบ ต่อตวั แปรอิสระท่ใี ห้เขา้ ไปภายหลังได้
บทที่ 3 การออกแบบการวจิ ัย 37 2.8 แบบอนกุ รมเวลา ลกั ษณะของแผนการวิจัย T11 T12 T13 …X T21 T22 T23 … แผนการวจิ ัยแบบน้ี เป็นการทดลองใหต้ ัวแปรอิสระกบั กลุ่มตวั อยา่ งเพียงกลุ่มเดียว และมี การทดสอบหลาย ๆ คร้ัง ท้ังก่อนและหลังการทดลองโดยให้มีเวลาช่วงห่างกันพอสมควร ในการทดสอบแต่ละครง้ั แผนการวิจัยเชงิ ทดลองแบบอนกุ รมเวลา มีวิธกี าร ดังน้ี 1. เลือกกลุ่มตัวอยา่ ง 1 กลุ่ม 2. ทดสอบก่อนการทดลอง (T1) หลาย ๆ คร้ัง โดยทิง้ ช่วงเวลาห่างกนั พอสมควร 3. ทดลองโดยการให้ตวั แปรอสิ ระ (X) 4. ทดสอบหลังการทดลอง (T2) หลาย ๆ คร้งั เช่นเดียวกบั การทดสอบก่อนการทดลอง 5. สรปุ ผลการทดลองจากการเปรยี บเทยี บการเปลยี่ นแปลงของคา่ เฉล่ียจากการ ทดสอบคร้ังสุดท้ายก่อนให้ตัวแปรอิสระกับการทดสอบคร้ังแรกหลังจากให้ตัวแปรอิสระแล้วว่ามี การเปลีย่ นแปลงไปมากน้อยเพียงใด ข้อดแี ละข้อจากดั ขอ้ ดีของการใช้แผนการวิจัยแบบนี้ มี 3 ประการ คือ 1. เหน็ แนวโนม้ การเปล่ียนแปลง หรือพัฒนาการในชว่ งก่อนทดลองและหลังการทดลอง 2. ทราบอตั ราการเปลย่ี นแปลงของตวั แปรอิสระในแต่ละชว่ งเวลาที่ทาการทดสอบ 3. ผลการทดสอบท้ังก่อนและหลังการทดลองมีการทาหลายๆ ครั้ง ทาให้มี ความนา่ เช่อื ถอื ได้มากกว่าการทดสอบเพยี งก่อนและหลังการทดลองอย่างละครั้งเทา่ นัน้ ขอ้ จากดั ของการใชแ้ ผนการวิจัยแบบน้ี มี 3 ประการ คือ 1. ต้องใช้เวลานานในการทดลองเน่อื งจากมีการทดสอบหลาย ๆ คร้ัง ท้งั ก่อนและหลงั การทดลอง และต้องทิ้งชว่ งเวลาให้หา่ งกนั พอสมควร 2. ระหว่างการทดลองมีการขาดหายของหน่วยตวั อย่างย่อมส่งผลกระทบต่อตวั แปรนัน้ ทาให้ผลการทดลองไมเ่ ป็นไปตามทีค่ วรจะเปน็
38 บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย 3. ระหว่างการทดสอบและทดลองให้ตัวแปรอิสระซึง่ ทาหลายๆ คร้งั น้นั อาจมีเหตกุ ารณ์ บางอยา่ งที่กระทบต่อการทดสอบยอ่ มทาใหผ้ ลการทดลองมคี วามคลาดเคล่อื นไดเ้ ชน่ กัน 2.9 แบบอนกุ รมเวลาสองกลุ่ม ลักษณะของแผนการวิจัย C T11 T12 T13 … – T21 T22 T23 … E T11 T12 T13 … X T21 T22 T23 … แผนการวิจัยแบบนี้ มีการใช้กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม และมีการทดสอบหลาย ๆ ครง้ั ทง้ั ก่อนและหลงั การทดลองโดยทง้ิ ช่วงเวลาห่างกนั พอสมควร แผนการวจิ ยั เชงิ ทดลองแบบอนกุ รมเวลาสองกลุ่ม มีวธิ ีการ ดงั นี้ 1. เลอื กกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม 2. ทดสอบก่อนการทดลอง (T1i) หลาย ๆ ครง้ั โดยท้งิ ช่วงเวลาหา่ งกันพอสมควร 3. ทดลองโดยการใหต้ ัวแปรอสิ ระ (X) 4. ทดสอบหลงั การทดลอง (T2i) หลาย ๆ ครง้ั เช่นเดยี วกบั การทดสอบก่อนการทดลอง 5. สรุปผลการทดลองจากการเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงของค่าเฉล่ียจากการทดสอบ ครั้งสุดท้ายก่อนให้ตัวแปรอิสระกับการสอบคร้ังแรกหลังจากให้ตัวแปรอิสระแล้วว่ามีการเปล่ียนแปลง ไปมากน้อยเพยี งใด และสรุปผลการทดลองจากแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงจากท้งั 2 กลุ่ม ข้อดแี ละขอ้ จากัด ข้อดีของการใช้แผนการวิจัยแบบนี้ นอกจากจะมีข้อดีดังการทดลองแบบอนุกรมเวลา ทีม่ กี ลมุ่ เดยี วแลว้ ยงั มีขอ้ ดีเพิม่ เติมอีก 2 ประการ คอื 1. การทดลองแบบน้ีมีกลมุ่ ในการเปรียบเทยี บผลที่เกดิ ขึน้ ทาให้มน่ั ใจในผลการจดั กระทา ตัวแปรอสิ ระไดม้ ากขึ้น 2. การทดลองแบบน้ีสามารถควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้หลายตัว เช่น ประวัติ ประสบการณ์ วุฒิภาวะ การเลือกและการขาดหายของหน่วยตัวอย่าง เป็นต้น ทาให้สรุปผล การทดลองได้อย่างมน่ั ใจมากขึ้น
บทที่ 3 การออกแบบการวิจัย 39 ขอ้ จากดั ของการใชแ้ ผนการวิจัยแบบน้ี มี 2 ประการ คือ 1. ต้องใช้เวลานานในการทดลอง 2. ควบคุมให้เกดิ ความเทา่ เทียมกนั ระหว่างกลมุ่ ทดลองและกลุ่มควบคุมไดย้ ากขนึ้ 2.10 แบบแฟคทอเรยี ล ลกั ษณะของแผนการวจิ ัย X1 X11 X2 X12 X21 X22 ** ** ** ** แผนการวิจัยแบบนี้ มีการใช้กลุ่มตัวอย่างหลายกลุ่มตามจานวนผลคูณของจานวนค่าของ ตวั แปรอิสระแตล่ ะตัวทนี่ ามาทดลอง อาจมตี ัวแปรอิสระ 2 ตวั หรอื มากกวา่ ก็ได้ เช่นอาจมีการทดลอง เพอ่ื ศึกษาผลการสอนของครูท่เี ปน็ อาจารย์ 3 และไม่เป็นอาจารย์ 3 ในโรงเรยี นขยายโอกาสและไม่ใช่ โรงเรียนขยายโอกาส ต้องใชก้ ลุม่ ตวั อยา่ ง 4 กลุม่ (2 X 2) ในการทดลอง เปน็ ตน้ แผนการวจิ ัยเชงิ ทดลองแบบแฟคทอเรยี ล มีวธิ กี าร ดงั น้ี 1. กาหนดว่าตัวแปรอิสระท้ัง 2 ตัว แต่ละตัวแปรค่าได้เป็นกี่ค่า เช่นตัวแปรอิสระแต่ละ ตวั แปรคา่ ไดอ้ ย่างละ 2 ทาง 2. สมุ่ หน่วยตัวอย่างเข้ากลมุ่ ซ่ึงมีจานวนกลุม่ ตามผลคณู ของจานวนการแปรคา่ ของ ตัวแปรอิสระทง้ั 2 ตัว ในท่ีนี้ คือ 2 X 2 = 4 กล่มุ 3. ทดลองโดยการให้ตวั แปรอสิ ระ (X) และทดสอบทุกคร้ังทีม่ ีการทดลองกบั ทุกกลุ่ม 4. สรุปผลการทดลองจากการเปรียบเทียบผลของตวั แปรอสิ ระแต่ละตัว และผลร่วมกันของ ตวั แปรอสิ ระเหลา่ นัน้ ข้อดีและข้อจากัด ข้อดีของการใช้แผนการวจิ ัยแบบนี้ มี 2 ประการ คือ 1. สามารถศกึ ษาผลของตัวแปรอิสระหลาย ๆ ตัวในคราวเดยี วกนั ได้ 2. มกี ารแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลรว่ มกันระหว่างตวั แปรอิสระตา่ ง ๆ ท่ีใช้ในการทดลองได้
40 บทท่ี 3 การออกแบบการวจิ ัย ข้อจากัดของการใช้แผนการวิจัยแบบนี้ คือ มีการใช้จานวนหน่วยตัวอย่างค่อนข้างมาก ในการสุ่มแล้วแบ่งเข้ากลุ่ม และควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ยากเนื่องจากมีหลายกลุ่ม และมี ตัวแปรอิสระหลายตวั ซงึ่ แตล่ ะตัวแปรคา่ ไดห้ ลายทาง จากแบบแผนการวิจัยข้างต้น จะเห็นว่าแต่ละแบบล้วนมีทั้งข้อดีและข้อจากัดมากน้อย แตกต่างกันไป งานวิจัยที่มีวัตถุประสงค์การวิจัยอย่างสอดคล้องกับแบบแผนการวิจัยหนึ่ง ๆ แต่ถูก นาไปใช้ในสภาพการณ์ หรือสิ่งแวดล้อมท่ีต่างกัน ผลการทดลองที่เกิดขึ้นย่อมมีประสิทธิภาพ ท่ีแตกต่างกันด้วย นั่นคือ การทาวิจัยนอกจากจะต้องคานึงถึงความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ และแบบแผนการวิจัยแลว้ ยังต้องคานงึ ถงึ สภาพการณ์ หรือสิง่ แวดล้อมร่วมดว้ ย สรปุ การออกแบบการวิจัย เป็นกระบวนการในการวางแผนการดาเนินการวิจัยที่มีระบบ และมีข้ันตอนเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลท่ีต้องการในการตอบปัญหาการวิจัยตามจุดประสงค์/สมมุติฐาน ของการวิจัยที่กาหนดไว้ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน รวดเร็วและมีความน่าเช่ือถือ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการคือ 1) เพื่อหาคาตอบของปัญหาการวิจัยได้อย่างถูกต้อง 2) เพื่อควบคุมความแปรปรวนใน การวิจัยที่เป็นผลมาจากตัวแปรภายนอก และ 3) เพื่อให้การวัดของตัวแปรถูกต้องแม่นยา การออกแบบการวิจัยน้ันยึดหลัก Max Min Con Principle แบบแผนการวิจัยมีลักษณะของแบบ แผนท่ีแตกต่างกัน ขึ้นว่างานวิจัยนั้นท่ีมีวัตถุประสงค์การวิจัยอย่างสอดคล้องกับแบบแผนการวิจัยใด ท่ีเหมาะสม ซ่ึงแบบแผนแต่ละแบบล้วนมีทั้งข้อดีและข้อจากัดเช่นกัน ดังนั้นจึงอยู่ท่ีนักวิจัยต้องเป็น ผู้พิจารณาในการเลือกแบบแผนการวิจัยที่ดีท่ีสุด เหมาะสมกับงานวิจัยมากท่ีสุด เพ่ือให้ผลการวิจัยมี ความถกู ต้อง แม่นยามที ั้งความเที่ยงตรงภายในและความเท่ยี งตรงภายนอก แบบฝึกหัดบทท่ี 3 1. แบบแผนการวิจยั และการออกแบบการวจิ ยั คืออะไร โปรดอธิบายใหเ้ ขา้ ใจ 2. การออกแบบการวิจยั มีวตั ถุประสงค์ที่สาคญั อะไรบา้ ง 3. หลก้ การ “Max Min Con” คอื อะไร เก่ยี วข้องกับการออกแบบการวิจยั อยา่ งไร และ มอี งค์ประกอบอะไรบ้าง 4. ความเท่ียงตรงของแบบการวจิ ยั คืออะไร มีก่ีชนดิ และแต่ละชนิดมีความหมายว่าอย่างไร โปรดอธบิ ายให้เข้าใจ
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: