มโนทศั นเ์ กีย่ วกับการวจิ ยั 1 บทที่ 1 มโนทัศน์เก่ยี วกับการวจิ ัย ในปัจจุบันน้ีการวิจัยมีความสาคัญและเข้ามามีบทบาทมากในทุกหน่วยงาน องค์กร ทั้งภาครฐั และเอกชน ท้ังนเ้ี น่อื งจากผลของการวจิ ัยสามารถสรา้ งองค์ความรู้ใหม่ ชว่ ยแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ทั้งในระดับชุมชนจนถึงระดับประเทศ อาทิปัญหาด้านการศึกษา ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจและ การปกครอง ซึ่งกระบวนการวิจัยยังสามารถนาข้อค้นพบไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมากมาย ดังน้ัน สถาบันการศึกษาทุกระดับ โดยเฉพาะในระดับอุดมศึกษาได้ให้ความสาคัญกับการเรียนรู้ ในกระบวนการวิจัยเป็นอย่างมาก ซ่ึงทุกสถาบันได้ให้นักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับ บัณฑิตศึกษาได้เรียนรู้และทาความเข้าใจเกี่ยวกับงานวิจัย แต่อย่างไรก็ตามนักศึกษาหรือผู้ท่ีสนใจ ในการทาการวจิ ัยสว่ นหนึ่งอาจยังไม่ทราบว่าการวจิ ัยแทจ้ ริงแล้วคอื อะไร ดาเนินการอย่างไร ลักษณะ วิจัยท่ีดีเป็นอย่างไร คนที่จะเป็นนักวิจัยท่ีดีควรมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง และหากจะดาเนินการวิจัย ดว้ ยตนเองจะทาไดอ้ ย่างไร รายละเอียดในบทนี้จะทาให้นักศึกษาและผู้สนใจ เกิดความเข้าใจในมโนทัศน์เบ้ืองต้น ของการวจิ ัยเพิ่มมากขึน้ และสามารถนาเอาองค์ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ไปได้ ความหมายของการวจิ ัย คาว่า การวิจัย ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Research ซ่ึงหากแปลความหมายก็จะได้ตรง ตามคาว่า Re+Search คือการค้นคว้า ค้นหาอย่างซ้าๆ เพ่ือให้ได้องค์ความรู้ คาตอบของปัญหา ซึ่งในพจนานุกรม Longman Dictionary of Contemporary English (1987) ได้ให้ความหมายคาว่า “Research” ว่าหมายถึง การศึกษาถึงรายละเอียดของปรากฏการณ์ของส่ิงต่าง ๆ อย่างละเอียด และจริงจังเพื่อศึกษาค้นคว้าหาความจริงที่เช่ือถือ หรือดาเนินการตามกฎเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อทดสอบความเชื่อ ความจริงบางอย่าง ซึ่งตรงกับความหมายของคาว่าการวิจัยท่ีได้มีนักวิชาการ หลายท่านไดใ้ ห้ความหมายไวด้ งั น้ี Travers (1969) ได้กล่าวว่า การวิจัยเป็นการใช้วิธีการแห่งปัญญา โดยค้นคว้าเพ่ือหา ความจริงเพอื่ ตอบปัญหาท่กี าหนด โดยใช้วธิ ีการทห่ี ลากหลายเพอ่ื สรปุ ผลการวจิ ยั ใหม้ คี วามเชื่อม่นั Lehmann and Mehrens (1971) ได้ให้ความหมายว่า การวิจัยเป็นวิธีการค้นหา ความจรงิ โดยใช้วิธกี ารท่เี ปน็ ระบบ น่าเชอื่ ถอื ทีเ่ รยี กว่าวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์
2 บทที่ 1 มโนทศั น์เกยี่ วกับการวจิ ัย อนันต์ ศรีโสภา (2521) กล่าวว่า การวิจัยเป็นกระบวนการในการแสวงหาความรู้ จากปญั หาทช่ี ัดเจนอยา่ งมีระบบ บุญชม ศรีสะอาด (2546) ได้ให้ความหมายว่าการวิจัยเป็นการใช้ปัญญาของมนุษย์ ในการศึกษา ค้นคว้าเพ่ือหาความรู้ ความจริง เกิดความเข้าใจ เพ่ือช่วยในการแก้ปัญหา ปรับปรุง พฒั นางาน ดังนั้นจากความหมายข้างต้น สามารถสรุปได้ว่าการวิจัยเป็น “กระบวนการในการความรู้ ความจรงิ ของปรากฏการณต์ ่าง ๆ โดยใช้วธิ ีการทเ่ี ป็นระบบ ระเบยี บ มีหลกั ฐานและเชอ่ื ถอื ได้” วัตถปุ ระสงคใ์ นการทาวิจัย การวิจัยน้ันได้ถูกพิสูจน์แล้วว่าเป็นกระบวนการที่สามารถนาองค์ความรู้ ข้อค้นพบไปใช้ ประโยชน์มากมาย จึงทาให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ให้ความสาคัญกับการวิจัย โดยเฉพาะในปัจจุบันพบว่าหน่วยงานต่างๆ ได้ให้ความสาคัญกับการวิจัยมีการกระตุ้น สนับสนุนให้ บคุ ลากรในหน่วยงานดาเนินการทาวจิ ัย เพ่อื ประโยชน์ของหน่วยงานและสังคมโดยรวม โดยทว่ั ไปแล้ว ในการดาเนินการวิจัยน้ัน นักวิจัยมีจุดประสงค์ที่สาคัญ ๆ ดังนี้ (พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2540: 12; วรรณี แกมเกตุ, 2555: 18) 1. เพ่ือการแก้ปัญหา (Problem solving) เนื่องจากมนุษย์ต้องประสบปัญหาต่างๆ รอบตวั มนษุ ยจ์ งึ จาต้องทาการวิจยั เพือ่ หาทางแกป้ ัญหาใหห้ มดไป 2. เพื่อสร้างทฤษฎี (Theory-developing) เน่ืองจากกฎเกณฑ์ ทฤษฎีต่างๆ เป็นส่ิงท่ีมี ประโยชน์มากมาย สามารถนาไปใช้อ้างอิง อธิบาย ทานาย และควบคุมปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งทาง ธรรมชาติและพฤติกรรมมนษุ ย์ได้เป็นอยา่ งดี มนุษยจ์ งึ ตอ้ งทาการวจิ ัยเพื่อสร้างทฤษฎีไว้ให้มาก 3. เพ่ือพิสูจน์ทฤษฎี (Theory testing) เน่ืองจากทฤษฎีต่าง ๆ ท่ีสร้างขึ้นมาน้ันสามารถ เปลี่ยนแปลงได้ภายใต้กฎเกณฑ์ของธรรมชาติ มนุษย์จึงต้องมีการทาวิจัยเพ่ือตรวจสอบว่าข้อค้นพบ ที่ได้จากการวิจัยก่อนๆ น้ัน ยังคงถูกต้องหรือไม่ เมื่อกาลเวลาเปลยี่ นแปลง หากทฤษฎีที่สร้างขึ้นกอ่ น หนา้ น้มี ขี อ้ จากัดในการนาไปใช้อาจต้องมีการปรบั เปล่ยี นหรือพฒั นาทฤษฎใี ห้มีความถูกต้องมากยง่ิ ขึ้น คณุ ลกั ษณะของงานวิจยั
บทที่ 1 มโนทศั นเ์ ก่ียวกบั การวิจัย 3 การดาเนินการวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ ความจริงที่เช่ือถือได้และต้อง ดาเนนิ การดว้ ยวิธีการทเี่ ปน็ ระบบ ระเบียบ ดังน้ันการดาเนนิ การวิจัยท่ดี ีนน้ั ควรมีคณุ ลกั ษณะทีส่ าคัญ ดงั น้ี (อนันต์ ศรีโสภา, 2521; กิตติพร ปัญญาภิญโญผล, 2541) 1. การวิจัยต้องมีความเท่ียงตรงภายใน (Internal validity) และความเที่ยงตรงภายนอก (External validity) ความเที่ยงตรงภายในของงานวิจัย หมายความว่า ผลการวิจัยท่ีค้นพบนั้นเป็นผล มาจากการทดลองตัวแปรต่าง ๆ ท่ีเราสนใจโดยตรง ไม่ได้เกิดจากสาเหตุอ่ืน ๆ ที่ไม่เก่ียวข้อง หรือ กล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า ความเท่ียงตรงภายในน้ัน หมายถึงผลของการวิจัยที่ได้เป็นข้อสรุปน้ันเกิดจาก เก็บรวบรวมข้อมลู ท่ศี ึกษาและวัดได้ตรงกับตวั แปรท่ีผูว้ จิ ยั สนใจศึกษาอยา่ งแท้จรงิ ความเท่ียงตรงภายนอกของงานวิจัย หมายความว่า ผลการวิจัยท่ีค้นพบน้ัน สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับสภาพการณ์ที่คล้ายกันหรอื เหมือนกันได้อย่างเท่ียงตรง หรือนาไปอ้างอิง สูก่ ล่มุ ประชากรและทาให้เกิดประโยชน์ในสภาพการณ์ใหมท่ ี่คลา้ ยกนั ได้อย่างเทยี่ งตรง 2. การวิจัยต้องใช้การรวบรวมข้อมูลใหม่ เพื่อตอบวัตถุประสงค์การวิจัยที่กาหนดไว้ การวิจัยท่ีดีต้องเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อตอบปัญหาวิจัย ตอบวัตถุประสงค์ใหม่ๆ มิใช่เก็บ ข้อมูลวจิ ัยเพ่อื ตอบวัตถปุ ระสงค์เดมิ ท่ีมผี เู้ คยทาแล้ว ซ่ึงไม่ได้เกิดความรใู้ หม่แตอ่ ยา่ งใด 3. การวิจัยต้องเกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา โดยตรงอาจค้นคว้าหาข้อเท็จจริง หาวิธีการ แก้ปัญหา อธิบายปรากฏการณ์พยากรณ์ลักษณะ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนพัฒนากฎเกณฑ์ หรือทฤษฎีตา่ ง ๆ 4. การวิจัยต้องเป็นการดาเนินอย่างมีระบบ มีเหตุผล ทุกขั้นตอนต้องทาอย่างมีระบบ สามารถตรวจสอบได้ 5. การวิจัยควรสามารถพัฒนาองคค์ วามรูใ้ หม่ ทฤษฏีใหม่ท่เี ชอื่ ถอื ได้ 6. การวิจัยที่ดีต้องมาจากนักวิจัยที่มีความสามารถและเข้าใจปัญหาท่ีตนเองทา เพราะ นักวิจัยต้องมีความเข้าใจและทราบถึงปัญหาน้ันอย่างแท้จริง ดังนั้นนักวิจัยต้องเป็นผู้ท่ีเข้าใจวิธีการ วิเคราะห์ปัญหาในการทาวิจัยและนักวิจัยควรเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถเก่ียวกับระเบียบวิธีวิจัย ดว้ ย 7. การวิจัยท่ีดีต้องมีการใช้เคร่ืองมือและเทคนิคการรวบรวมข้อมูลที่มีคุณภาพ นั่นคือ เครอื่ งมือต้องมีความเทย่ี งตรง (Validity) และเช่ือถือได้ 8. การวิจัยเป็นกระบวนการท่ีมีเหตุผลและปรนัย ทุกข้ันตอนต้องมีความเที่ยงตรงและ ความเช่อื มนั่ ในทกุ ขนั้ ตอนจากขอ้ มลู ที่เกบ็ รวบรวมมาได้
4 บทท่ี 1 มโนทัศนเ์ กีย่ วกบั การวจิ ัย 9. การวิจยั ตอ้ งเป็นกระบวนการทตี่ ้องอาศยั ความรู้ ความชานาญ ความมรี ะบบ มเี หตผุ ล มีจุดมุ่งหมายชัดเจน ไม่กระทาอย่างรีบร้อน ใช้ความซ่ือสัตย์ และกล้าที่จะสรุปผลการวิจัยตาม ความเป็นจริง 10. การวิจัยต้องมีการเขียนรายงานการวิจัยอย่างระมัดระวัง ผู้วิจัยต้องให้ความสาคัญ กับผลการวิเคราะห์ข้อมูล ซือ่ สัตยป์ ราศจากความลาเอียง และเขยี นให้ผู้อ่ืนเขา้ ใจง่าย ประโยชน์ของการวิจัย ในปัจจุบันทุกหน่วยงานท้ังหน่วยงานระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับประเทศไปจนถึง ระดับนานาชาติ ได้ให้ความสาคัญกับการวิจัยเป็นอย่างมาก ซ่ึงเป็นเคร่ืองสะท้อนให้เห็นว่าการวิจัย เป็นส่ิงที่สาคัญ และมีประโยชน์มากมาย ผลของการวิจัยยอ่ มมีคุณค่าหลายๆ ด้าน ซึ่งสามารถจาแนก ไดด้ ังน้ี (วรรณี แกมเกต,ุ 2555: 20-21) 1. ประโยชน์ตอ่ นักวจิ ัย การวิจัยมีผลต่อการพฒั นานักวิจัยโดยตรง ทงั้ นเ้ี นอื่ งจากการดาเนินการวิจยั จะช่วยให้ นักวิจยั ไดพ้ ัฒนาความคดิ ของตน ใหค้ ิดอยา่ งมเี หตผุ ลมีระบบ มีระบบการคดิ ท่ีเปน็ วิทยาศาสตร์ ซึ่งถือ ว่าการทาวิจัยเปน็ กระบวนการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ท่มี ีความสาคญั ยงิ่ สิง่ หน่ึง 2. ประโยชน์ตอ่ องคก์ รของนักวจิ ยั การทาวิจัยนอกจากนักวิจัยในองค์กรน้ันได้รับการพัฒนาระบบการคิดท่ีเป็นเหตุเป็น ผลมากขนึ้ แล้ว ผลของการวจิ ัยยังสามารถชว่ ยใหผ้ ้บู รหิ ารมสี ารสนเทศเพื่อใช้สาหรบั การตัดสนิ ใจ เพ่ือ ประโยชน์ต่อการดาเนนิ งานให้มปี ระสทิ ธิภาพ และสามารถแก้ปัญหาขององค์กรไดม้ ากขึน้ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงเพื่อใช้เป็นประโยชน์ต่อการวิจัยสถาบัน ซึ่งเป็นการนาปัญหาวิจัยจากสภาพการดาเนินงาน ขององคก์ รมาช่วยแกไ้ ขปัญหา 3. ประโยชน์ต่อสงั คมและประเทศชาติ 3.1 งานวิจัยสามารถช่วยให้ปัญหาสังคมโดยรวมเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น มองเห็น ท่ีมาของปัญหาชัดเจนขึ้น รวมทั้งมองเห็นแนวทางแก้ปัญหาในภาพกว้างได้ดีขึ้น เช่น ปัญหา ความยากจน ปัญหาคุณภาพผลผลิตของกลุ่มอาชีพต่างๆ ปัญหาหน้ีสินของเกษตร เป็นต้น ปัญหา
บทท่ี 1 มโนทัศนเ์ กี่ยวกับการวจิ ัย 5 เหล่านี้จาเป็นต้องอาศยั การวิจัยเป็นเครื่องมือในการค้นหาสาเหตุ และวิธีการแก้ปัญหาไปพร้อมๆ กัน กบั การดาเนนิ การตามมาตรการอืน่ ๆ 3.2 งานวิจัยบางลักษณะเป็นการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่สังคม ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อ การทบทวน ติดตาม และประเมินผล โดยเฉพาะอย่างย่ิงการดาเนินโครงการขนาดใหญ่ที่ ใช้ งบประมาณจานวนมาก จาเป็นอย่างย่ิงต้องมีการประเมินถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ โครงการ รวมท้งั ผลลพั ธ์และผลกระทบที่เกดิ ขนึ้ ว่าคุม้ ค่ากบั การลงทุนหรือไม่ จะวางแผน ควบคมุ หรือ ดาเนนิ การอยา่ งไรต่อไป 3.3 ประโยชน์ต่อสังคมในอนาคต งานวิจัยเป็นประโยชน์ต่อสภาพปัจจุบันท่ีเป็นอยู่ แล้ว การวิจัยบางลักษณะยังเป็นประโยชน์ต่อสังคมในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวิจัยเพ่ือพัฒนา นโยบาย เพ่ือให้สามารถวางแผนอนาคตได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึน ในอนาคต 4. ประโยชนท์ างวชิ าการ การวิจัยนอกจากช่วยให้เกิดการอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ อย่างถูกต้อง เป็นเหตุ เป็นผลแล้ว ยังช่วยให้เกิดการพัฒนาในศาสตร์นั้น ๆ ด้วย ศาสตร์ใดท่ีมีนักวิจัยหรือมีการดาเนินการ วิจัยมาก การค้นคว้าหาทฤษฎีใหม่ๆ การตรวจสอบทฤษฎี การสร้างทฤษฎีในศาสตร์ก็จะมีอย่าง กว้างขวาง และศาสตร์นั้นก็จะมีการพัฒนาก้าวหน้าข้ึนเรื่อยๆ ท้ังในส่วนที่เป็นความถูกต้อง ตรงต่อ ความเป็นจริงของศาสตรแ์ ละส่วนทเ่ี ป็นแนวคิดทฤษฎี ลักษณะของนกั วิจยั ทีด่ ี การทาการวิจัยน้ัน ผู้ที่จะดาเนินการวิจัยควรเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติที่ดี ทั้งในด้านความรู้ ในเร่ืองที่จะทา มีความรู้ในเร่ืองกระบวนการวิจัย ซ่ึงลักษณะที่จาเป็นที่นักวิจัยควรถือปฏิบัติมีหลาย ประการ (พวงรัตน์ ทวีรตั น์, 2543: 14-15) ดังน้ี 1. คุณสมบตั ิดา้ นความรสู้ กึ และอารมณ์ นกั วจิ ัยท่ีดีควรมีคุณสมบตั ิทางด้านความรสู้ ึกและอารมณ์ ดงั น้ี 1.1 เป็นผู้ทม่ี คี วามสนใจ อยากรู้อยากเหน็ ในส่งิ ตา่ งๆ ตลอดเวลา 1.2 เป็นผู้ทม่ี ีทศั นคติทด่ี ตี อ่ การแสวงหาความรู้หรือการทาวิจัย
6 บทที่ 1 มโนทศั นเ์ กี่ยวกบั การวิจยั 1.3 เป็นผู้ท่ีมีความสุข เพลิดเพลินต่องานวิจัยที่สร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ มีความสุข อันเกิดจากผลงานมากกว่าที่จะมีความสุขอันเกิดจากวัตถุหรือส่ิงภายนอก และมีความสุขถ้างานที่ทา มีประโยชนต์ ่อคนอืน่ ๆ 1.4 เป็นผู้ที่มจี ิตใจดี และมคี วามสามารถในการตดิ ตอ่ ประสานงานกับผู้อ่ืนไดด้ ี 1.5 เป็นผทู้ ี่มีความกระตอื รอื รน้ ในการทางานวิจัย 2. คุณสมบัตดิ ้านความรู้ นกั วิจัยท่ดี ีควรมีคณุ สมบัติทางดา้ นความรู้ ดงั นี้ 2.1 เปน็ ผู้ที่มีความสามารถด้านการวเิ คราะห์ คือสามารถวเิ คราะห์ คัดเลอื กงานวิจัย และความรู้จากเอกสารต่างๆ ท่ีต้องการได้เหมาะสมและรวดเร็ว และสามารถเลือกใช้ผลงานวิจัย ไดถ้ กู ต้อง 2.2 เป็นผู้ท่ีทางานอย่างเป็นระบบ สามารถวางแผนในการทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.3 เปน็ ผทู้ มี่ คี วามรอบร้เู กี่ยวกบั ระเบียบวธิ ีวิจยั ได้แก่ การมีความรู้เกี่ยวกบั รูปแบบ ของการวิจัย เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย วิธีการต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยเฉพาะวิธีการ ทางสถิติ ซง่ึ จะเออื้ ต่อการทาวจิ ัยได้เป็นอย่างดี 2.4 เปน็ ผทู้ ี่มีความสามารถเชงิ วิพากษ์ และพยากรณ์คาตอบไดด้ ี 2.5 เป็นผู้ที่มีความสามารถเชิงสังเคราะห์ สามารถนาส่ิงท่ีได้ศึกษาและข้อค้นพบ มาเขียนสรปุ รายงานใหเ้ ข้าใจไดง้ า่ ยและชดั เจน 2.6 เป็นผทู้ ีม่ ีความสามารถคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ดี 3. คุณสมบตั ิดา้ นการตดั สินใจ นักวิจยั ท่ีดคี วรมคี ณุ สมบัติดา้ นการตดั สินใจ ดงั น้ี 3.1 เปน็ ผ้ทู ก่ี ล้าคดิ กล้าตัดสนิ ใจ 3.2 เป็นผทู้ มี่ ีความรอบคอบในการตัดสินใจ และใช้เหตุผลในการตัดสินใจ 3.3 เปน็ ผู้ทม่ี เี หตุมีผล และเชือ่ มน่ั ในหลักการและเหตผุ ล 3.4 เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามเชอ่ื ม่นั ในตนเอง รวมทง้ั เชอ่ื มัน่ ในผลงานของตนเอง 3.5 เป็นผู้ที่มีความขยัน อดทนต่อการแสวงหาความรู้ เป็นผู้ที่มีจิตใจกว้าง ยอมรับ ฟงั คาวิพากษ์วจิ ารณ์ของผอู้ นื่ ท่มี ีต่อผลงานวจิ ัยของตนเองทง้ั ทางบวกและทางลบ 3.6 เป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการควบคุมตนเองให้กระทาตามหลักวิชาการท่ีดีงาม และมีความยุตธิ รรม 3.7 เปน็ ผู้ที่มคี วามหวงั ทจ่ี ะได้เหน็ ผลงานวจิ ยั อยเู่ สมอ
บทที่ 1 มโนทศั น์เกี่ยวกบั การวิจยั 7 3.8 เป็นผ้ทู มี่ คี วามสามารถในการประเมินสิ่งตา่ งๆ ได้ถูกตอ้ ง ดังนั้นลักษณะของนักวิจัยนับได้ว่ามีความสาคัญต่อการวิจัย ท้ังน้ีเน่ืองจากถ้านักวิจัยเป็น ผู้ที่มีความเข้าใจในเน้ือหาสิ่งที่ตนเองดาเนินการวจิ ัย เข้าใจข้ันตอนการทาวิจัย และมีคุณสมบัติท่ีดีท้ัง ด้านความรู้ ความรู้สึก อารมณ์ ตลอดจนด้านการตัดสินใจที่ดี ย่อมทาให้นักวิจัยสามารถดาเนินการ วิจยั ไดอ้ ย่างประสบความสาเรจ็ และสามารถนาไปใช้ในหน่วยงาน องคก์ รของตนเองได้ ขั้นตอนการทาวจิ ัย ในการทาวิจัยน้ันได้ดาเนินการประยุกต์มาจากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์จะมีการกาหนดปัญหาที่อยากรู้ มีการตั้งสมมติฐานเพ่ือคาดคะเน คาตอบ มีการสังเกตรวบรวมข้อมูลเพื่อหาข้อเท็จจริง มีการวิเคราะห์ผลตามข้อเท็จจริงที่รวบรวมได้ และมีการสรุปผลตามผลการวิเคราะห์เพื่อตอบปัญหาท่ีอยากรู้ ซึ่ง Borg and Gall (1979) ได้สรุป ขนั้ ตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทีน่ ามาประยุกตใ์ นการทาวิจัย ดงั นี้ 1. ขน้ั ตระหนกั ถึงปัญหา ข้ันนี้เป็นขั้นท่ีนักวิจัยเสาะแสวงหาความรู้สึกหรือความตระหนักว่าปัญหาคืออะไร หรือเกดิ ความสงสัยใครร่ ้วู ่าคาตอบของปญั หาน้ันคืออะไร 2. ข้ันกาหนดขอบเขตของปญั หา ข้ันนี้เป็นข้ันท่ีนักวิจัย ศึกษาและแสวงหาความรู้ว่าต้องกาหนดขอบเขตของปัญหา ในการวจิ ัยทต่ี นเองศึกษาวา่ มีขอบเขตกวา้ งขวางเพยี งใด 3. ข้นั กาหนดสมมตฐิ าน ขั้นนี้เป็นข้ันท่ีนักวิจัยแสวงหาความรู้ คาดคะเนคาตอบของปัญหา โดยการสังเกต จากขอ้ เท็จจริงต่าง ๆ ที่มีอยู่ 4. ขั้นกาหนดเทคนคิ การรวบรวมข้อมลู ข้ันนเี้ ปน็ การกาหนดวธิ ีการรวบรวมข้อมลู เพื่อค้นหาคาตอบของปญั หา และสมมติฐาน โดยข้ันตอนนี้รวมถึงการพฒั นาเคร่ืองมอื ทีม่ ีคณุ ภาพไว้ในการรวบรวมข้อมลู ด้วย 5. ขัน้ รวบรวมข้อมูล ข้ันน้ีนักวิจัยแสวงหาความรู้ นาเคร่ืองมือที่พัฒนาในข้ันที่ 4 มารวบรวมข้อมูลท่ีจะ คน้ หาคาตอบปัญหาวจิ ยั ทตี่ ้องการทราบ 6. ขน้ั วเิ คราะหข์ ้อมลู
8 บทท่ี 1 มโนทัศน์เกีย่ วกับการวิจัย ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการนาข้อมูลท่ีได้จากการรวบรวมในขั้นที่ 5 มาจัดกระทา เพอื่ หาคาตอบของวจิ ยั 7. ขัน้ สรปุ ผล ข้ันน้ีนักวิจัยหาความรู้สรุปผลการวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับสมมติฐานไว้บนพ้ืนฐานของผล ทีไ่ ดจ้ ากการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพื่อสรปุ ผลการวิจัยหรือสรุปข้อค้นพบของปัญหาที่ศึกษา ดังนั้นในการทาวิจัยมีกระบวนการในการดาเนินการตามข้ันตอนหลักของกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ดังที่กล่าวมาแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม ในการปฏิบัติการวิจัยจริงได้มีการขยายขั้นตอน ให้ละเอียดและมีความต่อเน่ืองกัน เพื่อให้นักวิจัยสามารถวางแผน ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น เพื่อผลการวิจยั จะได้สามารถตอบคาถามวิจัยและเป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ท่ี ข้นั ตอนการทา วจิ ยั ท่ปี รบั ขยายแลว้ มีข้นั ตอนดังนี้ ขนั้ ที่ 1 ข้ันกาหนดปัญหาในการวจิ ัย การกาหนดปัญหา เป็นสิ่งท่ีจาเป็นมากในการทาวิจัยของนักวิจัย ดังน้ันนักวิจัยควรที่ จะต้องทาความเข้าใจเก่ียวกับปัญหา และปรากฏการณ์ที่สนใจศึกษาเป็นอย่างดี เพ่ือให้สามารถ กาหนดปัญหาหรอื เลือกปัญหาในการวิจยั ได้อย่างถูกต้องและชดั เจน ซง่ึ เปน็ การเลือกประเด็นท่ีผู้วิจัย ต้องการรู้ ต้องการพัฒนา หรือต้องการแก้ไข สิ่งที่สาคัญของการกาหนดปัญหาในการวจิ ัย คือ ผู้วิจัย จะต้องเลือกกาหนดปัญหาที่สนใจศึกษาท่ีเหมาะสมกับความรู้ความสามารถและทักษะของผู้วิจัย เหมาะกับความต้องการของหน่วยงาน สาขาวิชา และงานของผู้วิจัย นอกจากน้ียังต้องเหมาะสมกับ ทรัพยากรท่ีส่งเสริมการวจิ ยั ท่มี ีอยดู่ ว้ ย จึงจะทาให้การทาวิจัยมปี ระสิทธภิ าพและมคี วามนา่ เชอื่ ถือ ในข้ันของการกาหนดประเด็นปัญหานั้น จะทาให้ผู้วิจัยสามารถกาหนดขอบเขต ของการวิจัยในขนั้ ต่อไปให้ชดั เจนขน้ึ ข้ันที่ 2 ขนั้ ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วขอ้ ง การศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เป็นการศึกษาเน้ือหาทางวิชาการที่เก่ียวข้อง กับประเด็นปัญหาการวิจัยที่ได้กาหนดไว้ การดาเนินการในขั้นนี้จะมีประโยชน์สาหรับการวิจัยมาก เพราะหลังจากทบทวนเอกสารเหล่านี้แล้วผู้วิจัยจะมีมุมมองในการกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย กาหนดตัวแปรที่มุ่งศึกษา สมมติฐานของการวัย รวมไปถึงการกาหนดรูปแบบการวิจัยที่เหมาะสม กับงานของตนเอง ตลอดจนเห็นแผนงานการวิจัยของตนว่าควรวางแผน อย่างไรจึงจะเหมาะสม และเป็นเหตเุ ปน็ ผลมากทส่ี ุด
บทท่ี 1 มโนทัศนเ์ ก่ยี วกบั การวิจยั 9 ขัน้ ที่ 3 ขั้นตั้งสมมติฐานการวิจยั การต้ังสมมติฐานการวิจัย เป็นการคาดคะเนคาตอบของงานวิจัยไว้ล่วงหน้าก่อนทา การวิจัย โดยอาศัยเหตุผลท่ีมาจากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องหรืออาจมาจาก ความรู้ ประสบการณ์ของนักวิจัย สมมติฐานในการวิจัยไม่จาเป็นต้องมีในการวิจัยเสมอไป เช่น งานวิจัยเชิงสารวจ ซ่ึงผู้วิจัยไม่จาเป็นต้องคาดเดาว่าคาตอบต้องออกมาว่าจะเป็นอย่างไร การตั้งสมมติฐานในงานวิจัย อาจเป็นสมมติฐานง่าย ๆ ไปจนถึงสมมติฐานที่ซับซ้อน สมมติฐาน อาจเพียงแต่กล่าวถึง ความเป็นจริงในเร่ืองนั้น ๆ ว่ามีลักษณะอย่างไร หรืออาจกล่าวถึงความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต้ังแต่ 2 ตัวข้ึนไปว่าสมั พันธก์ ันอย่างไร อะไรจะเป็นสาเหตุของตัวแปรน้ี อะไรเป็นเหตุ เปน็ ผลซง่ึ กนั และกัน ข้ันที่ 4 ขัน้ การออกแบบการวจิ ยั ข้ันนี้เป็นการกาหนดการออกแบบการวิจัย เพื่อให้การทาวิจัยได้รับคาตอบจากปัญหาวิจยั ได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพ การออกแบบการวิจัยเป็นการวางแผนการปฏิบัติการวิจัยไว้ล่วงหน้า ก่อนลงมือปฏิบัติการวิจัยจริง โดยแผนการปฏิบัติการวิจัยจะเป็นการกาหนดการทาวิจัยโดยผู้วิจัย จะต้องวางแผนว่าจะใช้ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างเป็นใคร การได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างจะดาเนินการ อย่างไร และต้องการจานวนเท่าไร การเก็บรวบรวมข้อมูลจะใช้วิธีการใด ใช้เครื่องมือชนิดไหน และจะดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติอะไร โดยกาหนดเกณฑ์ในการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูล ไว้อย่างไรบา้ ง การอออกแบบการวิจัยจะเป็นประโยชนอ์ ย่างมากท่ีจะทาให้ผูว้ จิ ัยสามารถดาเนินการวิจัย ในแต่ละขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เกิดความผิดพลาด คลาดเคล่ือนน้อยที่สุด ทาให้การทา วจิ ยั เป็นไปตามวัตถุประสงคท์ ี่ตัง้ ไว้ และสามารถทาวจิ ัยได้สาเร็จอยา่ งมคี ณุ ภาพ ขั้นที่ 5 ข้ันการพัฒนาเครือ่ งมือในการวิจัย ขั้นตอนนี้ นักวิจัยต้องกาหนดและพิจารณาแล้วว่ามีเครื่องมือใดท่ีจะใช้ในการดาเนินการ วิจัย การพัฒนาเครื่องมือในการวิจัยเพื่อรวบรวมข้อมูล เป็นการดาเนินการพัฒนาเคร่ืองมือท่ีได้ กาหนดไว้เพื่อนาไปรวบรวมข้อมูลตามวัตถุประสงค์หรือตัวแปรที่ต้องการศึกษา การพัฒนาเคร่ืองมอื ทีด่ ตี ้องมกี ารหาคณุ ภาพและทาการพฒั นาจนมัน่ ใจว่าเครอ่ื งมือท่สี รา้ งมีคุณภาพที่ดแี ล้ว ในการดาเนินการวิจัย นักวิจัยต้องตระหนักถึงคุณภาพของงานวิจัย ซึ่งเคร่ืองมือเป็นส่วน หนึง่ ทีจ่ ะทาให้งานวิจัยมีคุณภาพ เพราะหากเครื่องมือขาดคุณภาพหรือวิธีการใชเ้ ครือ่ งมือไม่เหมาะสม ก็ย่อมส่งผลถึงข้อมูลท่ีได้รับก็อาจจะด้อยคุณภาพ ดังน้ันในเร่ืองการพัฒนาเคร่ืองมือในการวิจัยจึงเปน็ เรือ่ งทน่ี กั วิจัยต้องให้ความสาคัญและใสใจในการเลือกใช้และพัฒนาเคร่ืองมือเพ่ือให้มน่ั ใจว่าเคร่ืองมือ มีคุณภาพและเหมาะสมท่ีจะใช้เก็บรวบรวมขอ้ มูล
10 บทที่ 1 มโนทศั นเ์ ก่ียวกับการวจิ ัย ขั้นที่ 6 ขั้นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นข้ันตอนของการนาเคร่ืองมือที่ผ่านการพัฒนาจึงมีคุณภาพแล้ว ไปดาเนินการเก็บรวบรวมข้อเท็จจริงต่าง ๆ ของกลุ่มประชากร หรือกลุ่มกลุ่มตัวอย่างที่กาหนดไว้ การรวบรวมข้อมูลในการวิจัยน้ันผู้วิจัยควรมีการวางแผนท่ีเหมาะสม ใช้เทคนิควิธีในการเก็บรวบรวม ข้อมูลให้เหมาะกับกลุ่มประชากรหรือกลุ่มตัวอย่าง และให้เหมาะกับลักษณะของเครื่องมือท่ีสร้างขึ้น เพ่ือใหไ้ ดข้ ้อเทจ็ จริงหรือข้อมลู ตามท่ีนักวิจัยกาหนดไว้ ขัน้ ที่ 7 ข้ันการวิเคราะหข์ อ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมลู เป็นขนั้ ตอนตอ่ จากการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการนาขอ้ มลู ทรี่ วบรวม ได้ท้ังหมดมาทาการคานวณหรือทาการวิเคราะห์เพื่อตอบปัญหาตามวัตถุประสงค์ในการวิจัย ตามที่ ผู้วิจัยได้กาหนดไว้ การวิเคราะห์ข้อมูลนักวิจัยต้องเลือกใช้สถิติให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ของการวิจัยและลักษณะของข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาด้วย ในการวิเคราะห์ข้อมูลอาจมีการใช้วิธี การวเิ คราะห์ข้อมูลเชิงปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพ โดยใหพ้ ิจารณาจากขอ้ มลู ที่รวบรวมมาให้เหมาะสม ขั้นที่ 8 ขนั้ แปลผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นข้ันตอนท่ีนักวิจัยต้องอ่านค่าสถิติ จับประเด็นที่เป็น สาระสาคัญจากผลการวิเคราะห์มาแปลผล เพื่อตอบปัญหาตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย รวมทั้ง การพิจารณาตรวจสอบว่าผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่กาหนดไว้หรือไม่ ในการแปลผล การวิเคราะห์ข้อมูลนักวิจัยต้องนาเสนอผลท่ีเข้าใจง่ายเพ่ือให้ผู้อ่านวิจัย ได้เข้าใจว่าข้อมูลหรือ ข้อเท็จจริงท่ีไปรวบรวมมานั้นมีสภาพอย่างไร มีความสัมพันธ์ระดับไหน ผลการวิจัยเป็นอย่างไร เป็นต้น ขน้ั ท่ี 9 ขัน้ เขียนสรุปรายงานการวจิ ยั การเขียนสรุปรายงานการวิจัย ในขั้นตอนน้ีนักวิจัยต้องเขียนรายงานวิจัยเพ่ือตอบ วัตถุประสงค์ของการวิจัยให้ครบถ้วน โดยการเขียนสรุปรายงานวิจัยมีเนื้อหาครอบคลุมทุกขั้นตอน ของการวิจัยท่ีได้กล่าวมาโดยเร่มิ ต้นกาหนดปญั หาในการวจิ ัย วิธีดาเนินการวิจัย ผลของการวิเคราะห์ ข้อมูล สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผลการวิจัยที่ได้ และการให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง กับงานวิจัยเรื่องน้ี การเขียนสรุปรายงานการวิจัยนั้นนักวิจัยควรเขียนด้วยภาษาที่ถูกต้อง กระชับ และอ่านเข้าใจงา่ ยด้วย จากขัน้ ตอนการทาวจิ ยั ทไ่ี ด้กลา่ วมาขา้ งตน้ นนั้ ในเอกสารฉบับนจ้ี ะกลา่ วถงึ ในรายละเอยี ด ของแต่ละขน้ั ตอน รวมถึงวธิ กี าร และข้อควรระวังในแตล่ ะข้ันตอนในบทอนื่ ต่อๆ ไป
บทท่ี 1 มโนทศั นเ์ กีย่ วกบั การวจิ ยั 11 ข้อควรระวังในการทาวจิ ยั ในการดาเนินการวิจัยนั้นผวู้ ิจัยควรดาเนินการวิจยั ด้วยความระมัดระวังในทุกข้ันตอนของ การทาวิจัย เพ่ือมิให้เกิดผิดพลาด ความคลาดเคล่ือนท้ังที่ไม่ได้เจตนาหรือเกิดจากความไม่ระมัดระวงั ซง่ึ มีขอ้ ควรระวังในการทาวิจัยดงั น้ี (บญุ ธรรม กิจปรีดาบรสิ ทุ ธิ์, 2549: 28-29) 1. ด่วนสรุปผลเร็วเกินไป การทาวิจัยจะมีข้อมูล เอกสาร หลักฐานท่ีใช้ในประกอบ มากมาย ผู้วิจัยต้องควรระวังว่า ข้อมูล หลักฐานท่ีได้มามีมากเพียงพอแล้วหรือไม่ อย่ารีบด่วนสรุป ผลการวิจัย ท้ังที่ยังมีข้อมูล หลักฐานสนับสนุนไม่มากพอ ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะเช่ือทฤษฎีหรือมีความ ม่ันใจในตนเองมากเกินไป ฉะนั้นก่อนสรุปงานวิจัย ต้องใคร่ครวญ ระมัดระวัง ตรวจสอบข้อมูล และ วิธกี ารทาทกุ ขั้นตอนใหเ้ รียบร้อยและเชอ่ื ถอื ได้ 2. ละเลยผลการวิจัยที่แตกต่าง การสรุปต้องอย่างละเลยผลการวิจัยของผู้อ่ืนที่ต่างไป จากของเรา ต่างไปจากทฤษฎีหรือสมมติฐานท่ีต้ังไว้ ต้องนามาพิจารณาด้วยเสมอก่อนสรุป เพราะ ความถูกต้อง หรือความจริงอาจไม่มีหนึ่งเดียว หรือความจริงแต่ละเรื่องต้องมีสาเหตุ เม่ือมีสาเหตุ หรือสภาพแวดล้อมต่างกัน ความท่ีแตกต่างกันอาจถูกต้องด้วยก็ได้ควรเป็นประเด็นที่ต้องพิจารณา ใหร้ อบด้าน 3. ทบทวนวรรณกรรมน้อย การทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องมักมีปัญหา เสมอ เช่น หาเอกสารไม่พบ ไม่รู้ว่ามีเอกสารท่ีเกี่ยวข้องในเร่ืองนั้นที่ไหนบ้าง การเผยแพร่งานวิจัย แม้จะมีความก้าวหน้าในเทคโนโลยีอย่างมากในปัจจุบัน แต่ก็ยังทาได้ในขีดจากัด ผู้วิจัยจะต้อง พยายามทบทวนจากหลายๆ แหล่ง เพอ่ื ให้ได้ขอ้ มูลมากเพยี งพอทจี่ ะทาให้ลดความผดิ พลาดได้บ้าง 4. ผลงานวิจัยขาดความเที่ยงตรง อาจเน่ืองจากการออกแบบการวิจัยไม่ดี เครื่องมือ เก็บรวบรวมข้อมูลขาดความเท่ียงตรง และความเช่ือมั่น การสุ่มตัวอย่างไม่เป็นตัวแทนที่ดี ของประชากร ในการสรุปผลการวิจัยต้องระมัดระวงั ในเรื่องเหลา่ นเ้ี ป็นพิเศษ 5. ใช้เหตุผลผิด การเขียนรายงานการวิจัยต้องระวังในเรื่องการใช้ภาษา เนื่องจาก ภาษาไทยเป็นคา ไม่เป็นภาษาประโยค การพิมพ์การเว้นวรรคผิด ความหมายอาจผิดไป การวางคา ขยายผิดที่ทาให้ความหมายของผลการวิจัยผิดพลาดไปได้ และส่ิงที่มีความสาคัญอีกสิ่งหนึ่งคือการ อ้างอิงตอ้ งระวังใช้เหตุผลผดิ ๆ มาสนบั สนุน หรือผลการวิจยั ไม่สอดรับหรือไม่เก่ียวข้องมาอ้างอิงจะทา ใหอ้ า้ งเหตผุ ลผิดได้ 6. คัดลอกผิด การเขียนรายงานวิจัยต้องใช้ข้อความ ตัวเลข ท่ีเป็นข้อเท็จจริง ท้ังผลการวิจัยหรือข้อความของผู้อนื่ ทนี่ ามาสนับสนุน จะต้องระมัดระวังในการคัดลอก ต้องตรวจสอบ ความถูกตอ้ ง ควรตรวจสอบดูหลายๆ ครงั้ กอ่ นเผยแพร่
12 บทท่ี 1 มโนทัศน์เก่ียวกบั การวิจัย 7. พิมพ์ผิด การพิมพ์เป็นอีกปัญหาหน่ึงท่ีต้องระมัดระวัง ผู้ทาวิจัยส่วนใหญ่จะเชื่อม่ัน ในการพิมพ์ของผู้พิมพ์ ว่าผู้ที่พิมพ์ให้ตนเองจะตรวจสอบให้ หรือหากพิมพ์เองก็จะรู้สึกว่าตนเองพิมพ์ ไม่ผิด ไม่ตรวจสอบ หรืออาจตรวจสอบแบบไม่รอบคอบ ไม่ละเอียดก็จะเกิดความผิดพลาดได้ โดยเฉพาะคาศพั ท์ภาษาองั กฤษหรือคาท่ีอย่ใู นวงเลบ็ ดังน้ันนกั วิจยั ควรตรวจสอบดูใหร้ อบคอบ จรรยาบรรณนกั วจิ ยั และแนวทางปฏิบตั ิ นักวิจัยควรเป็นผู้ท่ีมีจริยธรรม เป็นแบบอย่างท่ีดี เป็นผู้ที่ทาวิจัยอย่างเต็มความสามารถ ด้วยความเสียสละ ขยัน อดทน ต้องมีความอิสระทางวิชาการ โดยสานักงานคณะกรรมการวิจัย แหง่ ชาติ (2555) ได้กาหนดจรรยาบรรณนักวิจยั และแนวทางปฏิบัติ ดงั น้ี 1. นักวิจัยต้องมีความซื่อสัตย์และเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ผู้ร่วมงานและบุคคล ทวั่ ไป นักวิจัยต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อ่ืน มีความรับผิดชอบ มีใจเปิดกว้าง ทางความคดิ ปราศจากอคติ มีความยตุ ิธรรมและมคี วามประพฤตอิ ันดงี ามสมควรแก่ตาแหน่งหน้าที่ แนวทางปฏบิ ัติ 1.1 นักวจิ ยั ต้องมีความซ่ือสตั ย์ต่อตนเองและผู้อ่นื 1.2 นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบ โดยปฏิบัติตามพันธกรณีหรือข้อตกลงในสัญญา ที่ลงนามไวแ้ ก่แหล่งทุนและหน่วยงานต้นสงั กัด ไมล่ ะทงิ้ หรือยกเลิกการดาเนินการวิจัยโดยไม่มเี หตุผล อันควร และมีความรับผิดชอบต่อผลงานวิจัย โดยคานึงถึงประโยชน์ทางวิชาการ ไม่ใช้ผลงาน ไปในทางทไี่ ม่ถกู ตอ้ ง 1.3 นักวิจัยต้องมีใจเปิดกว้างทางความคิด ยินดีรับฟังข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น คาวิจารณ์เชิงวิชาการจากเพื่อนร่วมงานหรือผู้อ่ืน ด้วยใจที่เป็นกลาง แสดงความคิดเห็น วิจารณ์ ผลงานผอู้ ืน่ ดว้ ยใจบริสทุ ธิ์ ปราศจากอคติ มเี หตุผลตามมาตรฐานทางวิชาการ และไมล่ บหลู่นักวิจัยอน่ื 1.4 นักวิจัยต้องมีความยุติธรรม มีความเป็นธรรมให้การน้าหนักความรับผิดชอบ ในระหว่างผู้ร่วมวิจัยเกี่ยวกับเน้ืองานในการทางานทั้งกระบวนการ โดยมีการตกลงท่ีชอบด้วยเหตุผล และยอมรับในคณะวิจัย มีความโปร่งใสในการแบ่งค่าใช้จา่ ยเพ่ือการวิจยั ระหวา่ งผู้ร่วมวิจัย และไม่นา ส่วนใดส่วนหนึ่งของการวิจัยที่ได้ตกลงและดาเนินงานร่วมกันในคณะวิจัยไปใช้ประโยชน์ในประเด็น ต่างๆ เพม่ิ เตมิ เพ่อื ผลประโยชน์ส่วนตน
บทที่ 1 มโนทัศน์เก่ียวกบั การวจิ ัย 13 1.5 นักวิจัยต้องปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ผู้ร่วมวิจัย โดยประพฤติตนเป็นคนดี มีคุณธรรม สมควรแก่ตาแหน่งหน้าที่ เป็นแบบอย่างที่ดีต่อนักวิจัยอ่ืนๆ ในการคิด ค้นคว้าเพ่ือสร้าง องค์ความรู้ นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทางวิชาการ วิชาชีพ และคงไว้ซ่ึงความถูกต้องและเที่ยงธรรม ไม่ประนีประนอมจนทาให้ผลงานวิจัยด้อยคุณค่า รวมถึงพัฒนาบทบาทของตนให้เกิดประโยชน์ยิ่งข้นึ และส่งเสริมให้ผู้ร่วมวิจัย และนักวิจัยอ่ืนๆ พัฒนาความรู้ ความสามารถในการวิจัยให้มีคุณภาพ เกิดประโยชน์ในการสร้างสรรค์ความรู้ รวมท้ังพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าย่ิงข้ึน กระตุ้นใหผ้ รู้ ว่ มวจิ ัยปฏิบตั แิ ละรกั ษาไว้ซ่ึงจรรยาวิชาชพี นักวิจยั 2. นักวิจัยพึงทาวิจัยอย่างเต็มความสามารถด้วยความเสียสละ ขยัน และ อดทน นักวิจัยต้องทุ่มเททาวิจัยอย่างเต็มกาลังความสามารถด้วยความขยันและอดทน อุทิศ เวลาเพ่ือการวิจัยอย่างต่อเนื่องและเพียงพอ เพ่ือให้งานวิจัยสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ภายในกรอบเวลา ทีก่ าหนด แนวปฏิบตั ิ 2.1 ทุ่มเทความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในศาสตร์ความรู้ท่ีเก่ียวกับเรื่อง ที่ดาเนินการวิจยั เพอ่ื ใหง้ านก้าวหน้า ผลงานเป็นท่ียอมรบั ของประชาคมวิจยั 2.2 อุทิศเวลาเพ่ือการวิจัยอย่างต่อเน่ืองเพียงพอ และด้วยความขยัน อดทน เพ่ือให้ งานวจิ ยั สาเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ภายในกรอบเวลาท่กี าหนด 2.3 มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี ยินดีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สร้างความเข้าใจในงาน กับผู้ร่วมงานและนักวิจัยอื่นๆ เพ่ือสร้างความเข้มแข็งแก่งานวิจัยและสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ให้ผลงานวิจัยเกดิ ประโยชนท์ างวิชาการ วิชาชพี และสงั คมมากยง่ิ ข้ึน 3. นักวิจัยต้องมีอิสระทางวิชาการ โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของ การทาวจิ ยั แนวปฏิบัติ 3.1 มอี สิ ระทางความคิด และเสรภี าพทางวิชาการในการทาวจิ ยั 3.2 ไม่ยอมให้ผลประโยชน์ทางการเงิน และผลประโยชน์ทับซ้อนอ่ืนใด มาทาให้ สญู เสยี เสรภี าพทางวิชาการ 3.3 รายงานข้อค้นพบจากการวิจัยตามความเป็นจริง เสนอแนะด้วยแนวคิด ทีเ่ ปิดเผย ตรงไปตรงมา และปราศจากอคติ
14 บทท่ี 1 มโนทัศน์เกย่ี วกับการวจิ ัย 3.4 ไม่เผยแพร่งานวิจัยโดยขยายผลเกินความเป็นจริง และต้องคานึงถึงผลกระทบ ทจ่ี ะเกิดตามมา 4. นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวจิ ัยไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ พืช สังคม ศิลปวฒั นธรรม ทรพั ยากรธรรมชาติ หรือส่ิงแวดลอ้ ม แนวปฏบิ ัติ 4.1 พึงตระหนักว่าการใช้คนหรือสัตว์เป็นหน่วยทดลองต้องกระทาในกรณีที่ไม่มี ทางเลือกอ่นื เท่าน้ัน 4.2 ดาเนินงานวิจัยด้วยสติปัญญา ความรอบคอบ ระมัดระวังและเปี่ยมด้วย คุณธรรมในการทาวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับคน สัตว์ พืช สังคม ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ หรือ สิ่งแวดลอ้ ม และตอ้ งรับผดิ ชอบต่อผลทีจ่ ะเกดิ แก่สิง่ ท่ศี ึกษา รวมทัง้ ทเี่ กิดแก่ตนเองด้วย 4.3 มีมาตรการในการดูแล จัดเก็บ รักษาส่ิงที่ใช้ในการศึกษาหรือทดลอง และ ป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือโรค แมลง การแพร่กระจายของพืชหรือส่ิงมีชีวิตอ่ืนท่ีถูกดัดแปลง ทางพันธุกรรม มลพิษ และอื่นๆ รวมทั้งมีมาตรการในการกาจัดมลพิษ ของเสียและส่ิงที่อาจเป็น อันตรายใดๆ อันเป็นผลมาจากการศึกษาหรือทดลอง เพ่ือมิให้เกิดอันตรายหรือความเสียหายต่อคน สัตว์ พชื สังคม ศิลปวัฒนธรรม ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สรปุ การวิจัยเป็นกระบวนการในการความรู้ ความจริงของปรากฏการณ์ต่าง ๆ โดยใช้วิธีการ ที่เป็นระบบ ระเบียบ มีหลักฐานและเช่ือถือได้ ซึ่งเป็นศาสตร์ท่ีได้รับการยอมรับโดยทั่วไป ในทุกหน่วยงาน ทุกองค์กรว่าเป็นการค้นหาความรู้ท่ีเป็นระบบ มีเหตุผลด้วยกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งการที่จะดาเนินการทาวิจัยให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง หน่วยงาน สังคม และ ประเทศชาตินั้น นักวิจัยควรมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับวิจัยอย่างแท้จริง เข้าใจถึงคุณลักษณะที่ดี ของการวิจัย การเป็นนักวิจัยท่ีดีต้องมีลักษณะอย่างไร รวมถึงควรเข้าใจถึงขั้นตอนกระบวนการ ของวิจัย เพื่อให้สามารถดาเนินการวิจัยได้อย่างมีคุณภาพและสามารถแก้ไขปัญหาหรือตอบคาถาม วิจัยได้ แต่อย่างไรก็ตามการทาวิจัยที่ดีนั้นนักวิจัยควรตระหนักถึงจรรยาบรรณนักวิจยั ที่ดีด้วย เพราะ นักวิจัยควรต้องเป็นผู้ท่ีมีความรับผิดชอบ ซ่ือสัตย์ มีคุณธรรม จริยธรรม และเคารพในความคิดเห็น ของกลุ่มประชากร กลุ่มตัวอย่างและบุคคลท่ัวไป เพราะงานวิจัยท่ีมีคุณภาพต้องมาจากนักวิจัย ท่ีมีคุณภาพและมีจรรยาบรรณด้วย เพ่ือจะได้ผลิตงานวิจัยที่ดีมีคุณภาพและเกิดประโยชน์ต่อตนเอง และส่วนรวมได้อยา่ งแท้จรงิ
บทท่ี 1 มโนทศั น์เกี่ยวกับการวจิ ยั 15 แบบฝกึ หดั บทที่ 1 1. การแกป้ ญั หาโดยกระบวนวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ มีขั้นตอนอยา่ งไรบา้ งให้อธิบาย 2. คณุ ลกั ษณะทดี่ ีของงานวจิ ัยที่ดคี อื อะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง 3. การทาวจิ ัยมีประโยชน์ต่อตวั ทา่ นอยา่ งไรบา้ ง โปรดใหเ้ หตผุ ลประกอบ 4. ใหบ้ อกลักษณะที่สาคญั ของนักวจิ ัยท่ีดีมา 5 ข้อ 5. หากท่านต้องดาเนนิ การทาวจิ ัยหน่ึงเรือ่ ง อะไรเป็นข้ันตอนแรกของการทาวจิ ยั โปรดให้เหตุผล ประกอบ
16 บทท่ี 1 มโนทศั น์เก่ยี วกบั การวจิ ยั
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: