ตัวอย่างภาษาพูดและภาษาเขยี น ๔๕ สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒
การใชพ้ จนานุกรม พจนานุกรม หมายถึง หนังสือที่รวบรวมคำศัพท์ ในวงศัพท์ที่กำหนดและนิยามความหมาย เอาไว้ เพื่อใช้ค้นหาความหมายของคำ โดยเรียงลำดับตามตัวอักษร ตามเสียง หรือตามลำดับอื่น ๆ หลักการใช้พจนานุกรม คือ การค้นหาความหมาย คำอ่านชนิดของคำ หรือทม่ี าของคำ โดยใช้ พจนานุกรม ซึง่ การคน้ หาคำต่าง ๆ จะเรยี งกันเปน็ ระบบเพื่องา่ ยตอ่ การค้นหา เทคนิคพิเศษการเรยี งลำดบั คำตามพจนานกุ รม 1. เรียงลำดับคำในพจนานุกรมซึ่งเรียงลำดับตามรูปพยัญชนะมาก่อนรูปสระ ตั้งแต่ ก-ฮ ข้อสังเกต จะมตี วั อกั ษรเพ่ิมเตมิ 4 ตัว คือ ฤ ฤๅ จะอย่หู ลัง ร และ ฦ ฦๅ จะอย่หู ลงั ล จะเรียงลำดับได้ดังนี้ ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ 2. คำในพจนานกุ รมจะไม่เรยี งลำดบั ตามเสียงอา่ น แต่จะเรียงลำดบั ตามรปู พยญั ชนะ เชน่ คำวา่ หญิง มากอ่ น คำวา่ หลาย เพราะ ญ มาก่อน ล 3. คำทข่ี ้นึ ต้นดว้ ยพยัญชนะตามดว้ ยพยัญชนะ จะมากอ่ นคำทข่ี นึ้ ตน้ ดว้ ยพยญั ชนะตามดว้ ยสระ เชน่ คำวา่ ของ มาก่อน คำวา่ ขาย 4. คำท่ขี ึ้นต้นดว้ ยพยัญชนะและตามด้วยสระ ซงึ่ รปู สระเรียงลำดบั จะมีเทคนคิ การจำดงั น้ี (ไม่นบั คำวา่ ตบ) จะจับตบผวั ะตาคำวธิ ฝี ึกปรือคณุ ครูเก๋เตะเตาเพราะเขินเฮยี เฮยี ะเออื เอือะแมแ่ กะโยโกะใชไ่ หม 5. เรยี งลำดับตามรูปวรรณยกุ ต์ โดย ไม่มรี ปู วรรณยุกต์จะเรียงลำดบั กอ่ น ดงั นี้ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา 6. ไมไ้ ตค่ ู้ จะมาก่อน วรรณยุกต์ เอก โท ตรี จตั วา เช่น เกง็ เกง่ เกง้ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๔๖
ประโยคเพือ่ การสื่อสาร ประโยค คือ กลุ่มคำที่นำมาเรียงต่อกันอย่างมีระบบ สามารถเข้าใจได้ว่าใคร ทำอะไร แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 6 ประเภท ตามการสอ่ื สาร ไดแ้ ก่ 1. ประโยคบอกเล่า เปน็ ประโยคท่ีใช้บอกเลา่ เรือ่ งราวต่างๆ เช่น - เมอ่ื วานน้ีฉันดูละคร - นกั เรยี นรบั ประทานขา้ ว 2. ประโยคปฏเิ สธ เปน็ ประโยคที่แสดงถงึ การไม่ยอมรบั จะมคี ำวา่ “ไม”่ ในประโยค เชน่ - เราไม่ควรพูดโกหก - ฉันไม่รจู้ ักเขา 3. ประโยคคำถาม มักจะมคี ำว่า ใคร ทำอะไร ทีไหน เมอื่ ไหร่ จะใชป้ ระโยคคำถามเม่ือตอ้ งการ คำตอบ เชน่ -คุณคือใคร - เธอกำลังทำอะไร - เขาต้องการไปทีไ่ หน - เม่ือไหรค่ ุณจะเดนิ ทาง ๔๗ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒
4. ประโยคแสดงความตอ้ งการ แสดงถงึ ความอยากได้ อยากมี อยากเป็น เช่น - เธอตอ้ งการกระเปา๋ สแี ดงใบนัน้ - ฉันอยากเปน็ หมอ 5. ประโยคคำส่งั เป็นประโยคทใี่ หค้ นอืน่ ทำหรอื ไม่ทำสงิ่ ใดสง่ิ หน่งึ มกั จะมีคำว่า จง หา้ ม อยา่ เช่น - จงเขยี นตามคำบอก - ห้ามเดนิ ลัดสนาม - อยา่ เดนิ ลัดสนาม 6. ประโยคขอรอ้ ง แสดงถงึ ความตอ้ งการขอความช่วยเหลอื หรอื ขอความร่วมมือในลกั ษณะ ตา่ งๆ มกั จะมคี ำว่า โปรด กรณุ า ช่วย นำหนา้ ประโยค ดังกลา่ ว เชน่ - โปรดเออ้ื เฟอ้ื ที่นงั่ ต่อคนชรา - กรุณาระมดั ระวังการใชถ้ นน สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ ๔๘
โวหารการเขียน โวหาร หมายถึง วธิ ีการเขยี นเรียบเรยี งขอ้ ความใหส้ อดคลอ้ งกับเนื้อเร่ือง โวหารที่ ใชใ้ นการเขียนเรยี งความ ได้แก่ พรรณนาโวหาร บรรยายโวหาร อปุ มาโวหาร เทศนาโวหาร เทศนา โวหาร สาธกโวหารและอธิบายโวหาร 1. พรรณนาโวหาร หมายถึง การเรียบเรียงข้อความโดยให้รายละเอียดเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของ ธรรมชาติ สภาพแวดลอ้ ม ตลอดจนความรู้สึกตา่ งๆของผูเ้ ขียน โดยเน้น ให้ผู้อา่ นเกดิ อารมณ์ความรสู้ กึ ร่วมกบั ผู้เขียน ตวั อยา่ ง “สมใจเปน็ สาวงามทม่ี ลี าแขนขาวผ่องท้งั กลมเรยี วและออ่ นหยัด ผวิ ขาวละเอียดเชน่ เดยี วกับแขน ประกอบด้วยหลงั มืออวบนนู น้ิวเล็กเรียว หลังเล็บมสี ี ดังกลบี ดอกบัวแรกแย้ม” 2. บรรยายโวหาร หมายถึง การเขยี นอธบิ ายหรอื บรรยายเหตุการณท์ ่ีเป็นข้อเทจ็ จริงตามล าดับเหตุการณ์ เป็นการเขยี นตรงไปตรงมา ไมเ่ ย่ินเยอ้ มงุ่ ความชดั เจนเพอื่ ใหผ้ อู้ ่านได้รับความรู้ ความเข้าใจ เชน่ การเขียน เล่าเรอ่ื ง เลา่ เหตกุ ารณ์ การเขียนรายงาน เขยี นตำราและเขยี นบทความ ตัวอย่าง “ช้างยกขาหน้าให้ควาญเหยียบขึ้นนั่งบนคอ ตัวมันสูงใหญ่ ใบหูไหวพะเยิบ หญิงบนเรือนลงบันได มาขา้ งล่าง เธอชแู ขนยื่นผ้าขาวม้าและข้าวหอ่ ใบตองขึ้นมาใหเ้ ขา” ๔๙ สมุดความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒
3. อุปมาโวหาร หมายถึง การเขียนเป็นสำนวนเปรียบเทียบที่มีความคล้ายคลึงกันเพื่อทำให้ผู้อ่านเกิด ความเข้าใจลึกซึ้งยิ่งขึ้น โดยการเปรียบเทียบสิ่งของที่เหมือนกันเปรียบเทียบโดยโยงความคิดไปสู่อีกสิ่ง หน่ึง หรอื เปรยี บเทียบข้อความตรงกนั ขา้ มหรอื ขอ้ ความท่ขี ดั แยง้ กนั ตัวอย่าง “ อันว่าแก้วกระจกรวมอยู่กับสุวรรณ ย่อมได้แสงจับเปน็ เลื่อมพรายคล้ายมรกต ผู้ที่โง่เขลาแม้ได้ อยู่ใกลน้ ักปราชญ์ ก็อาจเป็นคนเฉลยี วฉลาดได้ฉนั เดียวกัน” 4. เทศนาโวหาร หมายถึง การเขียนอธิบาย ชี้แจงให้ผู้อ่านเข้าใจ ชี้ให้เห็นประโยชน์หรือโทษของเรื่องท่ี กล่าวถึง เป็นการชักจูงให้ผู้อื่นคล้อยตาม เห็นด้วยหรือเพื่อแนะน าสั่งสอนปลุกใจหรือเพื่อให้ข้อคิดคติ เตือนใจผู้อา่ น ตัวอยา่ ง “ การทำความดนี น้ั เม่อื ท าแลว้ กแ็ ลว้ กัน อยา่ ได้น ามาคิดถึงบอ่ ย ราวกบั วา่ การท าความดนี ้นั ชา่ งย่ิงใหญ่นัก ใครก็ท าไม่ไดเ้ หมือนเรา ถ้าคดิ เชน่ นนั้ ความดี นน้ั กจ็ ะเหลอื เพยี งครง่ึ เดยี วแตถ่ า้ ท าแลว้ กไ็ ม่นา่ น ามาใสอ่ กี คดิ แตจ่ ะท าอะไรตอ่ ไปอกี จงึ จะดี จึงจะเป็นความดีทีสมบรู ณ์ ไม่ตกไม่หล่น” 5. สาธกโวหาร หมายถึง การหยิบตัวอย่างมาอ้างอิงประกอบการอธิบายเพื่อสนับสนุนข้อความที่เขียนไว้ ใหผ้ ้อู า่ นเขา้ ใจ และเกดิ ความเช่อื ถอื ตัวอย่าง “ อำนาจความสัตย์เป็นอ านาจอันศักดิ์สิทธิ์ ไม่เพียงแต่จับหัวใจคนแม้แต่สัตว์ก็ยังมีความรู้สึกใน ความสัตย์ซื่อ เมื่อกวนอูตายแล้ว ม้าของกวนอูก็ไม่ยอมกินหญ้ากินน้ำและตายตามเจ้าของไปในไม่ช้า ไม่ ยอมใหห้ ลังของมันสัมผสั กบั ผอู้ ่ืนนอกจากนายของมนั ” สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ ๕๐
สาระวรรณคดี และวรรณกรรม
นิทานพืน้ บ้าน นิทาน หมายถึง เรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมาจากปากต่อปากจนเป็นมรดกทางวัฒนธรรมเรื่องที่เล่าในแต่ ละทอ้ งถิ่นรยี กวา่ นทิ านพ้นื บ้าน หรอื นทิ านชาวบา้ น ลกั ษณะของนทิ านพื้นบ้าน ๑. เป็นเรอ่ื งเล่าด้วยถ้อยคำธรรมดามีลกั ษณะเปน็ รอ้ ยแก้ว ๒. เลา่ กันดว้ ยปากสบื ตอ่ กันมาไม่มกี ารบนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร ๓. ไม่ปรากฏว่าผู้เล่าด้ังเดมิ เปน็ ใคร 4. ใชภ้ าษาท่เี ขา้ ใจง่าย 5. โครงเรอื่ งไม่ซบั ซ้อนตรงไปตรงมา 6. แสดงความคดิ และความเชอื่ ของคนในทอ้ งถ่นิ ประเภทของนิทานพ้นื บา้ น 1. นิทานเทวปกรณ์(เทพนิยาย) หรือตำนานปรัมปรา เรื่องเล่าที่อธิบายความเป็นมาของ โลก จักรวาล มนุษย์ สัตว์ พืช หรือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เช่น พญาคันคาก พระยา แถนสรา้ งโลก 2. นิทานมหัศจรรย์ มีอภินิหาร ปาฏิหาริย์ นางฟ้า เทวดา และของวิเศษมาเกี่ยวข้อง เช่น ปลาบู่ทอง โสนน้อยเรือนงาม 3. นิทานชีวิต เป็นเรื่องยาว มีหลายตอน ส่วนใหญ่มักจะเกี่ยวกับการใช้ชีวิต การเอาชนะ อุปสรรคของคนท่วั ไป และมีความสมจริง เช่น ขนุ ช้างขุนแผน 4. นิทานประจำถิน่ เปน็ นิทานหรอื ตำนานอธบิ ายความเปน็ มาของส่ิงทีอ่ ยู่ในท้องถิ่น ทัง้ ท่ีมี อย่ใู นธรรมชาติและส่ิงทีม่ นุษย์สรา้ งข้นึ 5. นิทานอธิบายเหตุผล เป็นนิทานที่อธิบายที่มา ของปรากฏการณ์ธรรมชาติ สัตว์ บุคคล รวมถึงสถานทีต่ ่าง ๆ ๕๑ สมุดความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒
6. นทิ านสอนใจ นิทานทีม่ ่งุ เน้นการให้คติเตอื นใจ แนะแนวทางการดำเนินชีวติ 7. นทิ านตลกขบขนั เรอ่ื งเล่าสัน้ ๆตอนเดยี วจบ หรือสองตอนจบมงุ่ ให้ความขบขัน เช่น ศรีธนญชัย 8. นิทานผี เป็นเรื่องราวเหนือความจริง ที่มีตัวละครเป็นภูต ผี วิญญาณ ปรากฏตัวขึ้น เพื่อ ชว่ ยเหลือหรอื ชำระความแคน้ กบั มนษุ ย์ เชน่ ผปี ระจำต้นไม้ 9. นิทานเข้าแบบ เป็นนิทานที่มีแบบแผนในการเล่าเป็นพิเศษแตกต่างจากนิทานประเภทอื่นๆ เช่น ที่เล่าซ้ำต่อเนื่องกันไป หรือมีตัวละครหลายๆตัว พฤติกรรมเกี่ยวข้องกันไปเป็นทอดๆ นิทาน ประเภทนแ้ี บง่ ได้เปน็ 2 ชนิด - นิทานไม่รู้จบ เป็นนิทานที่มีความยาวไม่จำกัด เล่าต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีจุดจบ จนกว่าผู้ฟังจะเบื่อหน่าย มักเป็นเรื่องเกี่ยวกับการนับ หรือการกระทำซ้ำๆ นิทานลักษณะนี้เหมาะ กบั ความสนใจของเดก็ เชน่ สุนขั จิง้ จอกกบั สงิ โต - นิทานลูกโซ่ เป็นนิทานที่มีเรื่องราวที่ดำเนินไปอย่างเดียว แต่มี ตัวละครหลายตัวและมี พฤติกรรมเกี่ยวข้องเป็นทอดๆพฤติกรรมนัน้ อาจจะไม่สัมพนั ธก์ ับ ตัวละครเดิมก็ได้ นิทานลูกโซ่ของ ไทยซึง่ ทีร่ ูจ้ ักกนั ท่ัวไป คอื เร่อื งยายกะตาปลูกถวั่ ปลกู งา ใหห้ ลานเฝ้า ความสำคญั ของนทิ านพน้ื บา้ น 1. นทิ านพ้นื บ้านเปน็ เครื่องช่วยให้มนุษย์เขา้ ใจสภาพของมนษุ ยโ์ ดยท่ัวไปไดด้ ยี ่ิงข้ึน เพราะในนทิ าน พน้ื บา้ นเป็นทปี่ ระมวลแหง่ ความร้สู กึ นึกคิด ความเชอื่ ความนิยม ความกลวั ความบนั เทงิ ใจ ระเบียบแบบแผน และอน่ื ๆ 2. นิทานพื้นบา้ นเปน็ เสมอื นกรอบล้อมชีวติ ใหอ้ ยูใ่ นขอบเขตท่มี นษุ ยใ์ นสงั คมนน้ั ๆนิยมว่าดหี รอื ถกู ต้อง แม้กฎหมายบา้ นเมืองกย็ งั ไมส่ ามารถบังคับจติ ใจของมนุษยไ์ ดเ้ ท่า เพราะมนษุ ยไ์ ด้ฟัง ไดซ้ มึ ซับสัง่ สมการอบรมนนั้ ๆไวใ้ นวถิ ีชีวิตตง้ั แตเ่ ดก็ 3. นิทานพืน้ บา้ นทำใหม้ นุษยร์ จู้ ักสภาพชวี ติ ท้องถนิ่ โดยพจิ ารณาตามหลกั ที่วา่ คตชิ าวบา้ นเป็นพน้ื ฐาน ชวี ิตของคนชาติหนง่ึ ๆหรอื ชนกลมุ่ นนั้ ๆ 4. นิทานพน้ื บ้านเปน็ มรดกของชาตใิ นฐานะเป็นวฒั นธรรมประจำชาติเป็นเร่ืองราวเก่ียวกบั ชวี ติ มนษุ ย์ แต่ละชาตแิ ต่ละภาษา มกี ารจดจำและถือปฏิบัตกิ ันตอ่ ๆมา 5. นทิ านพนื้ บา้ นเปน็ ทั้งศลิ ป์และศาสตร์ เปน็ ต้นเค้าแห่งศาสตร์ตา่ งๆและช่วยใหก้ ารศึกษาใน สาขาวิชาอน่ื กวา้ งขวางยิ่งข้ึน 6. นิทานพื้นบ้านเปน็ เครื่องบันเทงิ ใจยามวา่ งของมนษุ ย์ สมดุ ความรู้ รายวิชาภาษาไทย ๒ ๕๒
ตัวอยา่ งนทิ านพืน้ บา้ น 4 ภาค 1. นทิ านพนื้ บ้านภาคกลาง เช่น ยายกบั ตา ไกรทอง ท้าวแสนปม พกิ ลุ ทอง ” 2. นิทานพื้นบ้านภาคเหนือ เชน่ อา้ ยกอ้ งข้จี ุ๊ ควายลุงคำ ย่าผนั คอเหนยี ง ลานนางคอย 3. นิทานพื้นบ้านภาคอีสาน เช่น พญาคันคาก ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ ตำนานผาแดงนางไอ่ ตำนานพะรปฐมเจดยี ์ 4. นิทานพื้นบ้านภาคใต้ เช่น เกาะหนูเกาะแมว นายดั้น เขาทะนาน กินเหล้าแล้วอายุ ยนื ๕๓ สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒
บทอาขยาน พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๒ ในยิ ามคาํ วา่ อาขยาน ไว้วา่ บทท่องจาํ การเล่า การบอก การสวดเร่ือง นทิ าน อาขยาน อา่ นออกเสียงได้ ๒ อย่าง คือ อา-ขะ-หยาน หรอื อา-ขะ-ยาน จุดประสงค์ของการทอ่ งบทอาขยาน คอื ๑. เพ่ือใหน้ กั เรยี นตระหนักในคุณคา่ ของภาษาไทย และใหซ้ าบซึง้ ในความไพเราะของบทร้อยกรอง ๒. เพื่อเปน็ พนื้ ฐานในการแต่งคําประพันธ์ ๓. เพ่อื เปน็ สือ่ ในการถ่ายทอดคุณธรรม คตธิ รรม และขอ้ คิดท่ี เปน็ ประโยชน์แกเ่ ยาวชน ๔. เพอ่ื สง่ เสริมให้มจี ิตสํานกึ ทางวฒั นธรรมของคนในชาติใน ฐานะ “รากฐานทางวัฒนธรรม” ตัวอย่างบทอาขยานสำหรบั นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 5 บทอาขยานตนเปน็ ทพ่ี ึง่ แหง่ ตน เราเกดิ มาทั้งทชี วี ิตหนงึ่ อย่าหมายพึง่ ผใู้ ดใหเ้ ขาหยัน ควรคะนึงพงึ่ ตนทนกดั ฟัน คิดบากบ่นั ตงั้ หนา้ มานะนำ กสิกจิ พณชิ ยการงานมเี กียรติ อย่าหยามเหยียดพาลหาวา่ งานต่ำ หรือจะชอบวชิ าอตุ สาหกรรม เชิญเลือกทำตามถนดั อย่าผลดั วนั เอาดวงใจเปน็ ทุนหนุนนำหน้า เอาปญั ญาเปน็ แรงมงุ่ แข่งขนั เอาความเพียรเป็นยานประสานกนั ผลจะบรรลุส่ปู ระตชู ยั เงินและทองกองอยูป่ ระตหู นา้ คอยเปิดอา้ ยมิ้ รับไม่ขบั ไส ทรพั ย์ในดนิ สนิ ในนำ้ ออกคล่ำไป แหลมทองไทยพรอ้ มจะชว่ ยอำนวยเอย สมดุ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย ๒ ๕๔
Search