ส มุ ด ค ว า ม รู้ รายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถม ศึกษาปีที่ ๕ จัดทำโดย นางสาวผกายวรรณ สิกขฤทธิ์
สารบัญ หนา้ เรื่อง ๑ ๒ สาระการอ่าน ๗ ความรู้พืน้ ฐานในการอา่ น ๘ การอ่านออกเสียงคำในภาษาไทย ๑๑ การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว ๑๓ การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง การอา่ นจับใจความ ๑๕ ความหมายโดยนยั ๑๘ สาระการเขยี น ๒๑ การคดั ลายมอื ๒๙ แผนภาพโครงเรอ่ื ง ๓๑ ๓๓ สาระหลกั การใช้ภาษา ๔๐ ชนิดของคำ ประโยคและส่วนประกอบของประโยค ๔๓ ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ิน ๔๕ คำท่ีมาจากภาษาตา่ งประเทศ ๔๗ สำนวน สภุ าษติ คำพังเพย สาระวรรณคดีและวรรณกรรม สังข์ทอง ตอน กำเนิดพระสังข์ กระเชา้ ของนางสดี า วิชาเหมือนสนิ ค้า
ความรพู้ ื้นฐานในการอ่าน การอ่านเป็นเครื่องมือในการศึกษาหาความรู้ และเป็นปัจจัยสำคัญในการคิดแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้ประสบการณ์แก่ผู้อ่าน การอ่านที่มีประสิทธิภาพ ผู้อ่านจำเป็นต้องเข้าใจจุดมุ่งหมาย และความนึกคิด ของผู้เขียน สามารถจับใจความจากเนื้อหาที่อ่าน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ แล้วนำ ความรแู้ ละข้อคดิ ทีไ่ ดร้ ับจากการอ่านไปปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ ประเภทของการอา่ น ๑. อ่านในใจ เป็นการอ่านเพื่อทำความเข้าในในเนื้อหาหรือตัวอักษรจากการเขียนของผู้เขียน ซงึ่ ไม่ไดม้ กี ารเปลง่ เสียงออกมา เป็นเพียงการทำความเข้าใจเฉพาะบคุ คลเท่านนั้ ๒. อ่านออกเสียง เป็นทักษะขั้นสูงกว่าการอ่านในใจ ซึ่งจะต้องเปล่งเสียงออกมาเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจ ความหมายหรือเนื้อหาที่ผู้อ่านกำลังอ่าน ซึ่งอาจจะมีจุดมุ่งหมายในการอ่านที่แตกต่างกัน เช่น อ่านเพื่อ ถา่ ยทอดความรู้ทางวิชาการ การอา่ นประเภทน้ีอาจจะคำนึงเฉพาะความถูกตอ้ งของภาษาในการอ่านออกเสียง โดยไม่จำเป็นจะต้องใช้อารมณ์หรือตีความเนื้อหาเพ่ือถา่ ยทอด ซึ่งจะแตกต่างกบั การอ่านเพ่ือความเพลิดเพลิน หรือการอ่านเพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ เช่น การอ่านนทิ าน อ่านบทประพนั ธ์ เปน็ ต้น ส่งิ เหล่านผ้ี ูอ้ ่านจำเป็นจะต้อง ถา่ ยทอดอารมณ์ของการอ่านเพื่อให้ผู้ฟังเขา้ ในเนื้อหามากยิ่งข้ึน เปน็ ตน้ จดุ มงุ่ หมายของการอา่ น การรู้จุดมุ่งหมายในการอ่าน เป็นองค์ประกอบหนึ่งของทักษะการอ่านเร็ว และการอ่านเพื่อได้ ประโยชนอ์ ย่างเตม็ ท่ี การท่ีผู้อา่ นรูว้ า่ อ่านเพ่ืออะไร จะทำใหส้ ามารถเลือกสื่อการอ่านได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และทำใหก้ ารอา่ นมสี มาธิ การอ่านมีความมุ่งหมายดังน้ี ๑. อ่านเพื่อความรู้ เน้นการอ่านเรื่องราวต่าง ๆ ที่ต้องการให้เกิดความรู้ ซึ่งการอ่านเพื่อความรู้น้ี มหี ลายลกั ษณะ เช่น อ่านเพือ่ หาคำตอบ เช่น อา่ นกฎระเบยี บ คำแนะนำ เปน็ ตน้ อา่ นเพื่อรขู้ า่ วสารและข้อมูล เช่น การอา่ นหนงั สือพมิ พ์ นติ ยสาร เปน็ ตน้ ๒. อ่านเพ่อื ศกึ ษา เปน็ การอ่านอย่างจริงจัง เช่น การอา่ นตำรา และหนังสอื วิชาการต่าง ๆ ๓. อ่านเพื่อความคิด เป็นการอ่านเพื่อให้เข้าใจสาระของเนื้อเรื่องเป็นแนวทางในการริเริ่มสิ่งต่าง ๆ ซึ่งเปน็ ความคดิ อันไดป้ ระโยชนจ์ ากการอ่าน 1 สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย
๔. อา่ นเพื่อวเิ คราะห์วิจารณ์ เปน็ การอ่านเพื่อความรู้อยา่ งลกึ ซึ้ง ทำใหส้ ามารถแสดงความคดิ เห็น จากเรอ่ื งท่ีอา่ นประกอบการใชเ้ หตุผลได้ เชน่ การอ่านบทความ ข่าว เปน็ ต้น ๕. อ่านเพอ่ื ความเพลิดเพลิน เปน็ การอา่ นเพ่อื เปลี่ยนแปลงกจิ กรรม เปน็ การผอ่ นคลาย เพ่ือให้เกิด ความรน่ื รมย์ การอ่านชนดิ นีไ้ มไ่ ด้จำกดั ว่าอ่านเอกสารชนดิ ใด ขึ้นอยู่กบั ความพอใจของผู้อ่านเป็นสำคัญ ๖. อ่านเพื่อใชเ้ วลาอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละเป็นประโยชน์ เป็นการอา่ นทไี่ ม่ได้มงุ่ หวงั สง่ิ หน่งึ ส่ิงใด โดยเฉพาะ เป็นการอ่านเม่ือมีเวลาวา่ งขณะรอคอยกิจกรรมอ่นื ๆ การอ่านชนิดน้สี ามารถหยุดอา่ นได้ทันที โดยไมท่ ำลายความต่อเน่ืองหรือสมาธิในการอ่าน ลักษณะของนักอ่านที่ดี การเป็นนักอ่านที่ดีนั้นย่อมให้ประโยชน์แก่บุคคลนั้นๆอย่างสูงสุด ซึ่งก่อนที่จะเป็นนักอ่านที่ดีได้ ผอู้ า่ นควรมีความร้เู ก่ียวกบั การอา่ นเบ้ืองตน้ ว่าต้องมีความสามารถทางภาษา รคู้ ำ รู้จกั ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ รู้ว่าหนังสือประเภทใดควรใช้การอ่านอย่างไร รู้จักเลือกหนังสืออ่าน และรู้แหล่งของหนังสืออีกด้วย การมคี วามรู้เร่อื งเหลา่ นจี้ ะชว่ ยพัฒนาให้เปน็ นกั อา่ นทด่ี ไี ด้ ซ่งึ สามารถสรุปลกั ษณะของนกั อ่านทด่ี ีไดด้ ังน้ี ๑. มคี วามต้ังใจ หรอื มสี มาธแิ น่วแน่ในการอา่ น ๒. มคี วามอดทน สามารถอ่านหนังสอื ได้ในระยะเวลานานโดยไมเ่ บ่อื ๓. อ่านไดเ้ รว็ และเขา้ ใจความหมายของคำ ๔. มีความรพู้ ้นื ฐานพอสมควร ทง้ั ดา้ นความรทู้ ว่ั ไป ถอ้ ยคำ สำนวนโวหาร ฯลฯ ๕. มีนสิ ยั จดบันทกึ รวบรวมความรู้ความคดิ ทไ่ี ด้จากการอา่ น ๖. มีความจำดี สามารถจดจำข้อมูลของเรอ่ื งได้ ๗. มคี วามรเู้ รอ่ื งการหาขอ้ มลู จากห้องสมุด เพราะจะชว่ ยประหยดั เวลาในการหาข้อมูล ๘. มีวจิ ารณญาณในการอา่ น สามารถแยกเนื้อหาข้อเท็จจริง เพ่ือตัดสินความน่าเชื่อถอื หรอื ประโยชน์ ทจี่ ะไดร้ บั จากการอา่ นได้อย่าเหมาะสม ๙. มมี ารยาทในการอ่าน ทง้ั แบบการอ่านในใจและการอ่านออกเสียง สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย 2
การอา่ นออกเสียงคำในภาษาไทย การอา่ น เปน็ การสื่อสารวิธหี นึง่ ทจี่ าํ เป็นและสําคญั มากในชวี ิตประจาํ วัน ไม่วา่ จะใช้วิธีการอ่านใน ใจเพื่อรับสาร หรือการส่งสารด้วยอ่านออกเสียง เช่น การอ่านข่าว การอ่านประกาศโฆษณา เป็นต้น หาก ผู้อา่ นหรอื ผ้สู ่งสารสามารถ อ่านไดถ้ ูกต้องตามหลักเกณฑ์ของภาษา จะทาํ ให้การอ่านมีประสิทธิภาพ ผู้ฟัง สามารถรบั สารไดช้ ัดเจนถกู ต้องตามเจตนาของผสู้ ง่ สาร ดงั น้นั เราควรศกึ ษา และฝกึ อ่านใหถ้ กู ตอ้ ง ๑. การอ่านออกเสียงคำที่มอี กั ษรนำ อักษรนำ คือ คำที่มีพยัญชนะต้นสองตัวประกอบกันออกเสียงได้ ๒ แบบ คือ ออกเสียงพยางค์เดียว และออกเสยี งสองพยางค์ ดงั นี้ ๑. คำท่ีมอี ักษรนำออกเสียงพยางคเ์ ดียว คือ คำท่ีมี ห นำ และคำทม่ี ี อ นำ ย เม่อื ห นำ อกั ษรเด่ียว หรอื อ นำ ย เวลำอ่ำนจะไมอ่ ำ่ นออกเสียง ตวั ห หรือ อ แตอ่ ่ำนออก เสียงตำมเสยี งวรรณยกุ ตข์ องตวั ห หรอื อ นำ ไดแ้ ก่ ห นำ ง เช่น เหงา หงาย แหงน ห นำ ย เชน่ หยอก หยุด หยิก ห นำ ญ เช่น ใหญ่ หญิง หญ้า ห นำ ร เช่น หรอื หรอก หรหู รา ห นำ น เชน่ หนวด หนาว ไหน ห นำ ล เช่น หลับ เหลา โหล ห นำ ม เชน่ หมาย หมอ หมี ห นำ ว เช่น แหวน หวี หวาย อ นำ ย มี ๔ คำ ไดแ้ ก่ อยา่ อยู่ อักษรเดี่ยว เป็นอักษรต่ำประเภทหน่ึง อยา่ ง อยาก ซึ่งอกั ษรต่ำเดี่ยว มี ๒๔ ตวั แบง่ เปน็ 3 สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๑. อักษรต่ำคู่ คือ อักษรต่ำที่มีอักษรสูงเป็นคู่ ไดแ้ ก่ ค ต ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ฟ ภ ฮ ๒. อักษรต่ำเดี่ยว (อักษรเดี่ยว) คืออักษรที่ไม่มี อักษรสูงเป็นคู่ มี ๑๐ ตัว ได้แก่ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ เทคนคิ การจำอกั ษรต่ำเดี่ยว คือ “งูใหญน่ อนอยู่ ณ รมิ วดั โมฬีโลก”
๒. คำทมี่ ีอกั ษรนำออกเสียงสองพยางค์ คอื คำท่ีมอี ักษรสูงนำอักษรต่ำเดี่ยว และคำที่มีอักษร กลางนำอกั ษรต่ำเดี่ยว พยางค์แรกออกเสียง “อะ” กง่ึ เสยี ง พยางค์ทีส่ องออกเสียงแบบมี ห นำ คำท่มี ีอักษรสูงนำอักษรต่ำเดี่ยว ตัวอยา่ ง ขยับ อ่านว่า ขะ - หยับ เฉลมิ อา่ นวา่ ฉะ - เหลิม ถวาย อ่านวา่ ถะ - หวาย ผวา อ่านว่า ผะ - หวา ฝรั่ง อา่ นวา่ ฝะ - หรั่ง คำที่มีอักษรกลางนำอกั ษรต่ำเดี่ยว ตวั อย่าง จรติ อ่านวา่ จะ - หริด ตวาด อา่ นวา่ ตะ - หวาด ปรอท อา่ นวา่ ปะ- หรอด กนก อ่านว่า กะ - หนก อนาถ อ่านวา่ อะ - หนาด การอ่านออกเสียงคำที่มีอักษรนำ บางคำจะไม่ออก เสียงแบบอักษรนำ เช่น สมัชชา อ่านว่า สะ - มัด – ชา สมาชิก อ่านว่า สะ - มา - ชิก เป็นต้น สาเหตุที่ไม่อ่านออก เสียงแบบักษรนำ เพราะคำเหล่านี้มีเสียงไปพ้องกับคำที่ไม่พึง ประสงค์ เช่น สมาชิก ถ้าอ่านแบบอักษรนำ ต้องอ่านว่า สะ - หมา - ชิก ซ่ึงมเี สียงพ้องกับคำว่า หมา สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย 4
๒. การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ คําควบกล้ำ หมายถึง คําที่มีพยัญชนะท่ีควบหรือกล้ำกับตัว ร ล ว ออกเสียงควบหรือกล้ำเป็นสระ เดยี วกนั คําควบกล้ำ มี ๒ ชนดิ คือ คําควบแท้ และคําควบไม่แท้ ๑) คาํ ควบแท้ ได้แก่ คาํ ท่ีมีอักษรควบท่อี อกเสยี งพยญั ชนะต้น ทัง้ สองตัวพร้อมกัน พยัญชนะต้นควบกบั ร เช่น เพราะ ตรวจ กราบ แปรง ครู ขรึม พยญั ชนะตน้ ควบกบั ล เช่น เผลอ กลอง ขลาด คลอง ปลา เพลง พยัญชนะตน้ ควบกบั ว เช่น กวาด ขวาน ควาย ขวัญ ควนั ขวิด ๒) คาํ ควบไมแ่ ท้ ไดแ้ ก่ คาํ ทม่ี ีพยัญชนะ จ ซ ท ศ ส ควบกบั ตวั ร ประสมสระตวั เดียวกัน เวลาอา่ นไม่ ออกเสยี ง ร แต่ออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหน้าตัวเดยี ว และเมื่อพยัญชนะตวั แรก คอื ท พยัญชนะตัวควบคือ ร ใหเ้ ปลยี่ นเสียงเปน็ ซ เช่น บทท่องจำคำควบไมแ่ ท้ที่พยัญชนะตัว จรงิ อ่านวา่ จิง หนา้ เป็น ท ควบ ร ออกเสียงเป็น ซ สรา้ ง อ่านวา่ สา้ ง ไซร้ อา่ นว่า ไซ้ ทรวดทรงทราบทรามทราย ทรดุ โทรมหมายนกอินทรี เศรา้ อ่านวา่ เสา้ ไทร อ่านวา่ ไซ มัทรีอินทรียม์ ี เทริดนนทรีพุทราเทรา ทรวง อ่านว่า ซวง ทรวงไทรทรัพย์แทรกวัด โทมนัสฉะเชงิ เทรา ตวั ทร เหลา่ น้เี รา ออกสำเนียงเป็นเสียง ซ ข้อสงั เกต อกั ษรควบ “ทร” สามารถอ่านได้ ๒ อยา่ ง คอื ควบแท้ กบั ควบไมแ่ ท้ ควบแท้ เชน่ อนิ ทรา (อิน-ทรา) จนั ทรา (จนั -ทรา) ส่วนควบไม่แทจ้ ะออกเสียงเป็น ซ เช่น ทราย (ซาย) โทรม (โซม) 5 สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย
๓. การอ่านคำท่ีมีตวั การนั ต์ ตัวการันต์ หมายถงึ ตวั อักษรทม่ี ที ณั ฑฆาต ( ์ ) กํากบั อยู่ เวลาอ่านออกเสยี งไมต่ ้องอา่ นตัวการันต์ เช่น ศุกร์ อ่านวา่ สุก แพทย์ อ่านว่า แพด เป็นตน้ ทณั ฑฆาต หมายถงึ เคร่ืองหมาย ( ์ ) ใช้เขียนไว้บนตวั อักษร เพ่อื บังคับไมใ่ ห้ออกเสียงตัวอักษรน้นั ตัวการันต์ จาํ แนกเปน็ ๔ ชนดิ คือ ๑) ตวั การนั ต์ที่เปน็ พยัญชนะตวั เดียว เชน่ สงฆ์ สิงห์ องค์ แพทย์ เป็นต้น ๒) ตัวการนั ตท์ เี่ ปน็ พยญั ชนะสองตัว เช่น เมอื งกาญจน์ วันจนั ทร์ เป็นตน้ ๓) ตัวการันต์ท่เี ปน็ พยัญชนะสามตวั ไดแ้ ก่ พระลักษมณ์ ๔) ตัวการันต์ท่ีเป็นพยญั ชนะและสระเชน่ สวสั ดิ์ พันธุ์ เปน็ ตน้ ตวั อยา่ ง คำที่มตี ัวการันต์ กรรมพนั ธ์ุ ครองราชย์ เสาร์ อารมณ์ ประสบการณ์ ปาฏิหารยิ ์ ศกุ ร์ ภาพยนตร์ เหตุการณ์ รถยนต์ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย 6
การอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ร้อยแก้ว เป็นรูปแบบการเขียนชนิดหนึ่งของภาษาไทย โดยทั่วไปมักใช้ภาษาเรียบง่าย และไม่มี รปู แบบกำหนดตายตัวในการเขยี น มเี พยี งการคำนึงถึงความถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาเท่านั้นโดยสำคัญ จะ มงุ่ เน้นที่จดุ มงุ่ หมายในการเขียนมากกว่าการคำนึงถงึ รปู แบบการเขียน การอ่านออกเสียงรอ้ ยแกว้ ถือว่าเป็นการอ่านออกเสยี งงานเขียนประเภทร้อยแก้วโดยการเปล่งเสียง นั้นจะต้องอ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธีทางภาษาไทย คำนึงถึงวรรคตอนและความหมายของคำเป็นหลักเพ่ือ ปอ้ งกนั ความเข้าใจคลาดเคล่ือนของผู้ฟังและเกดิ ความกำกวมทางภาษาได้ นอกจากนี้ยังใช้น้ำเสียงหรือจังหวะ เหมือนกับการพูดปกติ แต่ในบางกรณีอาจจะใช้การถ่ายทอดอารมณ์ผ่านน้ำเสียงหรือจังหวะในการอ่านเพ่ิม มากข้นึ เพ่ือให้ผ้อู ่านเกดิ อารมณค์ ล้อยตามเร่อื งราวท่ีไดร้ บั ฟงั ได้ หลักการอ่านออกเสยี งบทร้อยแก้ว ๑. ทําความเข้าใจบทอ่าน ความหมายของคํา สํานวน ความคิดสำคัญของเรื่องที่อ่าน แล้วใช้น้ำเสียง ใหไ้ พเราะนา่ ฟงั เนน้ ถอ้ ยคําอย่างถกู ตอ้ งสมั พันธก์ ับเน้ือเรื่อง ๒. อา่ นใหถ้ ูกต้องตามอกั ขรวิธหี รอื อา่ นให้ถกู ตอ้ งตาม ความนยิ ม ผูอ้ า่ นจะทราบหลักเกณฑ์การอ่านได้ โดยการศกึ ษาว่า คําใดอา่ นอย่างไร และใช้พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานชว่ ย ๓. อ่านออกเสยี งพยญั ชนะ สระ ออกเสยี งคําท่ีมี ร ล เป็นพยัญชนะต้นหรือคําควบกล้ำ ๔. อา่ นโดยแบ่งจังหวะ วรรคตอนใหถ้ ูกตอ้ ง ผูอ้ า่ นอาจ ฝกึ ฝนดว้ ยการทาํ เครอ่ื งหมาย / ค่นั ขอ้ ความที่ เว้นวรรค เพราะหาก อา่ นเวน้ วรรคผิด ความหมายก็ผดิ ๕. อ่านให้คลอ่ งแคล่ว ไม่อ่านตะกกุ ตะกัก โดยต้องฝึกอ่าน ข้อคำนงึ ในการอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ๑. เข้าใจสาระสำคญั ของเรื่อง อารมณ์ และวตั ถุประสงค์ของผเู้ ขยี นทต่ี ้องการสื่อถงึ ผู้อ่าน ๒. อ่านคำภาษาไทยให้ถกู ตอ้ งตามอกั ขระวธิ ี ชัดวรรค ชดั ถอ้ ย ชดั คำ ๓. แบง่ วรรคตอนในการอา่ น และอ่านเคร่อื งหมายวรรคตอนใหถ้ กู ตอ้ ง ๔. มสี มาธิในการอา่ น ไมอ่ า่ นผดิ อ่านตก อา่ นเพม่ิ หรอื อา่ นผิดบรรทดั ๕. อ่านด้วยนำ้ เสยี งทีเ่ ปน็ ธรรมชาติ เหมือนเสยี งพดู มลี ลี าและอารมณต์ ามเนอ้ื เร่ืองทีอ่ า่ น ๖. อ่านออกเสียงดังพอประมาณ ไม่ตะโกน หรือเสียงเบาเกินไป ถ้าอ่านออกเสียงผ่านไมโครโฟน ควรยนื ใหส้ ง่างาม ปากห่างจากไมโครโฟนพอเหมาะ เพ่อื มิใหเ้ สียงหายใจเข้าไมโครโฟน ๗. ในระหว่างที่อ่านควรกวาดสายตาตามตัวอักษร สลับกับการเงยหน้าขึ้นสบตาผู้ฟัง อย่างเหมาะสม และเปน็ ธรรมชาติ 7 สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย
การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรอง ร้อยกรอง เป็นงานเขียนรปู แบบหนง่ึ ของไทย โดยอาจจะใชค้ ำเรยี กว่า “บทประพันธ”์ กไ็ ด้ ซึง่ เป็น การเขียนที่มีรปู แบบกำหนดแน่ชัด มีฉนั ทลักษณ์ท่ีแตกตา่ งกนั ออกไปตามแต่ละประเภท มีการคำนึงการใช้คำ และความไพเราะมากกว่างานเขียนประเภทร้อยแก้ว โดยปกติการอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยกรอง สามารถอา่ นได้ ๒ ลักษณะคือ การอ่านทำนองธรรมดา และการอา่ นทำนองเสนาะ การอ่านทำนองธรรมดา เป็นการอ่านโดยใช้เสียงตามปกติ แต่จะต้องคำนึง จังหวะในการแบง่ วรรคตอนการอ่านตามรปู แบบของฉันทลักษณ์เทา่ น้นั โดยไม่ จำเป็นจะต้องใส่อารมณ์หรอื ลีลาในการอ่าน การอ่านทำนองเสนาะ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔ ได้ให้ ความหมายว่า “วิธีการอ่านออกเสียงอย่างไพเราะตามลีลาของบทร้อยกรอง ปรคะำเภททีม่ โีอคักลษงรฉสันูงนทำ์ กอาักพษยร์ตก่ำลเดอี่ยนว” ตัวอย่าง การอา่ นร้อยกรองให้มคี วามไพเราะและได้อรรถรสน้นั ผอู้ ่านตอ้ งออกเสยี งเปน็ ทำนองให้มีเสยี งสงู เสียงกลาง เสียงตำ่ สัน้ ยาว หนกั เบาตามถ้อยคำและจังหวะของคำประพนั ธแ์ ตล่ ะประเภท ต้องใชท้ ง้ั ศาสตร์ และศลิ ป์ เพ่ือสอ่ื ถอ้ ยคำ ทำนองและลีลาอารมณใ์ หไ้ ดส้ ุนทรยี รสอยา่ งแท้จริง หลักการอา่ นออกเสียงบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ ๑. อา่ นให้ถูกจังหวะตามฉันทลกั ษณข์ องคาํ ประพนั เร่ืองราว/แต่ละชนิด ๒. อา่ นให้เอือ้ สัมผัส และคำคลอ้ งจอง เชน่ ขา้ ขอเคารพอภิวาท บรมนาถบพิตรอดศิ ร คำท่พี ิมพ์ตัวหนาอ่านใหเ้ อื้อสัมผสั ดงั นี้ เพือ่ ใหเ้ อื้อสัมผสั กบั คำวา่ เคารพ อภวิ าท อา่ นว่า อบ-พ-ิ วาด เพื่อให้สมั ผสั กบั คำวา่ บพิตร อดิศร อา่ นว่า อะ-ดดิ -สอน สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย 8
๓. การอา่ นเนน้ เสียงสมั ผสั โดยอา่ นทอดเสียงคำทรี่ ับสง่ สมั ผสั ระหวา่ งวรรคใหย้ าวกว่าธรรมดา เช่น หมูบ่ ้านย่านชายคลอง ตะวันส่องสว่างใส นกรอ้ งมาไกลไกล เสียงไกข่ ันทกุ บ้านเรอื น เป็นสขุ ทกุ บ้านช่อง ล้วนพน่ี อ้ งพวกพ้องเพื่อน ใคร ๆ ไม่แชเชือน อีกไม่ช้าช่วยหากิน ตาอนิ กะตานา : เนาวรตั น์ พงษ์ไพบลู ย์ คําที่พมิ พต์ ัวหนาน้ีจะต้องอา่ นออกเสยี งให้ชัดเจน และ ทอดเสยี งใหย้ าวกว่าปกติ ๔. อ่านรวบคําในวรรคทม่ี จี าํ นวนพยางค์เกนิ โดยอ่าน พยางค์หนา้ เรว็ และเนน้ เสยี งท่พี ยางคห์ ลัง ๔. การออกเสยี งคาํ แตล่ ะคําต้องชัดเจน และเนิบนาบกวา่ เสยี งพดู ปกติธรรมดา แตจ่ ะต้องอา่ นให้ พอเหมาะ ไมเ่ นิบนาบหรือ เร็วจนเกินไป และเมอ่ื จะจบ จะตอ้ งทอดเสียงหรือจงั หวะใหช้ ้าลง กาพยย์ านี ๑๑ กาพย์ คือคำประพนั ธช์ นดิ หนึ่งซ่ึงมกี ำหนดคณะ พยางค์ และสมั ผสั มลี ักษณะคลา้ ยกับฉันท์ แต่ไม่ นยิ ม ครุ ลหุ เหมอื นกับฉนั ท์ กาพย์ แปลตามรปู ศัพทว์ ่า เหลา่ กอแห่งกวี หรือ ประกอบด้วย คณุ แหง่ กวี หรือ คำท่ีกวี ได้ร้อยกรอง ไว้ กาพย์มาจากคำวา่ กาวฺย หรอื กาพฺย และคำ กาวฺย หรอื กาพฺย มาจากคำ กวี กวีออกมาจากคำเดิม ใน ภาษาบาลี และสนั สกฤต กวิ แปลวา่ ผูค้ งแกเ่ รียน ผูเ้ ฉลยี วฉลาด ผ้มู ปี ญั ญาเปร่ืองปราด ผปู้ ระพันธ์กาพย์ กลอน และแปลอยา่ งอน่ื ไดอ้ ีก กาพย์ที่นยิ มใช้อยูใ่ นภาษาไทย มี ๕ ชนดิ คอื ๑. กาพย์ยานี ๒. กาพยฉ์ บัง ๓. กาพย์สุรางคนางค์ ๔. กาพยห์ อ่ โคลง ๕. กาพย์ขบั ไมห้ ่อโคลง 9 สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย
ฉันทลักษณ์ของกาพย์ยานี ๑๑ ใน ๑ บาท มี ๒ วรรค วรรคหน้ามี ๕ คำ (คำในที่นี้หมายถึงพยางค์) วรรคหลังมี ๖ คำ รวมเป็น ๑๑ คำ ใน ๑ บท มี ๒ บาท บาทละ ๒ วรรค รวมเป็น ๔ วรรค สัมผัสระหว่างวรรค มีสัมผัส ๒ คู่ คือ คำสุดท้ายของวรรคที่หนึ่ง สัมผัสกับ คำที่สาม (หรือคำที่หนึ่ง) ของวรรคสองคำสุดท้ายของวรรคที่สอง สมั ผสั กับ คำสุดทา้ ยของวรรคท่ีสามสัมผสั ระหว่างบท มี ๑ คู่ คอื คำสุดท้ายของแต่ละบท สัมผัสกับ คำสุดท้าย ของวรรคทสี่ องของบทถัดไป หลักการอา่ นกาพย์ยานี ๑๑ การอ่านกาพย์ยานี ๑๑ มีจังหวะการอ่านวรรคละ ๒ จังหวะ คือ วรรคหน้า ๕ คำ อ่าน ๒/๓ // วรรคหลัง 6 คำ อ่าน ๓/๓ // เชน่ วิชา/เหมอื นสินคา้ // อันมีคา่ /อยเู่ มืองไกล// ต้องยาก/ลำบากไป// จงึ จะได้/สนิ คา้ มา// จงตั้ง/เอากายเจ้า// เปน็ สำเภา/อนั โสภา// ความเพียร/เป็นโยธา// แขนซ้ายขวา/เปน็ เสาใบ// เคร่ืองหมายกำกับจังหวะในการอ่านบทร้อยกรอง สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย 10 เครื่องหมายขดี ทับหนึง่ ขดี ( / ) ใช้ กำกบั จงั หวะหยุดเสียงอ่านภายในวรรค เคร่ืองหมายขดี ทับสองขีด ( // ) ใช้ กำกบั จังหวะหยดุ เสยี งอ่านเม่ือจบวรรคเป็นช่วง ยาวกวา่ จังหวะเสริม
การอ่านจบั ใจความ การอ่านจับใจความสำคัญ หมายถึง การอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของเรื่องหรือของหนังสือแต่ละเล่มที่ เปน็ สว่ นใจความสำคัญและสว่ นขยายใจความสำคญั ของเรอื่ ง ใจความสำคัญ หมายถึง หมายถึง ข้อความที่มีสาระคลุมข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้าหรือเรื่องนั้น ทั้งหมดทำให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจเรื่องได้ง่าย โดยมีข้อความอื่น ๆ เป็นส่วนขยายใจความสำคัญเท่าน้ัน ขอ้ ความหนึง่ หรอื ตอนหน่ึงจะมีใจความสำคัญที่สุดเพียงหน่ึงเดยี วนอกน้ันเปน็ ใจความรอง ส่วนขยายใจความหรอื พลความ หมายถึง ประโยคที่ช่วยขยายเน้ือความของใจความสำคญั เพ่ือให้ ผู้อ่านเกิดความเข้าใจมากข้นึ ซึ่งในแต่ละย่อหน้าอาจมีพลความอย่หู ลาย ๆ ประโยคได้ หลักในการอ่านจบั ใจความสำคญั ใจควา๑ม. ต้ังจดุ ม่งุ หมายในการอา่ นใหช้ ดั เจน ๒. อา่ นเรอ่ื งราวอยา่ งคร่าว ๆ พอเข้าใจและเกบ็ ใจความสำคญั ของแตล่ ะยอ่ หน้า ๓. อาจพิจารณาทีละย่อหน้าหาประโยคใจความสำคัญของแตล่ ะหน้าตัดสว่ นที่เป็นรายละเอียดออกได้ เช่น ตัวอย่าง สำนวน โวหาร อุปมาอุปไมย ตัวเลขสถิติ ตลอดจนคำถามหรือคำพูดของผู้เขียน ซึ่งเป็นส่วน ขยายใจความสำคัญ ๔. ถ้าไม่มีย่อหน้าสำคัญ เมื่ออ่านจบให้ตั้งคำถามหาคำสำคัญด้วยตนเองว่าเรื่องที่อ่านมีใคร ทำอะไร ทีไ่ หนเมื่อไร อย่างไร ๕. นำส่ิงท่ีสรปุ ไดม้ าเรยี บเรยี งใจความสำคญั ใหม่ใหส้ ละสลวยดว้ ยสำนวนของตนเอง การอ่านจับใจความสำคัญของเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่งควรเร่ิมจากการอ่านจับใจความสำคัญในแต่ละยอ่ หนา้ ใหถ้ กู ตอ้ งแมน่ ยำสียก่อน ถ้าเรื่องไหนมีหลายยอ่ หนา้ แสดงวา่ มีหลายใจความสำคญั เม่อื นำประเดน็ สำคัญในแต่ ละยอ่ หน้ามาพิจารณารวมกนั แลว้ จะทำใหจ้ บั แก่นเร่ืองได้งา่ ยข้ึน ใจความสำคัญแต่ละย่อหน้า หมายถึง ข้อความที่มีสาระคลุมข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้านั้นไว้ทั้งหมด เป็นสง่ิ สำคญั ท่ีผ้เู ขียนต้องการสื่อให้ผ้อู ่านรใู้ นยอ่ หนา้ นนั้ ๆ ๑1 สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย
หลักการพิจารณาตำแหนง่ ของใจความในยอ่ หนา้ ๑. ประโยคต้นย่อหน้า เป็นจุดที่พบใจความสำคัญของเรื่องมากที่สุดเพราะส่วนมากผู้เขียนจะบอก ประเดน็ สำคัญแล้วค่อยขยายความ ๒. ประโยคตอนท้ายย่อหน้า เป็นจุดท่ีพบใจความสำคัญรองลงมาจากประโยคต้นย่อหน้าโดยผู้เขียน จะบอกรายละเอยี ดย่อ ๆ มากอ่ นแลว้ สรปุ ใหใ้ นตอนทา้ ย ๓. ประโยคกลางย่อหน้า เป็นจุดท่ีค้นหาใจความสำคัญได้ยากที่สุดเพราะจะต้องเปรียบเทียบสาระที่ สำคัญท่ีสดุ ว่าอย่ทู ่ีประโยคไหน ๔. ไม่ปรากฏชัดเจนที่ใดที่หนึ่งในข้อนี้เราต้องอ่านโดยรวมแล้วสรุปเนื้อหาทั้งหมดเพื่อให้ได้ ใจความสำคัญ ซึ่งอาจต้องใช้วิธีการตั้งคำถามจากเรื่องที่อ่านว่ามีใคร ทำ อะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร เพราะอะไร ตัวอย่างการจบั จความสำคญั ความสมบรู ณข์ องชีวิตมาจากความเข้าใจชีวิตพ้นื ฐานคือเข้าใจธรรมชาตเิ ข้าใจความเป็น มนุษย์และความสัมพนั ธท์ เ่ี กื้อกูลกนั ระหวา่ งมนษุ ยก์ ับมนุษยแ์ ละมนุษย์กับธรรมชาตมิ ีความรกั ความเมตตาต่อเพอ่ื นมนุษย์และธรรมชาติอยา่ งจรงิ ใจ ใจความสำคัญ คือ ความสมบูรณ์ของชีวิตมาจากความเข้าใจชีวิตเป็นพื้นฐาน (ใจความสำคัญอยู่ ตอนตน้ ย่อหน้า) โดยท่วั ไปผักที่ขายตามทอ้ งตลาดส่วนใหญ่เกษตรกรมกั ใช้สารกำจดั ศตั รูพืช หากไมม่ คี วาม รอบคอบในการใช้จะทำให้เกิดสารตกค้างทำให้มีปัญหาต่อสุขภาพจึงควรล้างผักด้วยน้ำหลาย ๆ ครั้งเพราะจะช่วยกำจัดสารตกค้างไปไดบ้ ้าง บางคนอาจแช่ผักโดยใช้น้ำผสมโซเดยี มไบคารบ์ อเนต ก็ไดแ้ ต่อาจทำใหว้ ติ ามนิ ลดลง ใจความสำคัญ คือ เมื่อซื้อผักมารับประทานควรล้างผักด้วยน้ำหลาย ๆ ครั้ง (ใจความสำคัญอยู่ ตอนกลางยอ่ หน้า) สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๑๒
ความหมายโดยนัย ความหมายโดยตรง คือ ความหมายที่ใช้อย่างตรงตัว ตัวอย่างเช่น ดาว มีความหมายโดยตรงว่า สงิ่ ทีเ่ หน็ เปน็ ดวงมีแสงระยิบระยบั ในท้องฟ้าเวลามืด ข้อสงั เกตคำทม่ี ีความหมายโดยตรง ๑. เป็นคำที่มีความหมายเหมือนกัน ตัวอย่าง คำว่า ปลา คำที่มีความหมายเหมือนกัน เช่น มัจฉา มัสยา มัจฉาชาติ เป็นตน้ ๒. เป็นคำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน ตัวอย่าง คำว่า แจ้ง คือ บอก,รู้ ชัด กับประกาศ คือ แจง้ ให้ทราบทวั่ ไป ปา่ วรอ้ ง เป็นต้น ๓. คำท่ีมีความหมายตรงกนั ข้าม ตัวอยา่ ง ใกล้-ไกล, ขาว-ดำ สกุ -ดิบ เป็นตน้ ความหมายโดยนัย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า นัยประหวัด คือ ความหมายของคำที่ไม่ตรงตัว แต่เป็นการแฝงความหมายไว้ภายใต้ตัวอักษรต้องอาศัยการตีความจากผู้รับสารจึงจะเข้าใจความหมายนั้น เช่น“กล้วย” สำหรับความหมายตรงตัว คือ ผลไม้ชนิดหนึ่ง ผลเดียวรูปร่างกลมยาวและโค้งงอ มีหลายผลอยู่ ติดกันเรียกว่าหวี หลายหวีอยู่ในเครือเดียวกัน เมื่อสุกงอมมีผิวเปลือกสีเหลือง เนื้อนิ่ม แต่คำว่า “กล้วย” อาจถูกใช้สื่อความหมายโดยนัย ซึ่งความหมายแฝง หมายถึง เรื่องที่ง่ายดาย เช่น “งานนี้เป็นของกล้วยๆ” หมายถงึ งานนงี้ ่ายมาก ตวั อยา่ งคำท่มี ี การทเี่ ราจะทราบว่าคำนนั้ มคี วามหมาย ความหมายโดยนยั โดยตรงหรือโดยนัย จะต้องดูจาก คำอืน่ ๆ ในประโยคประกอบดว้ ย ดาว : บุคคลที่เดน่ ในทางใดทางหนึ่ง เกา้ อี้ : ตำแหนง่ เพชร : บุคคลทีม่ คี ่า นกขมนิ้ : คนเร่รอ่ น กา : ความตำ่ ต้อย หงส์ : ความสูงส่ง, ผูด้ ี, ผู้มศี ักดิ์ศร ๑๓ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย
การคดั ลายมือ ตัวอักษรไทยมีประวัติความเป็นมาทีย่ าวนานตั้งแต่สมยั กรุงสุโขทัยและ มีการเปลี่ยนแปลงมา เรื่อย ๆ จนเป็นตัวอักษรที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ตัวอักษรไทยเป็นมรดกที่บรรพบุรุษสร้างไว้เพื่อแสดงถึง เอกลกั ษณ์ของชาตไิ ทย การใช้ ตัวอักษรไทยโดยการคดั ลายมือใหส้ วยงามและเขียนใหถ้ ูกต้องตามหลัก จงึ เป็นการช่วยกนั อนุรักษเ์ อกลกั ษณ์ของชาติไทยวิธหี นงึ่ ด้วย ข้อควรปฏิบัตใิ นการคดั ลายมอื ๑. วางทา่ ในการเขียนให้ถูกตอ้ ง จะทาํ ให้เขียนสวย เขียนได้นาน และไม่เสยี สุขภาพ ดังน้ี ๑.๑ การจับดนิ สอ ๑.๑.๑ ใช้นิ้วชี้กับหัวแม่มือ จับดินสอหรือปากกาให้วางอยู่บน นิ้วกลาง ส่วนนิ้วนาง และนวิ้ กอ้ ยงออยู่ ใตน้ ิ้วกลาง ๑.๑.๒ จับดินสอหรือปากกา หลวม ๆ ปลายนิ้วห่างจากปลายดินสอหรือปากกาประมาณ ๙ นว้ิ ๑.๑.๓ ไม่เกรง็ นว้ิ เวลาเขียน ๑.๒ ท่าน่งั ๑.๒.๑ น่ังตวั ตรงหลงั ไมง่ อ หรอื ก้มหนา้ มากเกินไป ๑.๒.๒ ฝ่าเท้าแตะพื้นหรือที่วางเท้า โต๊ะและเก้าอี้ควรมีขนาดเหมาะกับร่างกายของนักเรียน โตะ๊ ควรมขี นาดกว้างพอทจ่ี ะวางมือ และแขนได้ ๑.๓ การวางแขน ๑.๓.๑ วางแขนเกือบแนบลาํ ตัว ให้ข้อศอกหา่ งลําตัว ๖ นว้ิ ๑.๓.๒ ชว่ งแขนต้ังแต่ขอ้ ศอกลงไปควรวางอยบู่ นโตะ๊ และวาง เปน็ มมุ ฉากกบั ขอบกระดาษ ๑.๔ การวางกระดาษ ๑.๔.๑ การวางกระดาษตอ้ งสัมพนั ธ์กบั การนง่ั การจบั ดนิ สอ และการวางมือใหอ้ ยใู่ นท่าสบาย เพ่อื เขยี นได้สะดวกไมเ่ ม่อื ยงา่ ย ซึ่งจะช่วยใหเ้ ขยี นไดส้ วยและเร็ว ๑.๔.๒ ควรวางกระดาษอยู่ตรงหนา้ พอดี ให้กระดาษห่างจาก สายตาประมาณ ๑ ฟตุ ๑.๔.๓ วางกระดาษเอยี งมาทางซ้าย ทํามุมกบั ขอบลา่ งของ โตะ๊ ประมาณ ๓๐-๓๕ องศา ๑๕ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย
๒. เขียนตัวอักษรให้ถูกต้องตามหลักวิธี ตัวอักษรไทยมีหลายรูปแบบ การเขียนตัวอักษรแต่ละรูปแบบ มหี ลกั การเขยี นเหมอื นกัน คอื ๒.๑ อักษรทีม่ หี ัว ต้องเขียนหวั กอ่ น และเขียนให้เห็นหัวชดั ๆ ๒.๓ เขยี นเสน้ ต่อเน่อื งกนั ไมย่ กดินสอ นอกจากยกเพอ่ื เขยี น หางหรอื เชงิ ๒.๓ ฝึกคัดทัง้ ตัวบรรจงเต็มบรรทดั และตวั บรรจงครง่ึ บรรทัด การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ระยะแรกควรตีเส้น แบ่งครึ่งบรรทัด เมื่อชํานาญแล้วจึงเขียนโดยไม่ต้อง ตีเสน้ แบ่ง ประโยชน์ของการคัดลายมอื ๑. สืบสานมรดกไทยไวค้ ชู่ าตสิ ืบไป ๒. ฝกึ สมาธิ และความแนว่ แนข่ องจติ ๓. เป็นพื้นฐานในการประดษิ ฐ์อักษรไทยตอ่ ไป ๔. การคัดลายมอื เกดิ ความประทับใจกว่าการพมิ พ์ในโอกาสสำคญั ต่าง ๆ ๕. บคุ คลทล่ี ายมอื งามเป็นบคุ คลพเิ ศษทีม่ ักจะไดร้ บั ความชื่นชม ๖. มคี วามแมน่ ยำในคำ และข้อความ การจบั ดินสอ ควรจับดนิ สอหรือปากกาตามแบบ ในภาพ โดยไม่ควรเกรง็ มากเกนิ ไป เพราะจะทำให้ เมื่อยมอื ไดง้ า่ ย และทำให้คัดลายมือไดไ้ ม่สวยงาม สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๑๖
แบบอกั ษรทใี่ ช้ฝึกคดั ลายมือ การคัดลายมือมีแบบการคัดตัวอักษรไทยหลายแบบ ที่พัฒนารูปแบบขึ้นมาจากหน่วยงาน ทางการศึกษา จากหน่วยงานทางราชการ หรือจากสำนักพิมพ์ต่าง ๆ ในการคัดลายมือนักเรียนระดับ ประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษาทีส่ งั กดั กระทรวงศึกษาธิการ จะใชฝ้ ึกรปู แบบตวั อกั ษรแบบกระทรวงศึกษาธกิ าร การคดั ลายมอื แบบกระทรวงศกึ ษาธิการน้ี เรียกตามโครงสร้างของตวั อักษรว่า “หัวกลม ตัวมน” ๑๗ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย
แผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพโครงเรื่อง มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น แผนภาพความคิด แผนภาพความหมาย เป็นการแสดงความรู้โดยใช้ภาพ คือ การนําข้อมูลความรู้ ข้อเท็จจริง มาจัดเป็นระบบ สร้างเป็นแผน ความคิด หรอื จดั ความคิดโดยนําหวั ขอ้ เร่อื งใดเร่อื งหนง่ึ มาแยกเป็นหัวขอ้ ย่อย แล้วน้ามาจดั ลําดบั เป็นแผน ข้นั คตวอานมกคาิดรซสึ่งรจ้าะงแสผานมภาราพถพโคัฒรงนเารือ่ทงักษะการอ่าน การเขียน ทําให้ รู้จักรวบรวมความรู้ที่ได้จากการอ่าน เป็นระบบซึ่งจะจดจาํ ไดง้ ่าย และแมน่ ยํายง่ิ ขึน้ ใชจ้ ัดขอบเขตความรู้ ความคิด เพือ่ กาํ หนดทศิ ทางของเร่ือง ๑.ทก่ีจาํะหเขนยี ดนชือ่ทเาํรใอื่ หงง้ าหนรเือขียคนวามมีปคริดะรเวดบน็ ยทอ่ชี ดัด6เจ.นระแดลมะสไดม้คอวงคามดิ คถรงึ บสิง่ถท้วี่เนกสีย่ มวบขรู้อณงก์ บั ช่ือเร่ือง หรือความคิดรวบยอด สาํ คัญนั้นแลว้ ขนั้ ตอนการสร้างแผนภาพโครงเร่ือง ๑. กําหนดชือ่ เร่ือง หรอื ความคิดรวบยอด ๒. ระดมสมองคดิ ถงึ ส่ิงท่เี กย่ี วขอ้ งกับช่อื เร่ือง หรือความคดิ รวบยอดสาํ คัญนน้ั แลว้ จดบนั ทกึ ไว้เป็นคํา หรอื กลมุ่ คําส้นั ๆ ๓. นําคําหรอื กลุ่มคําทจ่ี ดบันทกึ ไวซ้ ่ึงมีความเก่ียวข้องสมั พันธ์กันมาจัดกลุม่ ต้ังชื่อกลุ่มคาํ เปน็ หวั ข้อ ยอ่ ย แลว้ เรียงลาํ ดบั กลุ่มคาํ ตามความสาํ คัญ ๔. เลือกรูปแบบแผนภาพความคดิ ใหเ้ หมาะสมกบั การนําไปใชป้ ระโยชน์และเนื้อหาของเรื่อง รปู แบบแผนภาพโครงเรอื่ ง แผนภาพโครงเรื่องมีหลายแบบ ในท่ีนี้จะขอเสนอรูปแบบที่นยิ มใช้ ๓ แบบ คอื ๑. แผนภาพกิ่ง ๒. แผนภาพการจัดความคดิ ๓. แผนภาพความคดิ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๑๘
ตวั อย่างการเขยี น แผนภาพโครงเร่ือง เรอ่ื ง ลูกแกะกับจระเข้ ลกู แกะตวั หน่ึงกระหายน้ําจัด มันจงึ เดินไปทร่ี ิมฝั่งนํ้าเพ่ือทจ่ี ะดม่ื นํา้ ดับกระหาย แต่เมื่อไป ถงึ ริมฝงั่ แม่น้าํ ไดเ้ ห็นจระเข้ตัวหนึง่ นอนกบดานอยใู่ กล้กบั ริมฝ่งั ลูกแกะจึง ลม้ เลิกความคิดท่ีจะกิน น้ํา มันรีบหันหลังกลับทันที จระเข้จึงร้องถามว่า “อ้าว! เจ้าแกะน้อย เจ้าจะมากินน้ําไม่ใช่หรือ ทําไมรีบด่วนกลับเสียล่ะ ลูกแกะเดินพลาง ตอบพลางไม่เหลยี วหลังว่า ช่างเถอะ การกินน้ําของข้า ไม่สําคัญเท่ากบั การรอกนิ ลูกแกะของท่านดอก” นิทานอีสป ฉบบั สอนเด็ก เรอื่ ง ลูกแกะกับจระเข้ ตัวละคร/ใคร/อะไร : ลกู แกะ, จระเข้ เรอ่ื งเกิดขนึ้ ที่ไหน : ริมฝั่งแม่น้ำแห่งหนึ่ง เหตุการณ์ : ลกู แกะกระหายน้ำแตเ่ มื่อไปถึงแม่น้ำพบจระเข้นอนรอ เหยื่ออยจู่ งึ ยอมอดนำ้ เพื่อรักษา ชีวิตของตนไว้ ผลของการกระทํา : ลกู แกะรอดชีวติ จากการเปน็ อาหารของจระเข้ ขอ้ คดิ คตสิ อนใจ : คนที่มีความฉลาดรอบคอบ ย่อมรจู้ กั พาตนใหพ้ น้ ภัยได้ ๑๙ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย
ชนิดของคำ ชนิดของคำในภาษาไทยมีท้ังหมด ๗ ชนดิ ไดแ้ ก่ คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธาน และคำอุทาน ซึ่งคำแต่ละชนิด กม็ ีหน้าท่ีแตกตา่ งกนั ไป ๑. คำนาม คำนาม คือ คำท่ีใชเ้ รียกชือ่ คน สัตว์ สง่ิ ของ สถานที่ ซง่ึ คำนามแบ่งออกเป็น ๕ ชนดิ ดังน้ี ๑. สามานยาน คือ คำนามที่ใช้เรียกชื่อทั่วไป ไม่ชี้เฉพาะเจาะจง เช่น พ่อ ครู คน นก ทหาร ตำรวจ ประเทศ รัฐบาล ฯลฯ ตัวอยา่ ง นกั เรียนอา่ นหนงั สอื (นักเรียนเป็นคำสามานยนาม) แม่ซอ้ื ผลไม้ในตลาด (แมเ่ รียนเป็นคำสามานยนาม) ๒. วิสามานยนาม คือ นามที่เป็นชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เช่น ประเทศไทย วันจันทร์ จงั หวัดสงขลา ฯลฯ ตวั อย่าง คุณครเู พ็ญศรีสอนวชิ าภาษาไทย (เพ็ญศรี เป็นคำวสิ ามานยนาม) โรงเรียนวเิ ชยี รชมตัง้ อยใู่ นจังหวดั สงขลา (วเิ ชยี รชม เป็นคำวิสามานยนาม) ๓. ลักษณนาม คอื ลักษณะทีใ่ ชบ้ อกของนามหรือกริยา เพ่อื บอกขนาด รูปรา่ ง สณั ฐาน ปริมาณ ฯลฯ เช่น ตัว ด้าม แทง่ หลงั ฯลฯ ตัวอย่าง ฉนั มีแมว ๓ ตวั (ตวั เป็นคำลกั ษณนาม) บา้ นหลงั น้ีทาสสี วยมาก (หลัง เป็นคำลักษณนาม) ๔. สมุหนาม คือ คำนามที่บอกหมวดหมู่ของคำนามทั่วไป และนามเฉพาะเพื่อบอกถึงลักษณะ ทีร่ วมกันเป็นหมู่ เป็นพวก เชน่ ฝูง โขลง กอง กลุม่ คณะ ฯลฯ ตวั อยา่ ง สมหุ นามจะคลา้ ยกบั ลกั ษณนามแต่ กองทหารรักษาการณอ์ ยู่ตลอดเวลา สมุหนาม จะวางอยู่หน้าคำนามท่วั ไป เชน่ ฝงู นกบนิ ออกหาอาหารในตอนเช้า ฝูงนก โขลงชา้ ง ลักษณนาม จะวางอยู่หลังจำนวนนับหรือนาม ทว่ั ไป เชน่ ช้าง ๑ โขลง นก ๑ ฝูง ๒๑ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย
๕. อาการนาม คือ คำนามท่ีบอกกริยาอาการ หรอื ความปรากฏเป็นตา่ ง ซ่งึ มีคำว่า “การ” “ความ” นำหน้า การ ใช้นำหน้าคำกริยา เชน่ การเดิน การวิ่ง การพดู การกนิ การอ่าน ฯลฯ ความ ใชน้ ำหนา้ คำวเิ ศษณ์และคำกริยา เชน่ ความดี ความรัก ความสุข ความคิด ความฝัน ฯลฯ คำว่า “การ” และ “ความ” หากนำหน้านอกจากคำกริยา และคำวิเศษณ์ คำนั้นจะเป็นสามานยนามหรือวิสามานยนาม เช่น การบ้าน การเมือง การไฟฟ้า (คำวา่ การ ในทนี น้ี ำหน้าคำนาม ดงั นั้น จงึ ไม่ใช่อาการนาม) ๒. คำสรรพนาม คำสรรพนาม คือ คำท่ีใชแ้ ทนคำนามทผ่ี ู้พูดหรือผเู้ ขยี นได้กล่าวแลว้ หรอื เป็นท่ีเข้าใจกนั ระหว่างผฟู้ งั และผู้พดู เพอ่ื ไมต่ ้องกลา่ วคำนามซ้ำ คำสรรพนามแบง่ ออกเปน็ ๖ ชนิด ดงั นี้ ๑. บุรษุ สรรพนาม คือ คำสรรพนามท่ีใช้แทนในการพดู จากัน แบง่ เปน็ ๓ ชนิด ดังน้ี ๑.๑ สรรพนามบรุ ุษที่ ๑ แทนตัวผ้พู ูด เช่น ฉัน ผม ข้าพเจ้า ฯลฯ ๑.๒ สรรพนามบรุ ษุ ที่ ๒ แทนตัวผฟู้ ัง เชน่ เธอ คุณ ท่าน ฯลฯ ๑.๓ สรรพนามบรุ ษุ ท่ี ๓ แทนตวั ผทู้ ี่ถูกกลา่ วถึง เช่น เขา มนั หล่อน ฯลฯ ตัวอย่าง ฉันเรยี นทโี่ รงเรยี นวเิ ชียรชม (ฉัน บรุ ษุ ท่ี ๑) เธอเข้าใจบทเรียนนี้ไหม (เธอ บุรุษท่ี ๒) ฉนั จะไปทำรายงานบ้านเพ่ือน เขาชวนฉนั ไว้ (เขา บรุ ษุ ท่ี ๓) สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒๒
๒. ประพันธสรรพนาม คอื คำสรรพนามทใี่ ช้แทนคำนามท่ีอยขู่ ้างหน้า เพ่ือทำหนา้ ทเี่ ชื่อมประโยค ได้แก่คำวา่ ผู้ ท่ี ซงึ่ อนั ตัวอย่าง ฉันชอบคนที่มมี ารยาทดี ศีลอนั พึงปฏบิ ตั ิคือศีลหา้ ๓. วภิ าคสรรพนาม เปน็ คำสรรพนามท่ีใช้แทนคำนามเพื่อแบ่งพวก หรือรวมพวก ได้แก่คำว่า บ้าง ตา่ ง กนั ตัวอย่าง แพะบา้ งกว็ งิ่ บ้างก็กินหญ้า ชาวบ้านตา่ งชว่ ยกันเกบ็ ขยะบริเวณวดั ๔. นิยมสรรพนาม เป็นคำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่แสดงความชี้เฉพาะเจาะจง ได้แก่คำว่า นี่ นั่น โนน่ ตวั อย่าง น่ีคอื โรงเรยี นของฉัน น่ันเขากำลงั เดินมา ๕. อนิยมสรรพนาม เปน็ คำสรรพนามท่ีใช้แทนคำนามท่ีบอกความไม่เจาะจง ไดแ้ กค่ ำว่า ใคร อะไร ไหน อย่างไร อะไร ๆ ผู้ใด ใด ๆ ซง่ึ ไม่ใช่คำถาม ตัวอยา่ ง ผู้ใดไมต่ อ้ งการก็ไม่เป็นไร อะไรก็ไม่สำคัญเทา่ กับการได้พักผ่อน ๖. ปฤจฉาสรรพนาม เป็นคำสรรพนามท่ีใช้แทนคำนามทีม่ ีความหมายเป็นคำถาม ได้แกค่ ำว่า อะไร ใคร อย่างไร ทำไม ผู้ใด ตวั อย่าง ทำไมไม่เขา้ ห้องเรยี น เธอชอบเรยี นอะไรมากท่สี ุด ๒๓ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย
๓. คำกริยา คำกริยา คือ คำที่แสดงอาการหรือการกระทำของนามหรือสรรพนาม เช่น วิ่ง เดิน นั่ง เป็นต้น คำกรยิ าแบง่ ออกเปน็ ๕ ชนดิ ดงั นี้ ๑. อกรรมกรยิ า คอื คำกรยิ าทไ่ี ม่ตอ้ งมีกรรมมารับกไ็ ด้ความสมบูรณ์ ตัวอย่าง เขาเดนิ น้องรอ้ งไห้ นกั กฬี าว่งิ ๒. สกรรมกริยา คือ คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารองรับเพราะคำกริยาชนิดนี้ไม่มคี วามสมบูรณ์ในตนเอง ตัวอยา่ ง เขากนิ แตงโม เธออ่านหนังสอื พยี่ งิ ธนู ๓. วิกตรรถกริยา คือ คำกริยาที่ไม่มีเนื้อความในตัวเองต้องอาศัยเน้ือความของคำข้างท้าย เพื่อให้ได้ ความสมบูรณ์ ได้แกค่ ำว่า เป็น คอื เหมอื น คลา้ ย เทา่ ดุจ ตวั อย่าง ครกู ฤษณาเปน็ ครโู รงเรยี นวเิ ชียรชม แมวคล้ายเสอื ๔. กริยานุเคราะห์ คือ คำกริยาที่ทำหน้าที่ช่วยคำกริยาสำคัญในประโยคให้มีความหมายชัดเจนข้ึน ได้แกค่ ำว่า คง ควร อาจ จะ จง โปรด ให้ กำลัง ตัวอย่าง ผมกำลงั ซกั ผ้า ฝนอาจตกหนกั ๕. กริยาสภาวมาลา คือ คำกริยาที่ทำหน้าที่เป็นคำนาม จะเป็นประธาน กรรม หรือบทขยาย ของประโยคก็ได้ ตัวอย่าง การบริจาคโลหิตเปน็ การทำบญุ อยา่ งหน่งึ นอนหลบั เปน็ การพักผ่อนที่ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒๔
๔. คำวเิ ศษณ์ คำวเิ ศษณ์ คือ คำท่ใี ชข้ ยายคำนาม คำสรรพนาม คำกริยาหรอื คำวิเศษณ์ เพอ่ื ใหไ้ ดค้ วามหมายชัดเจน ยิ่งขน้ึ คำวเิ ศษณแ์ บง่ ออกเปน็ ๑๐ ชนิด ดงั น้ี ๑. ลักษณวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์บอกลักษณะ ชนิด สี ขนาด สัณฐาน รส กลิ่น เสียง ความรู้สึก เช่น ผอม รอ้ น เล็ก ใหญ่ เร็ว ฯลฯ ตวั อย่าง น้องวงิ่ เร็ว บ้านเลก็ ในป่าใหญ่ ๒. กาลวิเศษณ์ คอื คำวเิ ศษณ์บอกเวลาในอดตี ปัจจบุ นั อนาคต เช่น ก่อน เด๋ียวนี้ เชา้ สาย บา่ ย เย็น ฯลฯ ตัวอย่าง พี่ไปโรงเรียนสาย เธอต้องไปหาเขาเดี๋ยวนี้ ๓. สถานวเิ ศษณ์ คือ คำวิเศษณบ์ อกสถานที่ ระยะทาง เชน่ คำวา่ ใกล้ บน เหนือ ซา้ ย หนา้ ฯลฯ ตัวอยา่ ง บา้ นของฉนั อยู่ใกล้มาก น้องนอนขา้ งบน ๔. ประมาณวิเศษณ์ คอื คำวิเศษณบ์ อกจำนวนหรอื ปรมิ าณ เชน่ หนึง่ มาก จุ หลาย ฯลฯ ตวั อย่าง เขากนิ จุ แมเ่ ลี้ยงแมวหลายตวั ๕. นิยมวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่บอกความชี้เฉพาะบอกกำหนดแน่นอน เช่น นี่ โน่น นั่น เหล่าน้ี แนน่ อน ฯลฯ ตวั อย่าง ชายคนน้ันเปน็ คนตา่ งชาติ อาคารนี้ทาสีเทา ๖. อนิยมวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่บอกความไม่ชี้เฉพาะ ไม่แน่นอน เช่น ไหน อะไร ทำไม อย่างไร ฯลฯ (ไมต่ ้องการคำตอบ) ตวั อยา่ ง เมนอู ะไรฉนั กก็ ินได้หมด ฉันจะใส่เส้อื ตัวไหนกไ็ ด้ ๒๕ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย
๗. ปฤจฉาวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่บอกเนื้อความเป็นคำถามหรือความสงสัย เช่น อะไร สิ่งใด อยา่ งไร ฯลฯ (ตอ้ งการคำตอบ) ตัวอย่าง นอ้ งทำอะไร เธอจะทำอย่างไร ๘. ประตชิ ญาวิเศษณ์ คอื คำวเิ ศษณ์ทใ่ี ช้ในการขานรับหรือโต้ตอบกัน เช่น คะ ขา ครับคะ่ จ๋า ฯลฯ ตัวอยา่ ง หนูจ๋ามาหาครูหน่อยซิจ๊ะ คณุ แมข่ าจะไปแล้วหรือคะ ๙. ประติเษธวเิ ศษณ์ คือ คำวเิ ศษณท์ ีบ่ อกความปฏิเสธหรือไม่ยอมรับ เชน่ ไม่ ไมใ่ ช่ ไมไ่ ด้ ฯลฯ ตัวอยา่ ง เขาไมท่ ำการบ้านสง่ ครู ตกุ๊ ตาตวั นี้ไมใ่ ช่ของเธอ ๑๐. ประพันธวิเศษณ์ คือ คำวิเศษณ์ที่ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ เพื่อทำหน้าที่เชื่อมประโยคให้มี ความเกี่ยวข้องกัน เช่นคำว่า ท่ี ซ่งึ อัน อย่างท่ี เพือ่ ว่า ฯลฯ ตวั อยา่ ง เขาฉลาดอย่างท่ีไม่เคยเห็นมาก่อน เขาทำงานหนักเพ่ือว่าเขาจะได้มีเงินมาก ๕. คำบุพบท คำบุพบท คือ คำท่ีเขยี นหรือพูดนำหนา้ คำนาม คำสรรพนามหรอื คำกริยา เพื่อเชื่อมคำหรือขยายคำท่ี อยขู่ า้ งหนา้ คำบุพบทแบ่งออกเป็น ๕ ชนดิ ไดแ้ ก่ ๑. บพุ บทนำหนา้ คำบอกสถานที่ เชน่ คำวา่ ท่ี ใน เหนอื ใกล้ แต่ รมิ ฯลฯ ตวั อยา่ ง เขามาแต่บ้าน น้ำอยู่ในตเู้ ยน็ ๒. คำบุพบทบอกความเปน็ ผู้รับ เช่นคำวา่ แด่ แก่ เพอื่ สำหรับ ฯลฯ ตวั อยา่ ง แมเ่ ก็บเงนิ เพ่ือลูก นี่คือรางวลั สำหรับเด็กดี สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒๖
๓. คำบพุ บทบอกความเกี่ยวข้อง เช่นคำวา่ ดว้ ย โดย กบั ฯลฯ ตวั อยา่ ง เขาระบายสีโดยใช้พกู่ ัน ฉนั เห็นกบั ตาว่าเขาหยบิ ของเธอไป ๔. บพุ บทนำหนา้ คำทเี่ ปน็ เจา้ ของ เช่นคำว่า แหง่ ของ ฯลฯ ตัวอยา่ ง หนงั สอื ของนักเรียน สถานีวทิ ยุกระจายเสยี งแห่งประเทศไทย ๕. บพุ บทนำหนา้ คำบอกเวลา เช่นคำว่า เม่ือ ตง้ั แต่ กระทงั่ จน ฯลฯ ตวั อย่าง เขามาถงึ บ้านเมื่อเช้าน้ี พอ่ ทำงานจนเทยี่ งคืน ๖. คำสันธาน คำสันธาน คือ คำท่ที ำหน้าทเี่ ช่ือมคำกับคำ ประโยคกบั ประโยค ข้อความกับข้อความ ทำให้เกิดความ สละสลวย เชน่ และ หรอื แต่ เพราะ ฯลฯ คำสนั ธานแบ่งเปน็ ๔ ชนดิ ดงั นี้ ๑. คำสันธานเชื่อมใจความที่คล้อยตามกัน เช่นคำว่า กับ, และ, ทั้ง...และ, ทั้ง...ก็, ครั้น...ก็, พอ...ก็ ฯลฯ ตัวอยา่ ง พ่อและแมร่ กั ฉนั มาก พอมาถึงบ้านฝนกต็ ก ๒. คำสนั ธานเชื่อมใจความทขี่ ัดแย้งกนั เช่นคำวา่ แต่, แตท่ ว่า, ถึง...ก,็ กวา่ ...ก็ ฯลฯ ตัวอยา่ ง นอ้ งอ่านหนังสอื แต่พฟี่ งั เพลง ถงึ เขาจะปากร้ายแตเ่ ขากใ็ จดี ๒๗ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย
๓. คำสันธานเชื่อมใจความท่ีใหเ้ ลือกเอาอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง เชน่ คำว่า หรอื , หรอื ไม่ก็, มิฉะนนั้ , ไมเ่ ชน่ นัน้ , ไม่...ก็ ฯลฯ ตวั อยา่ ง เธอจะอ่านหนังสือหรือฟงั เพลง เราต้องขยนั เรยี นมิฉะนัน้ จะสอบตก ๔. คำสนั ธานเช่ือมใจความท่ีเปน็ เหตุเปน็ ผลกนั เชน่ คำวา่ จงึ , เพราะ, เพราะว่า, เพราะ...จึง, ฉะน้ัน...จงึ ฯลฯ ตวั อยา่ ง นักเรียนไมต่ ้ังใจเรียนจึงสอบไมผ่ ่าน เพราะเขาเป็นคนดีจึงไดร้ ับการยกย่อง ๗. คำอุทาน คำอุทาน คือ คำที่เปล่งออกมาโดยไม่คำนึงถึงความหมายแต่เน้นอารมณ์ ความรู้สึกของผู้พูด โดยคำ อทุ าน แบง่ ออกเป็น ๒ ชนดิ ดงั นี้ ๑. คำอุทานบอกอาการ คือ คำที่ใช้แสดงอารมณ์ของผ้พู ูดมักใช้เคร่ืองหมายอศั เจรีย์ (!) หลังคำอุทาน เชน่ โอย๊ อ้าว ว้าย โธ่ เย้ ไชโย คณุ พระช่วย ฯลฯ ตัวอย่าง โอย๊ ! ไชโย! หนูสอบไดท้ ี่ ๑ (คำอุทานบอกอาการดีใจ) วา้ ย! งตู วั ใหญ่ (คำอทุ านบอกอาการตกใจ) โอย๊ ! ปวดขาจังเลย (คำอทุ านบอกอาการเจบ็ ปวด) อนิจจา! เดก็ คนนน้ั นา่ สงสารจงั (คำอุทานบอกอาการสงสาร) ๒. คำอุทานเสริมบท เป็นคำอุทานที่ใช้เสริมบทพูดให้ได้ใจความชัดเจนมากขึ้นแต่ไม่ได้เพ่ิม ความหมาย และไม่ใช้ เครอ่ื งหมายอศั เจรีย์ แบ่งเปน็ ๒ ชนิด ดังน้ี ๒.๑ เพ่อื ใช้เสริมคำอาจจะอยูข่ ้างหน้า ข้างหลังหรอื ตรงกลาง ตัวอย่าง กนิ ขา้ วกนิ ปลา ลืมหลู ืมตา ลกู เตา้ เหลา่ ใคร เขา้ วดั เขา้ วา ๒.๒ อุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคำสร้อยในคำประพันธ์บางชนิด เช่น นา เฮย แลนา เอย ฯลฯ ตวั อยา่ ง - เสียงลือเสียงเล่าอ้างอันใด พี่เอย - รักศักด์ิสงวนสจั ธรรม เทิดเกียรติ พ่อเฮย สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒๘
ประโยคและส่วนประกอบของประโยค พยางค์ คือ เสียงทเ่ี ปล่งออกมาแต่ละคร้ัง จะมีหรอื ไม่มีความหมายก็ได้ เชน่ น้อง เป็น คำ ๑ พยางค์ สนกุ เป็นคำ ๒ พยางค์ เปน็ ต้น คำ คือ เสียงทีเ่ ปลง่ ออกมาแลว้ มีความหมาย เชน่ ไกล ขวา้ งปา เปน็ ตน้ กลุ่มคำหรือวลี คือ คำที่มาเรียงกันต้ังแต่ ๒ คำขึ้นไป และมีความหมาย แต่ยังไม่เป็น ประโยค เพราะยังมใี จความไมส่ มบรู ณ์ เชน่ ชายผูน้ ัน้ เมื่อเชา้ นี้ เปน็ ตน้ ประโยค คือ คำหรือกลุ่มคำตั้งแต่สองคำขึ้นไปมาประกอบกันแล้วได้ใจความสมบูรณ์ ว่า ใคร ทำอะไร ทไ่ี หน อย่างไร เช่น แมวกนิ ปลา คณุ ครไู ปตลาด สว่ นประกอบของประโยค ประโยค = ภาคประธาน + ภาคแสดง ภาคประธาน ภาคแสดง ผู้แสดงอาการ บอกอาการหรอื เหตุการณ์ทเ่ี กิดขนึ้ ประธาน + สว่ นขยายประธาน กรยิ า + สว่ นขยายกริยา + กรรม + สว่ นขยายกรรม *ส่วนขยายจะมีหรือไม่มกี ็ได้ *กรรม และสว่ นขยายจะมหี รอื ไม่มกี ็ได้ ชนดิ ของประโยค ประโยคแบง่ ได้ ๒ ชนิด ตามสว่ นประกอบของประโยค ไดแ้ ก่ ๑.โครงสร้างประโยค ๒ สว่ น คือ ประโยคทปี่ ระกอบดว้ ย บทประธาน และบทกรยิ า ประธาน + กริยา เช่น ฝน + ตก ประธาน + ขยายประธาน + กริยา เช่น คณุ ยาย + ของฉัน + ลื่นล้ม ประธาน+ขยายประธาน+กริยา+ขยายกริยา เชน่ แม่คา้ + ที่ตลาด + คุย + เสยี งดงั ๒๙ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย
๒. โครงสร้างประโยค ๓ สว่ น คอื ประโยคท่ีประกอบดว้ ย บทประธาน บทกริยา และบทกรรม ประธาน+กรยิ า+กรรม เชน่ แมว + กดั + หนู ประธาน+ขยายประธาน+กริยา+กรรม+ขยายกริยา เช่น แมว + สีขาว + กดั + หนู + อย่างแรง ประธาน+ขยายประธาน+กริยา+กรรม+ขยายกรรม+ขยายกริยา เชน่ แมว + สขี าว + กัด + หนู + สีดำ + อย่างแรง ประโยคจะต้องมีทง้ั ภาคประธาน (ใคร) และภาคแสดง (ทำอะไร) ถ้ามีแตภ่ าค ประธาน (นามวลี) = ประโยคไมส่ มบรู ณ์ เชน่ แมวอ้วน, เด็กนักเรียนผชู้ ายคนนนั้ , นกั เรียนทว่ี ง่ิ อยูน่ ้นั , เจ้าสาวแสนสวย, คอมพิวเตอรท์ ตี่ งั้ อยู่บนโต๊ะเครือ่ งนั้น ประโยคที่มีส่วนขยายประธาน ขยายกริยาหรือขยายกรรม สว่ นขยายน้ันมักอยูห่ ลังคำท่ีตอ้ งการขยาย เช่น พี่วิ่งเร็ว (เร็ว ขยาย ว่ิง) แมวตัวอ้วนกินปลา (ตวั อว้ น ขยาย แมว) สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๓๐
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยมาตรฐาน หมายถงึ ภาษาทใี่ ช้เป็นภาษาราชการ ภาษาท่ีใช้ในการเรียนการสอนในโรงเรียน ภาษาทใี่ ช้ในโอกาสท่ีเปน็ ทางการตา่ งๆ และ ภาษาท่สี ือ่ สารมวลชนต่างๆ ใช้ เนื่องจากกรุงเทพฯ เป็นศูนย์กลางของการบริหารประเทศ เราจึงคิดว่าภาษามาตรฐานเป็นภาษา กรุงเทพฯ แต่แท้จริงแล้ว ภาษาในเมืองหลวงนี้ก็มีความหลากหลายตามลักษณะผู้คนที่แตกต่างกันซึ่งมาอยู่ รวมกนั จาํ นวนมาก ภาษาไทยมาตรฐานจึงหมายถงึ ภาษาไทยท่ีใช้ในโอกาสท่ีเป็นทางการ ไม่ใช่ผสู้ อนภาษาของ คนกรุงเทพฯ ลักษณะของภาษาไทยมาตรฐาน มีดงั นี้ ๑. เป็นภาษาเขียน คือ เป็นภาษาทางการ มักใช้ในการพูดหรือเขียน เป็นทางการ เช่น การอ่านข่าว ทางวทิ ยุ หรือโทรทัศน์ การเขียนรายงาน เปน็ ต้น ๒. ออกเสียงพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และคําศัพทต์ ่าง ๆ คล้ายกับภาษาถ่นิ ภาคกลาง ภาษาถน่ิ ภาษาถิ่น คือ ภาษาที่ใช้เฉพาะในท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่มีรูปแบบ เฉพาะตัวทั้งถ้อยคําและสําเนียง เป็นเอกลักษณข์ องแตล่ ะท้องถ่ินภาษาถิน่ ในประเทศไทย แบง่ ตามสภาพทางภูมิศาสตร์ หรือทอ้ งทท่ี ี่ผู้ใช้ ภาษา น้นั ๆ อาศัยอยู่ เป็น ๔ กลุ่มใหญๆ่ ดงั นี้ ๑. ภาษาถิ่นกลาง ได้แก่ ภาษาที่ใช้พูดกันในเมืองหลวงของประเทศไทย และจังหวัดรอบๆ ทาง ภาคกลางของประเทศ เชน่ ภาษา ท่ใี ช้พดู กันในกรงุ เทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี เปน็ ต้น ๒. ภาษาถ่ินเหนือ ได้แก่ ภาษาที่ใช้พูดกันในจังหวัดทางภาคเหนือของประเทศไทย เช่น เชียงใหม่ เชยี งราย ลาํ ปาง ลาํ พนู นา่ น เปน็ ตน้ ๓. ภาษาถิ่นอีสาน ได้แก่ ภาษาที่ใช้พูดกันในจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคอีสาน ของประเทศไทย เช่น ขอนแกน่ อบุ ลราชธานี ศรีสะเกษ สุรนิ ทร์ เปน็ ต้น ๔. ภาษาถิ่นใต้ ได้แก่ ภาษาที่ใช้พูดกันในจังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทย เช่น สงขลา นครศรธี รรมราช พังงา เปน็ ต้น ๓๑ สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย
ประโยชน์ของการศึกษาภาษาถน่ิ ๑. ทำใหท้ ราบวา่ ภาษาท่ีใชส่ ือ่ สารกนั ในประเทศไทยมคี วามหลากหลาย ๒. เข้าใจความหมายของคำภาษาไทยถนิ่ ตา่ ง ๆ ๓. เปน็ การอนรุ กั ษ์ภาษาถิ่นให้คงอยตู่ ลอดไป ตัวอยา่ งภาษาถิ่น ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถ่ินเหนอื ภาษาถน่ิ อีสาน ภาษาถนิ่ ใต้ พดู อู้ เว้า แหลง สบั ปะรด บะขะนัด บกั นัด ยานดั มะก้วยแก๋ว สดี า ชมพู่ ฝรง่ั เบ่ิง แล มอง ผอ่ ข้ีตัว๋ ชฮี้ ก โกหก ขจี้ ุ๊ สนุ หวบิ โกรธ โขด ข้อย ฉาน ข้าพเจา้ เฮา บักหงุ่ ลอกอ มะละกอ บักกว้ ยเตด๊ เมือบา้ น หลบเรนิ กลับบ้าน ปก๊ิ บ้าน แซบ หรอย อรอ่ ย ลำ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๓๒
คำทีม่ าจากภาษาตา่ งประเทศ ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย เพราะสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตใกล้เคียงกัน ทาํ ให้เกิดการติดตอ่ สอ่ื สาร การค้าขาย และการรบั เอาวฒั นธรรมประเพณตี า่ ง ๆ และความคิด ความเชื่อ ทางศาสนา จงึ มกี ารยืมคําในภาษาต่าง ๆ มาใช้มากมาย เช่น ภาษาเขมร จนี ชวา มลายอังกฤษ เปน็ ต้น ๑. คำไทยแท้ หลกั สงั เกตคำไทยแท้ มดี งั นี้ ๑. คำไทยแท้ส่วนมากเป็นคำพยางค์เดียว เรียกว่าเป็น ภาษาโดด เช่น พ่อ แม่ แขน แมว เป็นต้น ส่วนคำไทยแทท้ ีม่ ีหลายพยางค์ เชน่ มะพรา้ ว กระโจน ตะวัน เป็นตน้ ๒. คำไทยแท้เปน็ คำทีม่ ีตัวสะกดเดยี ว มตี ัวสะกดตรงตามมาตรา และไมม่ ตี ัวตาม เชน่ แมก่ ก สะกดด้วยตัว ก เช่น กัก เด็ก ลกู แมก่ ง สะกดดว้ ยตวั ง เช่น เกง่ นั่ง พงิ ๓. คำไทยแท้จะไม่ใช้พยญั ชนะ ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ ยกเวน้ บางคำต่อไปนี้ท่ีเป็นคำไทย ฆา่ ระฆัง ใหญ่ เศร้า ศกึ เฒา่ ณ ธง เปน็ ต้น ๔. คำไทยจะใช้ “ใ” (ไมม้ ้วน) เชน่ สะใภ้ ใช้ ใหม่ ใฝ่ ใจ เป็นต้น ๕. คำไทยจะมรี ูปวรรณยุกต์กำกับ ทำให้ออกเสียงตา่ งกนั มีความหมายต่างกนั เช่น ปา หมายถงึ ซดั ไปด้วยอาการยกแขนขึ้นสูงแลว้ เอยี้ วตวั ป่า หมายถึง ท่ีท่ีมีต้นไม้ตา่ ง ๆ ขนึ้ มา ปา้ หมายถึง พี่สาวของพอ่ หรอื แม่ คำเรยี กหญิงท่ไี มร่ ้จู ักแตม่ ักมีอายุแก่กวา่ พ่อหรือแม่ ๖. คำไทยไมน่ ยิ มใชต้ วั การันต์ และคำควบกลำ้ เช่น เด็ก วิง่ เล่น เปน็ ตน้ ๓๓ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย
๒. คำทีม่ าจากภาษาตา่ งประเทศ สาเหตกุ ารยืมคำภาษาตา่ งประเทศมาใช้ในภาษาไทย ๑. ความสัมพันธ์ทางศาสนา ไทยนับถือพระพุทธศาสนา ทำให้ได้รับภาษาบาลีมาใช้ เพราะคัมภีร์ ต่าง ๆ ในพระพุทธศาสนานิกายหินยานใช้ภาษาบาลีทั้งสิ้น คำบาลีที่ใช้ในไทย เช่น บุปผา บุญ บาป เป็นต้น นอกจากนี้ การทำพิธีศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ของไทย ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์โดยพราหมณ์เป็นผู้ทำพิธี ๒. ความสัมพนั ธท์ างถ่นิ ฐาน การมีอาณาเขตติดตอ่ หรอื ใกล้กับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น เขมร เมอื งไทย ติดตอ่ กบั เขมรจึงรับภาษาเขมรมาใช้ ซงึ่ ส่วนใหญ่เป็นคำราชาศัพท์ เชน่ บรรทม สรง เสวย เป็นต้น ๓. ความสมั พนั ธท์ างการค้า การตดิ ต่อซื้อขายแลกเปลยี่ นสินค้ากบั ตา่ งประเทศ เชน่ - ไทยตดิ ตอ่ ค้าขายกับจีน ได้ภาษาจนี มาใช้ เช่น กว๋ ยเต๋ียว บะหม่ี โตะ๊ - ไทยติดต่อกับญ่ปี ่นุ ไดภ้ าษาญีป่ ุน่ มาใช้ เช่น ซูชิ วาซาบิ กโิ มโน ๔. การศึกษาและวิทยาการด้านต่าง ๆ จากการที่คนไทยเดินทางไปศึกษายังต่างประเทศ ทำให้ได้ใช้ และพูดภาษาอื่น ๆ และรับเอาวิทยาการต่าง ๆ เมื่อสำเร็จการศึกษา จึงนำเอาภาษาของประเทศนั้นมาใช้ ปะปนกับภาษาของตน เช่น ภาษาอังกฤษ ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังเตรียมความพร้อมด้านการศึกษาเพื่อ ก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล โดยการจัดการศึกษาให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม ประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียน และภาษาที่สามารถสื่อสารกันในสากล ดังนั้นการหลั่งไหลของภาษาต่าง ๆ ที่จะเขา้ มาปะปนในภาษาไทยก็จะเพม่ิ มากข้ึน ๕. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี เมื่อชนชาติต่าง ๆ เข้ามาสัมพันธ์ติดต่อกับชนชาติ ไทย หรือเข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ในประเทศไทย ย่อมนำเอาวัฒนธรรมและประเพณีที่เคยยึดถือปฏิบัติอยู่ใน สังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัติในสังคมไทย นาน ๆ เข้าถ้อยคำภาษาที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและ ประเพณเี หล่านน้ั ก็กลายมาเปน็ ถ้อยคำภาษาท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ชีวิตประจำวันของคนไทยมากขึ้น ๘. ความสัมพันธ์ทางการทูต การเจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต ในการอพยพ โยกย้ายหรือในการ ติดต่อทางการทูต ย่อมทำให้ภาษาของเจ้าของถิ่นเดิมหรือผู้อพยพโยกย้ายมาใหม่นำมา ใช้ร่วมกัน เชน่ องั กฤษ ฝรง่ั เศส ๙. อพยพย้ายถิ่นฐาน การอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาเหตหุ ลายประการ เช่น สภาพเศรษฐกิจต้องไป ประกอบอาชพี ยังประเทศต่าง ๆ ภัยสงคราม การเมอื งการปกครอง คำทมี่ าจากภาษาตา่ งประเทศ มดี ังน้ี สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๓๔
คำทม่ี าจากภาษาจีน ไทยกับจีนมีความสัมพันธก์ นั มาแต่โบราณกาล ในสมัยสุโขทัยได้มีการทำสัญญาทางไม่ตรกี นั ระหว่างไทยกับจีน ภาษาไทยและภาษาจีนจัดอยู่ในตระกูลภาษาคำโดด ทั้งสองมีภาษามี เสยี งสงู ๆ ตำ่ ๆเหมอื นเสยี งดนตรี จึงไดช้ ือ่ วา่ เป็นภาษาดนตรี หลักสังเกตคำยืมภาษาจนี ทีใ่ ชใ้ นภาษาไทยมีดงั น้ี ๑. มักเปน็ คำโดดเช่นเดียวกบั ภาษาไทย เชน่ เฮยี มา้ ปา๊ ซ้อ ล้ือ ฯลฯ ๒. มกั มีเสยี งหรอื รปู วรรณยุกต์ ตรี หรอื จัตวา เชน่ ก๋วยเตยี๋ ว ตนุ๋ เฉากว๊ ย ฯลฯ ๓. มกั ใช้อกั ษรกลาง (ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ) เชน่ กงสี เกาลดั กงเตก๊ เกา้ อี้ โตะ๊ ฯลฯ ตัวอย่างคำยืมภาษาจีนท่ีมกั พบในชวี ิตประจำวนั อาหาร กวยจบั๊ เกาเหลา โอเลยี้ ง พะโล้ ก๋วยเตีย๋ ว บะช่อ เต้าเจย้ี ว เต้าฮวย เตา้ ทึง บะหม่ี เกก๊ ฮวย เฉาก๊วย โจก๊ เกย๊ี ว เต้าส่วน หลงจู๊ เส่ีย เถา้ แก่ ตัว้ โผ บคุ คล เจ๊ เฮีย ต๋ี หมวย เจา้ สวั ซอ้ อาโก แป๊ะ อาม้า ซนิ แส ซม้ิ องั้ โล่ ห้าง ลังถึง ย่ีหอ้ แปะเจย๊ี ะ ปุ้งกี๋ ตว๋ั โต๊ะ ส่งิ ของ ตะเกียบ เซียมซี แซ่ กางเกง ตู้ เกา้ อี้ เกง๋ ปา้ ย ห้นุ โป๊ะ ตะหลิว กวางต้งุ บว๊ ย ท้อ โป๊ยเซยี น ก๊ก ตงั โอ๋ หนำเลี้ยบ โบตนั๋ ขน้ึ ฉา่ ย พืช ผัก ผลไม้ คะน้า ไช้เท้า ๓๕ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย
คำทีม่ าจากภาษาเขมร คำท่ีมาจากภาษาเขมร เป็นภาษาคำโดด จัดอยใู่ นตระกูลมอญ-เขมร เขา้ มาส่ปู ระเทศไทยโดย ทางการคา้ และวฒั นธรรม คำสว่ นใหญ่มักพบในวรรณคดี และคำราชาศพั ท์ หลักสงั เกตคำทมี่ าจากภาษาเขมร มีดงั นี้ ๑. เปน็ คำทม่ี ีตวั สะกด ตวั จ ญ ร ล เช่น เข็ญ จำเนียร กังวล ๒. เป็นคำควบกลำ้ และคำที่ใชอ้ กั ษรนำ อักษรควบกล้ำ เชน่ กราน กรม กรวด เขลา โปรด สรง เปน็ ต้น อกั ษรนำ เชน่ ฉนำ โตนด ฉนาก ขยำ ขจี ถวาย เสวย เฉนยี น เสด็จ ขนง เปน็ ตน้ ๓. เปน็ คำแผลง เชน่ ขดาน แผลงเปน็ กระดาน ผสม แผลงเป็น ประสม ๔. มกั ใชเ้ ป็นราชาศพั ท์ในภาษาไทย เช่น เสด็จ ถวาย บรรทม ธำมรงค์ ประทับ เพลา กันแสง สรง ทรงผนวช ประชวร ฯลฯ ๕. คำทขี่ น้ึ ตน้ ดว้ ย บงั บัน บำ บรร มกั จะมาจากภาษาเขมร บัง เช่น บังเอญิ บงั เกิด บงั ควร บังคม บังคบั บงั อาจ บัน เช่น บนั เทงิ บันได บันทึก บนั ดาล บำ เชน่ บำเพญ็ บำราศ บำนาญ บรร เชน่ บรรทม บรรทุก บรรทดั บรรจง บรรจบ บรรจุ ๖. คำสองคำที่ขึ้นตน้ ด้วยคำว่า กำ คำ จำ ชำ ดำ ตำ ทำ มักเป็นคำท่ีแผลงมาจากภาษาเขมร เช่น กำนลั กำเนดิ กำหนด คำนับ คำรบ จำหน่าย จำแนก ชำรดุ ชำนาญ ดำรง ดำเนนิ ดำริ ตำรา ตำรวจ ทำนบ ทำเนยี บ เปน็ ต้น สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๓๖
คำทมี่ าจากภาษาชวา-มลายู การที่คำภาษาชวา-มลายู ปะปนในภาษาไทยนั้น เป็นเพราะไทยกับชวามีความสัมพันธ์อันดี กันมาแต่โบราณ และเมื่อวรรณคดีเรื่องอิเหนา เป็นที่รู้จัก และชื่นชอบกันอย่างแพร่หลาย คนไทยจึงคุน้ เคยและรบั คำภาษาชวาเข้ามาใชใ้ นภาษาไทยมากขึน้ หลักสังเกตคำที่มาจากภาษาชวา-มลายู มีดังน้ี ๑. เปน็ คำ ๒ พยางค์ ตวั อยา่ ง ทุเรียน น้อยหน่า มังคุด สาคู โลมา โนรี ๒. ไม่มเี สยี งควบกลำ้ ไม่มีเสยี งวรรณยกุ ต์ ตัวอย่าง กะปะ กะพง กุเรา องั กะลงุ กุดัง บูดู ๓๗ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย
คำทีม่ าจากภาษาอังกฤษ เรารับภาษาอังกฤษมาใช้ในภาษาไทย เพราะความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีซ่ึงคำภาษาอังกฤษ ท่รี ับมาน้นั บางคำเราก็ออกเสยี งคำนัน้ ๆ ตามภาษาเดมิ หรอื ใกลเ้ คยี งกับภาษาเดมิ ส่วนบางคำเราก็คิด บัญญตั ศิ พั ท์ในภาษาไทยมาใช้แทน ๑. การทับศพั ท์ โดยการถ่ายเสียงและถอดตัวอักษร คำยมื จากภาษาอังกฤษโดยวธิ ีการทับศัพท์มีจำนวนมาก คำบางคำราชบัณฑติ ยสถานได้บัญญตั ิศัพท์เป็นคำไทยแลว้ แต่คนไทยนิยมใช้คำทบั ศัพท์มากกวา่ เพราะเข้าใจ ง่าย ส่อื สารได้ชดั เจน เช่น คำภาษาองั กฤษ คำทบั ศพั ท์ Game เกม Graph กราฟ Cartoon การ์ตูน Clinic คลนิ กิ Quota โควตา Technology เทคโนโลยี Dinosaur ไดโนเสาร์ ๒. การบัญญัติศัพท์ เป็นวิธีการยืมคำ โดยรับเอาเฉพาะความคิดเกี่ยวกับเรื่องนั้นมาแล้วสร้างคำข้ึน ใหม่ ซึ่งมีเสียงแตกต่างไปจากคำเดิม โดยเฉพาะศัพท์ทางวิชาการจะใช้วิธีการนี้มาก ผู้ที่มีหน้าที่บัญญัติศัพท์ ภาษาไทยแทนคำภาษาองั กฤษ คอื ราชบัณฑติ ยสถาน เชน่ คำภาษาอังกฤษ คำทับศพั ท์ airport สนามบิน globalization โลกาภิวฒั น์ telephone โทรศพั ท์ science วิทยาศาสตร์ reform ปฏริ ูป ๓. การแปลศัพท์ วิธีการนี้จะต้องใช้วิธีการคิดแปลเป็นคำภาษาไทยให้มีความหมายตรงกับคำใน ภาษาองั กฤษ แล้วนำคำน้ันมาใช้สอื่ สารในภาษาไทยต่อไป ดังตวั อย่างเชน่ คำภาษาอังกฤษ คำทับศัพท์ blackboard กระดานดำ electricity ไฟฟ้า สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๓๘
คำที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ภาษาบาลี-สันสกฤต คือ ภาษาตระกูลวิภัตติปัจจัย จึงมีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ภาษาบาลีเข้ามา ทางศาสนาพทุ ธ สว่ นภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์ และวรรณคดรี ามายณะ ตารางเปรยี บเทียบภาษาบาล-ี สันสกฤต คำภาษาบาลี คำภาษาสนั สกฤต ๑. สระมี ๘ ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๑. สระมี ๑๔ ตัว เพิ่มจากบาลี ๖ ตัว คือ ฤ ฤา ฦ ฦา ไอ ๒. พยัญชนะมี ๓๓ ตวั เอา ๒. พยัญชนะมี ๓๕ ตวั เพิม่ จากบาลี ๒ ตัว คือ ศ ษ ๓. มีตัวสะกดตวั ตามทแี่ นน่ อน เช่น กญั ญา จกั ขุ ปุจฉา ๓. มีตวั สะกดตวั ตามไม่แน่นอน เชน่ กนั ยา จกั ษุ ปฤจฉา ๔. นยิ มใชพ้ ยญั ชนะตัว ฬ เชน่ กีฬา จฬุ า ครุฬ ๔. นิยมใชพ้ ยัญชนะตวั ฑ เชน่ กรฑี า จฑุ า ครฑุ ๕. นิยมใชค้ ำวา่ “ร”ิ เชน่ ภรยิ า จริยา อัจฉริยะ ๕. นยิ มใชต้ วั “รร” เชน่ ภรรยา จรรยา อัศจรรย์ ๖. นิยมใช้ ณ นำหน้าวรรค ฏะ และ ห เช่น มณฑล ๖. นิยมใช้คำว่า “เคราะห์” เช่น วิเคราะห์ สังเคราะห์ กัณหา อนุเคราะห์ ๗. ภาษาบาลีใช้ “คห” หา้ ม เคราะห์ (ส) ในภาษา ๗. ภาษาสนั สกฤตใช้ เคราะห์ (ครห) เช่น สงเคราะห์ บาลี เพราควบกล้ำ เชน่ คหบดี อนุเคราะห์ พิเคราะห์ วิเคราะห์ ๘. ต้องมตี วั สะกด และตวั ตามเสมอ เช่น กจิ จา กงั ขา ๘. มีตวั สะกดแล้วไมม่ ีตัวตามก็มี หรอื ตัวสะกดตวั ตามไม่ พุทธ รกุ ข์ ฯลฯ แน่นอน เช่น มสั ยา วัสดุ ฯลฯ ๙. นิยมอา่ น เขยี นเรยี งพยางค์ (ไม่ควบกลำ้ ) เช่น อุตุ ๙. นยิ มอ่าน เขียนควบกล้ำ เช่น ประชา ปรัชญา สวามี สามี ปฐม ปัญญา ปชา สถาน ประถม จักร (กระ) หรือควบกล้ำบางตัวในภาษา สนั สกฤตแต่ไทยนำเคร่ืองหมาย ์ กำกบั ไว้ เชน่ ภาพยนตร์ เนตร จันทร์ ๓๙ สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย
สำนวน สุภาษิต คำพงั เพย สำนวน สำนวน หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความทก่ี ลา่ วสบื ต่อกันมาช้านาน มีความหมายไม่ตรงตามตวั หรอื มี ความหมายอนื่ แฝงอยู่ สำนวนจะมกี ารเปรยี บเทียบสิ่งหนง่ึ เหมือนอีกส่งิ หนึ่ง หลักสงั เกต สำนวนจะส้นั กะทดั รดั กระชบั ไดใ้ จความ ความหมายไมต่ รงตามตัว เชน่ กาคาบพริก เงียบเหมอื นเป่าสาก ดมกล่นิ คลุมถุงชน เป็นตน้ สํานวนมลี ักษณะ ดงั นี้ ๑. มกี ารซ้ำคาํ หรือใชค้ าํ ทมี่ ีสมั ผสั คลอ้ งจองกัน เช่น • ขับไล่ไสส่ง มีสมั ผัสสระไอ ระหว่าง ไล่ - ไส • ปากวา่ ตาขยิบ มสี มั ผสั สระอา ระหวา่ ง วา่ - ตา • หามรงุ่ หามค่ำ มกี ารซ้ำคํา คือ หาม • ปากหอยปาก มกี ารซ้ำคาํ คือ ปาก ๒. มกี ารเปรียบเทยี บส่งิ หน่งึ ว่าเหมอื นอกี สิง่ หน่ึงเพอื่ ให้เขา้ ใจง่ายยิ่งขนึ้ น เชน่ • แกม้ แดงเปน็ ลูกตําลึงสกุ เป็นการกลา่ วเปรยี บเทยี บสขี องแกม้ กับสีของลกู ตําลึงสุก • เงียบเหมือนเป่าสาก เป็นการกล่าวเปรียบเทียบถึง ลักษณะความเงียบว่า เงียบมาก ไม่มี เสียงอะไร ๓) มีลักษณะเปน็ คําคมหรือคาํ กลา่ วท่ีใหแ้ ง่คดิ ต่าง ๆ เชน่ • การชนะใจตน ยง่ิ ใหญ่กว่าการชนะทุกสิ่ง • ไมม่ คี ําว่าแกเ่ กนิ ไปสาํ หรับเรียน ตัวอยา่ งสำนวนไทย กาคาบพรกิ หมายถึง ลกั ษณะท่คี นผิวดำใสเ่ สอื้ ผา้ สีแดง หรือสีฉดู ฉาดตัดกับสผี วิ สะดวก, ง่ายดาย ปอกกลว้ ยเข้าปาก หมายถึง คนท่ีมีฐานะตํ่าตอ้ ย พอไดด้ มี กั แสดงกริ ยิ าอวดดลี มื ตวั ได้สงิ่ ทมี่ ีคา่ แตไ่ มร่ ูค้ ุณค่า จึงไมเ่ กดิ ประโยชนแ์ ตอ่ ยา่ งใด คางคกขน้ึ วอ หมายถงึ ไก่ไดพ้ ลอย หมายถงึ สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๔๐
สภุ าษติ สุภาษิต หมายถึง ข้อความหรือถ้อยคําสั้น ๆ กะทัดรัด มักมีความหมายในทางแนะนําสั่งสอน มีคตสิ อนใจ ให้ความจริงเกยี่ วกับ ข้อคดิ และแนวปฏบิ ัติ ซึ่งสามารถพิสจู นแ์ ละเชอื่ ถอื ได้ หลักสังเกต เกี่ยวข้องกับศาสนา เป็นคำสอน ไม่มีการเสยี ดสหี รอื ติชมอยา่ งคำพงั เพย ตวั อย่างสภุ าษติ หมายถึง ทาํ อะไรตอ้ งมีสติ อยา่ ประมาท มกั ใช้คกู่ ับไดห้ น้า เขา้ เถือ่ นอย่าลมื พร้า อย่าลืมหลัง จะคบใครต้องพิจารณาให้ดเี สยี ก่อน คบคนใหด้ ูหนา้ ซอ้ื ผ้าให้ดูเนือ้ หมายถงึ เหน็ สง่ิ ทีไ่ มถ่ กู ต้องว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง เห็นผิดเป็น ชอบ เหน็ กงจกั รเปน็ ดอกบัว หมายถึง คนทำดีเทวดาย่อมคุ้มครอง คนดผี ีคุม้ หมายถงึ คำพงั เพย คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคําที่มีความหมายลึกซึ้งกว่า มีลักษณะติชม หรือแสดงความเห็นอยู่ในตัว แต่ไม่ถงึ กบั เปน็ คาํ สอน ตวั อย่างคำพงั เพย ทำนาบนหลงั คน หมายถึง หาผลประโยชน์ใสต่ นโดยขดู รดี ผู้อนื่ จบั ปลาสองมือ หมายถงึ มุง่ จะเอาให้ไดท้ ั้ง ๒ อย่างพร้อมกัน ในท่ีสุดไม่ได้ สกั อยา่ ง สซี อให้ควายฟงั หมายถงึ การพูดสอนใหผ้ ู้ท่มี คี วามรนู้ อ้ ยได้ฟงั แต่ผู้ฟงั ไม่ใส่ใจท่ีจะฟัง หรือฟังแต่ก็ไม่สามารถทำความ เขา้ ใจได้ ทำให้ผูส้ อนนน้ั เสยี เวลาเปล่า คําพังเพย มีลักษณะคล้ายสุภาษิต แต่ไม่ได้เป็นคติสอนใจ เพียงแต่เป็นคํากล่าวที่มีลักษณะติชม และแสดงความคิดเห็นโดยมากจะมีความหมายซ่อนอยู่ ดังนั้น การใช้คําพังเพยจะต้องมีความหมายให้เข้ากับ สถานการณ์ ๔๑ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย
สงั ขท์ อง ตอน กำเนิดพระสงั ข์ บทละคร เรื่อง สังข์ทอง ตอน กําเนิดพระสังข์ เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั รัชกาลที่ ๒ เป็นเรื่องราวการผจญภัยของ “พระสังข์” หรือ “สังข์ทอง” ตัวละครเอกที่กําเนิดแตกต่างจาก คนทั่วไปต้องซ่อนตัวอยู่ในหอยสังข์ และตอนโตต้องซ่อนตัวอยู่ในรูปเงาะ ในวัยเด็กต้องพลัดพรากจากพระบิดา พระมารดา และบ้านเกิดเมืองนอนไปในที่ต่าง ๆ แต่เพราะเป็นคนดี มีความกตัญญ และกล้าหาญ ในที่สุดก็ได้ กลบั มาพบกับพระบดิ า พระมารดา และมคี วามสุขในทส่ี ดุ เร่อื งย่อ สังขท์ อง ตอนกำเนิดพระสงั ข์ ณ เมืองยศวิมล นางจันทร์เทวี มเหสีของเท้ายศวิมลได้ประสูติพระโอรส เป็นหอยสังข์ พระสนมชื่อ นางจันทา อิจฉาจึงยุยงให้โหรหลวงทำนายว่าพระโอรส ในหอยสังข์จะทำให้บ้านเมืองวิบัติล่มจมท้าวยศวิมลหลงเชื่อ จึงขับไล่นางจันทร์เทวี และพระสังข์ออกจากเมือง นางจันทร์เทวีตอ้ งนั่งเรือเดินทางรอนแรมด้วยความลำบาก ถึง ๑๕ วัน เมื่อพ้นเขตหมู่บ้าน ทหารที่รับสินบนจากนางจันทร์ทาจะฆ่านางจันทร์เทวี แตท่ หารคนอ่ืนระลึกถึงความดีของนางจันทร์เทวีท่มี ีความเมตตาปราณีกับพวกตนเสมอ คัดค้านว่าไม่ควรฆ่า ทหารที่รับสินบนจึงจำใจปล่อยนางจันทร์เทวีและพระสังข์ไป นางจันทร์เทวีพาพระสังข์เร่ร่อนเข้าไปอาศัยอยู่กับตายายในป่า นางจันทร์เทวีต้องทน ลำบากช่วยตายายตักน้ำ ตำข้าว หาฟืน ๕ ปี ต่อมา เทพารักษ์สงสารนางจันทร์เทวีจึง แปลงกายเป็นไก่ป่ามาคุ้นเขี่ยจกิ กินเมล็ดข้าวที่นางจันทร์เทวีตากไว้ พระสังข์สงสารแม่ จงึ ออกจากหอยสงั ข์มาไล่ไก่แลว้ เก็บเมล็ดข้าวให้เรียบร้อย ชว่ ยหุงขา้ วปลา ทำงานบ้าน เสร็จแล้วจึงวิ่งเล่นอยู่ในละแวกนั้น นางจันทร์เทวีกลับมาเห็นเด็กน่าตาน้าเอ็นดูนั่งเล่น บนเรือน พระสังข์หันมาเห็นแม่จึงรีบกลับเข้าไปในหอยสังข์ นางจันทร์เทวีคิดสงสัยจึง ทำท่าทีว่าออกไปออกไปเก็บผลไม้ในป่า แล้วแอบดูอยู่ใกล้ๆ เมื่อพระสังข์ออกมาจาก หอยสังข์ นางจึงแอบเข้าไปในห้องและต่อยหอยสังข์จนแตก พระสังข์ไม่มีหอยสังขท์ ี่จะ เข้าไปหลบซ่อนจึงร้องไห้และต่อว่าแม่ไม่รัก นางจันทร์เทวีปลอบพระสังข์และกอดจูบ อย่างมคี วามสุข เมือ่ นำเรื่องไปบอกตายาย ทกุ คนตา่ งมีความสุข ๔๓ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย
คุณคา่ ของเรอื่ ง สังข์ทอง ตอนกำเนิดพระสังข์ ๑) การใชค้ ําทําใหเ้ ห็นภาพและความเคล่อื นไหวอย่างชัดเจน เชน่ ไก่ป่าพาฝงู มากินข้าว ของพระแม่เจ้าอยู่ฉาวฉาน คุ้ยเขี่ยเรีย่ รายทั้งดนิ ดาน มารดามาเหน็ จะร่ำไร หรอื ดแู ลจดั แจงทุกแหง่ หน หุงขา้ วหาปลาไวท้ า่ แม่ สาละวนเลน่ พลางไม่หา่ งดู ชว่ ยขบั ไกป่ า่ ประสาจนพระ ๒) การใช้คําก่อใหเ้ กดิ ความรูส้ ึกสะเทือนใจ เชน่ เหตุการณ์ตอนพระมารดาทุบหอยสังขจ์ นแตกพระสังขเ์ สียใจ ตัดพอ้ อยา่ งน่าสงสาร ความว่า สวมสอดกอดบาทพระมารดา ซบเกศาพลางทางรอ้ งไห้ แมต่ อ่ ยสงั ข์แตกแหลกไป รำ่ ไรเสยี ดายไมว่ ายคดิ เหมอื นแมฆ่ ่าลูกให้มว้ ยมรณ์ มารดรไมร่ ักแตส่ กั นิด พระแมต่ อ่ ยสังขด์ ังชวี ิต จะชมชดิ ลกู น้สี กั กีว่ ัน การแสดงความรักของแม่ทมี่ ีต่อลูก ไมว่ ่าลกู จะเปน็ อยา่ งไร แมก่ ็รกั ลูกเสมอ เชน่ ไมว่ า่ ลกู นอ้ ยเปน็ หอยปู พระคุณล้ำลบภพไตรอุ้มชชู มชิดพิสมัยจะออกไปใหเ้ หน็ ตวั ก็กลวั การ วรรณศิลป์ หมายถึง ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ ให้เกดิ อารมณ์ สะเทอื นใจ โดยมากมักเนน้ พิจารณาเร่ือง การแสดงออกโดยใช้ถ้อยคำที่มีสำนวนโวหารไพเราะ มีลักษณะเด่นในเชิงการประพันธ์ สามารถถ่ายทอด ความคิดความรสู้ ึกของกวีได้จับใจผู้อ่านและผู้ฟัง ให้เกิด ความรู้สกึ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๔๔
กระเชา้ ของนางสีดา เรอ่ื ง กระเช้าสีดา เปน็ นทิ านท่ีแต่งเป็นร้อยแก้วอธิบายที่มาของต้นไม้ชนิดหนึ่ง คอื “กระเช้าสีดา” ซ่ึงเป็น ผลของไม้เถาชนิดหนึ่ง มีประวัติเกี่ยวข้องกับเรื่องรามเกียรติ์ คือ แต่เดิมเป็นกระเช้าของนางสีดาที่ทำตกไว้ในป่า ระหว่างที่ถูกยักษ์ทศกัณฐ์อุ้มลักพาตัวไปจากพระราม เหล่าเทวดาจึงบันดาลให้รากงอกออกมากลายเป็นไม้เถาสืบ มาจนถึงปจั จุบนั เพื่อเปน็ ทีร่ ะลึกถงึ นางสีดา ” เรื่อง กระเช้าสีดา นํามาจากหนังสือ รวมนิทาน ของ “นาคะประทีป” เป็นนามปากกาของ พระสารประเสรฐิ (ตรี นาคะประทีป) ซ่งึ เป็นนกั ปราชญส์ าํ คญั คนหน่งึ ของไทย กระเชา้ สีดา เปน็ นทิ านเรอ่ื งหนงึ่ กล่าวถงึ พรายนำ้ และพรายไม้ มีอปุ นิสยั ชอบเล่นสนุกสนาน ชอบร้องรำ ทำเพลง และชอบคนดี มจี ติ ใจเมตตา เร่ืองย่อ กระเช้าของนางสดี า พรายไม้กับพรายน้ำเป็นภูตจำพวกหนึ่ง ภูต คือ อมนุษย์ มิใช่คนหรือสัตว์ ไม่มีใครเห็นตัว แต่อาจ สำแดงให้เราเห็นเป็นรูปคนได้ ทั้งให้ดีและให้ร้ายแก่มนุษย์ มีนิสัยชอบสนุก พรายไม้เป็นเพศชาย อยู่ตาม ต้นไม้ในป่า พรายน้ำเปน็ เพศหญงิ และเป็นชาวนำ้ หนูน้อยขันทอง นพกุล เคยได้ยินว่าไม่เคยมีใครเคยเห็นพรายไม้ แต่ถ้าตนเป็นคนดีอาจได้เห็น พรายไม้ จึงปฏิบัติตนตามที่แม่สอน คือ เป็นคนอารตี อ่ เพือ่ น รู้จักเกรงใจผู้อืน่ ไม่หยิบฉวยสิ่งของผูอ้ ื่นกอ่ น ไดร้ บั อนุญาต ประพฤตติ ัวเป็นคนสภุ าพ อยากไดอ้ ะไร เมอื่ เขาใหก้ ไ็ ม่โลภมาก เวลาค่ำเดือนหงายเหล่าพรายไม้มาประชุมกัน พรายน้ำแจกกระเช้าแก่พวกพรายไม้ และเล่นเก็บ ของใส่กระเช้าแข่งกันผู้ชนะจะไดร้ างวลั คือ จับคู่เต้นรำกับนางพรายน้ำเจ้าของกระเช้า เมื่อเลิกงานรื่นเรงิ พวกพรายไม้พากันกลับ เหลือพรายน้ำเดินเก็บกระเช้า ขันทองแลเห็นกระเช้าเล็กๆ เกลื่อนอยู่ รู้สึกแปลก ใจว่ากระเชา้ นมี้ าจากไหน และประหลาดใจท่เี หน็ กระเชา้ ลอยขน้ึ เองทีละใบแล้วลอยไปรวมกองอย่แู ห่งหน่ึง เหมือนคนเก็บขึ้นแตไ่ ม่เหน็ ตวั คน ขันทองจึงชว่ ยเกบ็ กระเช้านำไปรวมทีก่ องจนหมด นึกอยากได้แต่ไม่กลา้ หยิบฉวย นางพรายน้ำชอบใจความอารีและความสุจริตของขันทองจึงบันดาลให้ขันทองแลเห็นพรายน้ำ ขนาดเท่าตุ๊กตา แต่งตัวเหมือนกับขันทองยืนอยู่ตรงหน้า พรายน้ำกล่าวชื่นชมความดีของขันทองแล้วย่ืน กระเช้าใหข้ ันทองหยิบตามความพอใจ แต่ขันทองหยิบมาเพียงใบเดียว ทำให้พรายนำ้ เอ็นดูขันทองมากขนึ้ จงึ หยิบส่งให้จนเต็มสองมือน้อย ๆ ของขันทอง และเชิญชวนใหม้ าในคืนเดือนหงาย จะได้เห็นพวกพรายไม้ มาประชมุ ร่ืนเรงิ ขนั ทองเลา่ เรื่องให้แม่ฟงั แมด่ ีใจท่ีลกู เปน็ คนพิเศษได้เห็นนางพรายน้ำ แมบ่ อกว่า ผลไม้นี้เดิมเป็น กระเช้าของนางสดี า เราเรียกว่า \"กระเชา้ สดี า\" ๔๕ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย
คณุ คา่ ของเรือ่ งกระเชา้ สดี า ๑. ใช้ภาษาร้อยแก้วสละสลวย ผกู ประโยคกระชบั อา่ นแล้ว ได้ใจความ ดงั ตัวอย่าง “พรายไมก้ บั พราย น้ำเป็นภูตจาํ พวกหน่ึง ภูตนั้น คือ อมนษุ ย์ มิใช่คนหรอื สตั ว์ ไมม่ ีใครเหน็ ตวั ” ๒. ใชภ้ าษาบรรยายไดช้ ดั เจนเห็นภาพไมส่ บั สน ดงั ตวั อยา่ ง “เวลาค่ำเดอื นหงาย ถน่ิ ของพรายไม้สว่าง กระจ่างแจ้งพวกพรายไม้ได้มาประชุมกัน ครั้นได้เวลาเล่นสนุกนางพรายน้ำแจกกระเช้าแก่พวกพรายไม้ ตวั ละใบ” ๓. ผู้แต่งนิทานเรื่อง กระเช้าสีดา ได้แฝงแนวคิด ให้ตัวอย่างอันเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติตนได้เปน็ ของผทู้ ่โี อบอ้อมอารี ผทู้ ่ซี ือ่ สตั ยส์ ุจริต เป็นต้น กระเช้าสีดา พรายไม้และพรายน้ำ พรายเป็นแนวคิดที่ได้จากนิทาน ตะวนั ตก สันนษิ ฐานว่า ผปู้ ระพันธ์นําแนวคดิ จากตะวนั ตกมา ประสานกับเรื่องแบบไทย แล้วแต่งขึ้นใหม่ให้เป็น นิทานจําพวกอธิบายที่มาของบางสิ่งบางอย่าง เดอื นหงาย หมายถงึ คนื ทีพ่ ระจันทร์เต็มดวง หรอื ตรงกับวัน ขน้ึ ๑๕ ค่ำ ซึง่ ในวนั นีจ้ ะมคี วามสว่างมากในตอนกลางคืน ซ่ึง คําที่ตรงข้ามกับคืนเดือนหงาย คือ คืนเดือนมืด หรือตรงกับ วันแรม ๑๕ ซึง่ วนั นีจ้ ะมองไมเ่ ห็นดวงจนั ทร์เลย สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๔๖
วิชาเหมือนสินคา้ บทร้อยกรอง วิชาเหมือนสินค้า แต่งด้วยกาพย์ยานี ๑๑ แต่งขึ้นเพื่อสอนเด็กให้มีมานะ พากเพียรศึกษาเล่าเรียนเคยเป็นแบบเรียนภาษาไทยในอดีต การอ่านบทร้อยกรองนั้น ต้องอ่านถูก ทํานอง และจังหวะ ทั้งต้องพิจารณาความหมายของบทร้อยกรอง จึงจะได้ประโยชน์ เข้าถึงความงาม และคุณค่าของบทรอ้ ยกรอง คณุ คา่ ของบทรอ้ ยกรองวชิ าเหมอื นสินค้า ๑. ชี้ให้เห็นความสําคัญของการศึกษาเล่าเรียน หรือ “การ เรียนวิชา” ว่าเป็นเหมือนการแสวงหา สินค้าที่อยู่แดนไกล ต้องยากลําบาก และใช้ความพยายามในการเดินทางไปเพื่อให้ได้สินค้า เปรียบเทียบส่วน ต่าง ๆ ในร่างกายของเราเหมือนกบั ส่วนต่าง ๆ ของเรอื ตวั อย่าง จงตง้ั เอากายเจ้า เปน็ สําเภาอนั โสภา ความเพียรเป็นโยธา แขนซ้ายขวาเป็นเสาใบ ๒. ใช้คําเปรียบเทยี บสิ่งหนึง่ ให้เป็นเหมอื นกบั สิ่งหนึง่ เพือ่ ให้ผู้อา่ นเหน็ ภาพและเข้าใจชัดขึน้ ตวั อยา่ ง สตเิ ป็นหางเสอื ถอื ท้ายเรือไว้ใหเ้ ทย่ี ง ถือไว้อย่าให้เอยี ง ตดั แล่นเลยี้ งข้ามคงคา ปัญญาเปน็ กลอ้ งแกว้ สอ่ งดแู ถวแนวหินผา เจ้าจงเอาหตู า เป็นล้าตา้ ฟังดูลม ขี้เกียจคอื ปลาร้าย จะทาํ ลายใหเ้ รือจม เอาใจเป็นปืนคม ยิงระดมให้จมไป ๓. การเปรียบเทียบที่ให้ข้อคิดในบทร้อยกรองวิชาเหมือนสินค้า เช่น เปรียบชีวิตเป็นเรือ เปรียบสติ เป็นหางเสือ เป็นการเปรียบเทียบที่มีมาช้านานและนิยมกันอย่างแพร่หลาย เพราะสัมพันธ์กับวิถีชีวิตไทย และหลักธรรมคําสอน จึงทําให้เขา้ ใจงา่ ยและนกึ เหน็ ภาพไดท้ นั ที ๔๗ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย บทอาขยานวิชาเหมือนสินค้า ผู้แต่งได้เปรียบเทียบการเรยี น วิชาเหมือนกับการออกไปหาสินค้ามีค่าที่อยู่แดนไกล ต้องใช้ความเพียรพยามอย่างมาก เพื่อจะได้สินค้าเหล้าน้ัน มาและผู้แต่งยังคงเปรียบอีกว่าร่างกายของเราเป็นเหมือน เรือสำเภาลำใหญ่ที่มีส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เหมือน สว่ นประกอบของเรอื และทำให้เรือลำน่ันแลน่ ไปในทอ้ งทะเล อันกวางใหญ่ได้
Search