Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sc-22003

Description: sc-22003

Search

Read the Text Version

40  ภาชนะรองรบั ขยะมูลฝอย เพื่อให้การจัดเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและลด การปนเป้ือนของขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพในการนํากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ จะต้องมีการตั้งจุด รวบรวมขยะมลู ฝอย และให้มีการแบ่งแยกประเภทของถังรองรับขยะมูลฝอยตามสีต่าง ๆ โดยมี ถงุ บรรจภุ ายในถังเพอ่ื สะดวกและไมต่ กหลน่ หรอื แพร่กระจาย ดงั นี้ ถังขยะมลู ฝอยแบบแยกประเภท 1. สเี ขียว รองรบั ขยะที่เน่าเสียและย่อยสลายได้ สามารถ นํามาหมักทาํ ปยุ๋ ได้ เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ มีสัญลักษณะที่ถังเปน็ รูปกา้ งปลาหรอื เศษอาหาร   ภาพที่ 3.7 ภาพแสดงถงั ขยะสเี ขยี วและสญั ลักษณ์ ทีม่ า : http://psu10725.com 2. สีเหลือง รองรับขยะท่ีสามารถนํามารีไซเคิลหรือขาย ได้ เช่น แก้วกระดาษ พลาสติก โลหะ      ภาพที่ 3.8 ภาพแสดงถังขยะสเี หลืองและสญั ลักษณ์ ทมี่ า : http://psu10725.com

41  3. สีแดง หรือสีเทาฝาสีส้ม รองรับขยะท่ีมีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และส่ิงแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง ภาชนะ บรรจสุ ารอนั ตรายต่าง ๆ   ภาพที่ 3.9 ภาพแสดงถงั ขยะสแี ดงและสญั ลักษณ์ ทม่ี า : http://psu10725.com 4. สีฟา้ หรือสนี ํา้ เงนิ รองรบั ขยะท่ัวไป คือ ขยะมูลฝอยประเภทอนื่ นอกจากขยะ ย่อยสลาย ขยะรีไซเคิลและขยะอนั ตรายขยะทั่วไปจะมลี กั ษณะทยี่ ่อยสลายยาก ไมค่ ุม้ ค่าสําหรับ การนํากลบั ไปใชป้ ระโยชนใ์ หม่ เช่น พลาสตกิ หอ่ ลูกอม ซองบะหมส่ี ําเร็จรปู ถุงพลาสติก โฟม และฟอล์ยที่เป้อื นอาหาร ภาพท่ี 3.10 ภาพแสดงถังขยะสฟี า้ หรือสีนาํ้ เงินและสัญลกั ษณ์ ทมี่ า : http://psu10725.com

42  นอกจากจะมีถงั เป็นสีตา่ ง ๆ ตามประเภทของขยะทีต่ อ้ งคัดแยกทงิ้ แลว้ บางแหง่ กใ็ ชเ้ ปน็ ถังสีขาวเพ่ือความสวยงาม แตต่ ิดสญั ลักษณ์และสตี ามแบบถงั ขยะสีต่าง ๆ ไว้ เชน่ ตาม ปัม้ นา้ํ มัน โรงแรม หรือ สถานทที่ ่องเท่ยี วต่าง ๆ เปน็ ต้น ภาพที่ 3.11 ภาพแสดงถังขยะสีขาวติดสติกเกอรส์ ัญลกั ษณแ์ ละข้อความประเภทขยะ ท่ีมา : http://www.thaihealth.or.th เกณฑม์ าตรฐานภาชนะรองรบั ขยะมลู ฝอย 1. ควรมีสัดส่วนของถังขยะมูลฝอยจากพลาสติกท่ีใช้แล้วไม่ตํ่ากว่าร้อยละ 50 โดยน้ําหนกั 2. ไม่มีส่วนประกอบสารพิษ (toxic substances) หากจําเป็นควรใช้สารเติม แต่งในปรมิ าณที่นอ้ ยและไมอ่ ยูใ่ นเกณฑท์ ีเ่ ป็นอนั ตรายตอ่ ผบู้ รโิ ภค 3. มคี วามทนทาน แข็งแรงตามมาตรฐานสากล 4. มีขนาดพอเหมาะมีความจุเพียงพอต่อปริมาณขยะมูลฝอย สะดวกต่อการ ถา่ ยเทขยะมลู ฝอยและการทาํ ความสะอาด 5. สามารถปอ้ งกัน แมลงวนั หนู แมว สุนัข และสัตว์อ่ืนๆ มิให้สัมผัสหรือคุ้ยเขี่ย ขยะมลู ฝอยได้

43  การแปรสภาพขยะมูลฝอย ในการจดั การขยะมลู ฝอย จัดให้มีระบบที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพด้วยการแปรสภาพขยะมูลฝอย คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพลักษณะทางกายภาพเพ่ือลดปริมาณเปลี่ยนรูปร่าง โดยวิธีคัดแยกเอา วัสดุท่ีสามารถหมุนเวียนใช้ประโยชน์ได้ออกมา วิธีการบดให้มีขนาดเล็กลง และวิธีอัดเป็นก้อน เพอ่ื ลดปริมาตรของขยะมูลฝอยได้ร้อยละ 20-75 ของปริมาตรเดิม ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับประสิทธิภาพ ของเคร่ืองมือและลักษณะของขยะมูลฝอย ตลอดจนใช้วิธีการห่อหุ้มหรือการผูกรัดก้อนขยะมูล ฝอยให้เป็นระเบียบมากย่ิงข้ึน ผลท่ีได้รับจากการแปรสภาพมูลฝอยนี้ จะช่วยให้การเก็บ รวบรวม ขนถ่าย และขนส่งได้สะดวกขึ้น สามารถลดจํานวนเที่ยวของการขนส่ง ช่วยให้ไม่ปลิว หล่นจากรถบรรทุกและช่วยรีดเอาน้ําออกจากขยะมูลฝอย ทําให้ ไม่มีนํ้าชะขยะมูลฝอยร่ัวไหล ในขณะขนส่ง ตลอดจนเพ่ิมประสิทธิภาพการกําจัดขยะมูลฝอยโดยวิธีฝังกลบ โดยสามารถจัด วางซอ้ นไดอ้ ย่างเปน็ ระเบยี บ จึงทําใหป้ ระหยดั เวลา และค่าวัสดุในการกลบทับ และช่วยยืดอายุ การใช้งานของบอ่ ฝังกลบ ภาพท่ี 3.12 ขยะท่ถี ูกบบี อัดเปน็ กอ้ นเพอ่ื ลดปรมิ าณขยะ ทม่ี า : http://www.prdnorth.in.th

44  เร่ืองท่ี 3 เทคโนโลยีการกาํ จัดวัสดุประเภทโลหะกับอโลหะ การเผา (Incineration) เป็นกระบวนการกําจัดเศษวัสดุเหลือท้ิงที่ใช้ความร้อนสูงเพื่อ เผาไหม้สว่ นประกอบท่ีเป็นสารอินทรีย์ในเศษวัสดุเหลือทิ้งส่ิงที่เหลือจากการเผา คือ ความร้อน, ขี้เถ้า และแก๊สปล่องไฟ (Flue gas) ข้ีเถ้าเป็นส่วนผสมของสารอนินทรีย์ อาจอยู่ในรูปของ ของแข็งหรือฝุ่นละอองที่มากับแก๊สปล่องไฟ แก๊สปล่องไฟต้องถูกทําให้สะอาดก่อนถูกปล่อย ออกสชู่ นั้ บรรยากาศ สว่ นความร้อนท่ไี ดจ้ ากเตาเผา สามารถนําไปใช้ผลิตไฟฟา้ ได้ การกําจัดเศษ วัสดุด้วยการเผาแล้วสามารถผลิตพลังงานข้ึนมาได้นี้ เป็นเทคโนโลยีที่เปล่ียนเศษวัสดุให้เป็น พลังงานวธิ หี นึ่ง นอกเหนอื จากการแปรสภาพเปน็ แก๊ส (Gasification), การแปรรูปเป็นแก๊สด้วย วิธีพลาสมาอาร์ค (Plasma arc gasification) การแปรรูปเป็นนํ้ามัน (pyrolysis) และการย่อย โดยไม่ใช้อากาศ (anaerobic digestion) แต่การกําจัดเศษวัสดุโดยวิธีน้ีในบางคร้ังก็ไม่ได้มี จดุ ประสงค์ในการนาํ พลังงานมาใช้ (ก) ปฏกิ ิริยาในเตาเผาเศษวัสดุทุกแบบ (ข) เตาเผาเศษวัสดุแหง่ หน่งึ ในออสเตรีย มี แตล่ ะแบบมีรายละเอียดที่แตกตา่ งกัน  สถาปัตยกรรมและภาพวาดเพือ่ ใหส้ บายตาแกช่ มุ ชน ภาพท่ี 3.13 ภาพเตาเผาวสั ดุ ทมี่ า : https://th.wikipedia.org

45  ทัง้ นี้ เทคโนโลยกี ารกําจดั วัสดุเหลอื ท้ิงด้วยการเผา สามารถแบง่ รูปแบบของการเผาได้ 3 ประเภท ดงั นี้ 1) เตาเผาแบบเชิงตะกอน แบบนงี้ า่ ยและธรรมดาทส่ี ดุ สาํ หรบั เศษวัสดใุ นครวั เรอื นขนาดเล็ก โดยเอาเชื้อไฟและ เศษวสั ดุซ้อนกนั เปน็ ชน้ั ๆบนพ้ืนดิน แลว้ จดุ ไฟเผาเลย การเผาแบบนี้ ไมค่ วรทําในแหล่งชมุ ชน เพราะถ้ามลี มพดั อาจทําให้เกิดอัคคีภัย หรอื เศษเขม่าไฟปลิวเขา้ บ้านเรอื นได้ นอกจากในพนื้ ท่ี นอกเมืองท่บี างครงั้ ชาวบ้านตอ้ งการเผาตอไม้หรอื เศษตกค้างเพื่อเตรยี มดนิ สาํ หรบั การ เพาะปลูก รูปที่ 3.14 การเผาเศษวัสดุเหลอื ทิง้ เชิงตะกอน ทม่ี า : https://th.wikipedia.org 2) เตาเผาแบบถังเผา ใช้ถังเหล็กขนาด 200 ลิตรเจาะรูด้านข้างให้อากาศเข้า ซึ่งจะปลอดภัยกว่าแบบเชิง ตะกอน แม้มีลมพัด เปลวไฟและเศษวัสดุติดไฟก็จะถูกจํากัดอยู่ในถังเหล็กน้ี อย่างไรก็ตาม การ กําจัดเศษวัสดุของตนเองภายในบ้านควรต้องระมัดระวังเป็นอย่างมาก เพราะเศษวัสดุบางชนิด อาจมีพิษหรือมีกล่ินรบกวนผู้อื่นได้ ควรทําครั้งละน้อย ๆ จะดีกว่า และควรรับผิดชอบถ้าเกิด ความเสยี หายแก่ผู้อน่ื

46  รูปที่ 3.15 ถังเผาเศษวัสดุเหลือทิ้ง ที่มา : http://www.engineer.mju.ac.th 3) เตาเผาแบบตะกรบั เคล่ือนท่ี การเคล่ือนท่ีของตะกรับ ทําให้เศษวัสดุท่ีถูกเผาเคลื่อนไปในห้องเผาไหม้ ถูกเผาได้อย่าง สมบูรณ์มากย่ิงข้ึน เตาเผาแบบน้ีบางทีถูกเรียกว่าเตาเผาเศษวัสดุชุมชน (Municipal Solid Waste Incinerator) เศษวัสดุจะถูกป้อนด้วยเครนเข้าไปใน“คอหอย” ซึ่งเป็นปลายของตะกรับ ด้านหนงึ่ ท่ีอยู่ด้านบน จากน้ันตะกรับจะเล่ือนลง พาเศษวัสดุไปท่ีตะกรับด้านล่าง ต่อ ๆกันไปยัง บ่อขี้เถ้าที่ปลายอีกด้านหนึ่ง ขี้เถ้าจะถูกคัดออกผ่านม่านนํ้า ของแข็งที่เผาไม่หมด จะตกลงท่ีพื้น ด้านลา่ ง โดยการเผาไหม้ของเตาเผาแบบตะกรบั เคลื่อนที่จะมกี ารเผาอยู่ 2 ขนั้ ตอน ดังน้ี 3.1) อากาศที่ใช้เผาไหม้คร้ังแรกบางส่วนไหลผ่านมาจากตะกรับด้านล่าง ทําหน้าท่ีเป่า ตะกรับให้เย็นลงไปในตัวด้วย การทําให้ตะกรับมีอุณหภูมิลดลงก็เพ่ือเพิ่มความแข็งแกร่งให้ ตะกรบั บางระบบมีการระบายความร้อนของตะกรบั ด้วยนาํ้ 3.2) อากาศเผาไหม้คร้ังท่ีสอง จะถูกจ่ายให้หม้อต้มด้วยความเร็วสูงผ่านหัวฉีดเหนือ ตะกรับ อากาศนี้ทําให้แก๊สปล่องไฟถูกเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ โดยให้อากาศหมุนไปมาเพ่ือให้มัน ผสมกนั ไปกับอากาศและออกซิเจนส่วนเกนิ ได้ดยี ิง่ ข้นึ

47  จากน้ัน แก๊สปล่องไฟจะถูกทําให้เย็นลงในส่วนของเตา ท่ีเรียกว่า ไอร้อนย่ิงยวด ความ ร้อนจะถูกยา้ ยไปท่ีไอน้ํา ทาํ ใหไ้ อน้ํามอี ุณหภูมิสูงประมาณ 400 องศาเซลเซียส ที่ความดนั 40 บาร์ ส่งเข้ากังหันผลิตไฟฟ้าต่อไป ณ จุดนี้ แก๊สปล่องไฟจะมีอุณหภูมิประมาณ 200 องศา เซลเซียส และถูกส่งเขา้ เครือ่ งทําความสะอาดกอ่ นปล่อยออกทางปล่องไฟสู่บรรยากาศภายนอก ภาพท่ี 3.16 หอ้ งเผาของเตาแบบตะกรับเคลอ่ื นท่ี ทสี่ ามารถจัดการกบั เศษวสั ดุ 15 ตันต่อชัว่ โมง ทม่ี า : https://th.wikipedia.org ตามข้อกําหนดของยุโรป แกส๊ ปลอ่ งไฟต้องมีอุณหภูมอิ ย่างตา่ํ 850°C เปน็ เวลา 2 วนิ าที เพ่อื กาํ จัดสารพิษให้หมด ดงั นั้นจึงต้องมีตัวเผาสํารองเผ่ือไว้ในกรณีอณุ หภูมใิ นห้องเผาไม่ถงึ ขอ้ กําหนด จําเปน็ ตอ้ งเพิ่มความร้อนดว้ ยเตาสาํ รองน้ี ภาพท่ี 3.17 เตาเผาแบบหมนุ ทมี่ า : https://thai.alibaba.com

48  กิจกรรมทา้ ยหน่วยการเรยี นที่ 3 หลังจากท่ีผู้เรียนศึกษาเอกสารชุดการเรียนหน่วยท่ี 3 จบแล้ว ให้ผู้เรียนค้นคว้า เพิม่ เตมิ จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วทํากิจกรรมการเรียนรู้หน่วยที่ 3 ในสมุดบันทึกกิจกรรมการ เรยี นรู้ แลว้ จัดสง่ ตามท่ผี ูส้ อนกาํ หนด

49   หนว่ ยการเรยี นที่ 4 การคัดแยกและรีไซเคลิ วสั ดุ สาระสําคญั การคัดแยกวัสดุเป็นการลดปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนจากต้นทาง ได้แก่ ครัวเรือน สถาน ประกอบการหรือสถานที่สาธารณะท้ังนี้ ก่อนทิ้ง ครัวเรือน หน่วยงาน หรือสถานที่สาธารณะ ต่างๆ ควรจัดให้มีระบบการคัดแยกวัสดุประเภทต่าง ๆ ตามแต่ลักษณะองค์ประกอบ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อนําวัสดุกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับระบบ การคัดแยกวัสดุการรีไซเคิลเป็นการเปลี่ยนสภาพของวัสดุให้มีมูลค่า จากส่ิงที่ไม่เป็นประโยชน์ แปรเปล่ยี นสภาพเปน็ วัตถุดบิ เพอ่ื นํากลับมาใช้ใหม่ และลดค่าใชจ้ า่ ยในการกําจัดขยะทีเ่ กิดขึ้น ตวั ชวี้ ดั 1. อธบิ ายวธิ กี ารคัดแยกวสั ดุแต่ละประเภทได้ 2. อธิบายความหมายสญั ลักษณ์รไี ซเคลิ วัสดแุ ตล่ ะประเภทได้ 3. อธบิ ายขอ้ ปฏิบตั ใิ นการคัดแยกหรอื รวบรวบวัสดุแต่ละประเภทได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา 1. การคัดแยกวัสดุ 2. การรีไซเคิลวัสดุ    

50   หนว่ ยการเรยี นท่ี 4 การคัดแยกและการรีไซเคลิ วสั ดุ เรือ่ งท่ี 1 การคดั แยกวสั ดุ ปัจจบุ ันคนไทยหันมาเปลยี่ นอาชีพใหม่ จากการขายแรงงาน มาเป็นเถ้าแก่รับซื้อของเก่า ค่อนข้างเยอะ เพราะมองเหน็ ชอ่ งทางการเจริญเติบโตในอนาคตของอาชีพน้ี เนื่องจากปริมาณ ขยะในประเทศไทยมีจํานวนมหาศาล และจะเพ่ิมทวีคูณข้ึนเรื่อย ๆ ดังน้ัน อาชีพรับซ้ือของเก่า จึงกลายเป็นอาชีพหน่ึงที่ทํารายได้ให้กับเจ้าของกิจการมาก ซึ่งรับซ้ือและขายส่งตามโรงงาน เพื่อนําไปแปรรูปกลับมาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ แต่ราคาท่ีซ้ือขายจะแตกต่างกันไปตามความ ต้องการของตลาด ดังนั้น เพื่อความสะดวก และเพ่ือให้การขายวัสดุรีไซเคิลได้ราคาสูง เราต้อง ทําการคัดแยกวสั ดกุ ่อน ในการจัดการวัสดุแบบครบวงจร จําเป็นต้องจัดให้มีระบบการคัดแยกวัสดุ ประเภทต่าง ๆ ตามแต่ลักษณะองค์ประกอบโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ สามารถดําเนินการได้ตั้งแต่แหล่งกําเนิด โดยจัดวางภาชนะให้เหมาะสม ตลอดจนวางระบบการ เก็บรวบรวมวัสดุอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับระบบการคัดแยกวัสดุ ซ่ึงสามารถ ดาํ เนินการ ดงั น้ี 1. คัดแยกวัสดุที่สามารถนํากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้หรือวัสดุรีไซเคิลออกจาก วสั ดยุ อ่ ยสลาย วสั ดอุ นั ตรายและวัสดทุ ่ัวไป 2. จัดเก็บวสั ดุท่ที ําการคัดแยกแลว้ ในถงุ หรอื ถงั รองรบั วสั ดุแบบแยกประเภท ทห่ี น่วยราชการกําหนด 3. จัดเก็บวัสดุที่ทําการคัดแยกแล้วในบริเวณท่ีมีอากาศถ่ายเทสะดวก มีแสงสว่าง เพียงพอ ไม่กีดขวางทางเดิน อยู่ห่างจากสถานที่ประกอบอาหาร ท่ีรับประทานอาหาร และ แหล่งน้ําดม่ื 4. ให้จัดเก็บวัสดุอันตราย หรือภาชนะบรรจุสารที่ไม่ทราบแน่ชัด เป็นสัดส่วนแยก ตา่ งหากจากวัสดอุ นื่ ๆ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของสารพิษ หรือการระเบิดเพ่ือแยกทิ้งตาม รปู แบบการเก็บรวบรวมของเทศบาลหรือองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ซึง่ มี 3 แบบหลัก ๆ ไดแ้ ก่    

51   4.1 การเก็บจากหน้าบ้านพร้อมขยะทัว่ ไปโดยการเกบ็ ขนมีช่องแยกขยะ อันตราย 4.2 การเกบ็ จากหนา้ บา้ นตามวันท่กี าํ หนดโดยมรี ถเก็บขยะอนั ตรายโดยเฉพาะ 4.3 การนาํ ไปทงิ้ ในภาชนะหรอื สถานท่รี วบรวมขยะอันตรายของชุมชนที่จัดไว้ เฉพาะ 5. ห้ามเก็บกักวัสดุอันตรายไว้รวมกัน โดยให้แยกเก็บเป็นประเภท ๆ หากเป็น ของเหลวให้ใส่ถังหรือภาชนะบรรจุท่ีมิดชิดและไม่รั่วไหล และห้ามเทของเหลวต่างชนิดปนกัน เน่ืองจากอาจเกดิ การระเบิดหากเปน็ ของแข็ง 6. หลีกเลี่ยงการเก็บกักวัสดุ ที่ทําการคัดแยกแล้วและมีคุณสมบัติที่เหมาะแก่การ เพาะพนั ธ์ุของพาหะนําโรค หรือที่อาจเกดิ การรั่วไหลของสารพษิ ไว้เป็นเวลานาน 7. หากมีการใช้น้ําทําความสะอาดวัสดุคัดแยกแล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่มีไขมันหรือ ตะกอนนํ้ามันปนเป้ือน จะต้องระบายนํ้าเสียนั้นผ่านตะแกรงและบ่อดักไขมันก่อนระบายสู่ท่อ น้ําสาธารณะ 8. หา้ มเผา หลอม สกัดหรือดําเนินกิจกรรมอ่ืนใด เพื่อการคัดแยก การสกัดโลหะมี ค่าหรือการทําลายวัสดุในบริเวณท่ีพักอาศัย หรือพื้นที่ที่ไม่มีระบบป้องกันและควบคุมของเสียที่ จะเกดิ ขึ้น กอ่ นท่จี ะนาํ วสั ดุกลับมาใชป้ ระโยชน์ ตอ้ งมีการคดั แยกประเภทวสั ดภุ ายในบา้ น เพื่อเป็น การสะดวกแก่ผู้เก็บขนและสามารถนําวัสดุบางชนิดไปขายเพ่ือเพิ่มรายได้ให้กับตนเองและ ครอบครวั รวมทัง้ ง่ายต่อการนําไปกําจดั อกี ดว้ ย โดยสามารถทาํ ได้ ดังน้ี 1.1 การคัดแยกวสั ดุประเภทกระดาษ 1) แยกประเภทกระดาษ ได้แก่ กระดาษสํานักงาน กระดาษหนังพิมพ์ นิตยสาร หนังสือ กระดาษรวม กระดาษหลาย ๆ ชนิดเมื่อนํามารวมกันร้านรับซื้อของเก่าจะรับ ซ้ือท้งั หมด แต่ถ้าเราสามารถแยกประเภทกระดาษ แล้วมดั แยกประเภทไว้ จะขายได้ราคาดกี ว่า 2) กระดาษคุณภาพสูง เช่น กระดาษถ่ายเอกสาร กระดาษสํานักงาน ควรดึง กระดาษบันทึก (Post-it) สต๊ิกเกอร์ คลิปหนีบ หรือลวดเย็บกระดาษออก ซึ่งกระดาษประเภทนี้ ควรให้ความสนใจเป็นพเิ ศษ เพราะถา้ นาํ ไปขายจะได้ราคาคอ่ นข้างสูง    

52   3) กล่องกระดาษ กล่องกระดาษลูกฟูก ควรแยกไว้ต่างหาก และต้องดึง สติ๊กเกอร์ออกก่อน เพราะมีกาวเหนียว นําไปรีไซเคิลไม่ได้ นําเศษสิ่งของต่างๆออกจากกล่อง และคล่ีกระดาษออก ทาํ ใหแ้ บน มัดรวมกันเป็นมดั ๆ 4) กระดาษรวม เช่น กระดาษห่อของ ให้แยกเทปกาว และริบบิ้นออก ซอง จดหมาย ให้แยกพลาสตกิ สติก๊ เกอร์ออกกอ่ น เปน็ ต้น   ภาพท่ี 4.1 การแยกกระดาษแตล่ ะประเภทมดั รวมกนั ก่อนขาย 1.2 การคดั แยกวสั ดุประเภทพลาสตกิ 1) แยกพลาสติกแตล่ ะประเภทออกจากกนั โดยการสงั เกตจากสญั ลกั ษณ์ เนอ่ื งจากพลาสติกแตล่ ะชนิดมมี ูลคา่ ไม่เท่ากนั 2) นาํ ฝาขวดออก เทนํ้าออกให้หมด ถ้าขวดสกปรกท้ังภายนอกและภายในขวด ต้องทําความสะอาด ลา้ งสง่ิ สกปรกออกใหห้ มด 3) ขวดและฝาขวดพลาสตกิ จะเป็นพลาสติกตา่ งชนดิ กนั จึงควรแยกฝาและขวด ออกจากกัน เพราะถ้าไม่แยกประเภท เมื่อนําไปขาย ร้านค้าส่วนใหญ่จะรับซ้ือเป็นพลาสติกรวม ซงึ่ ราคาจะถกู ว่า 4) ขวดพลาสติกควรแยกขวดใสและขวดสีออกจากกันเมื่อนําไปขายจะได้ราคา สูง    

53   5) ควรสอบถามร้านรับซ้ือของเก่า ว่ารับซื้อพลาสติกประเภทใด เพื่อจะได้ รวบรวมไดถ้ ูกตอ้ งและได้ราคาทส่ี งู ภาพท่ี 4.2 ดงึ แยกฝาขวดพลาสติก เทนํ้าออกใหห้ มด 1.3 การคดั แยกขยะประเภทแก้ว 1) นําฝาหรือจกุ ออกจากบรรจภุ ัณฑ์ เพราะไม่สามารถนําไปรีไซเคิลรวมกับแก้ว ได้ 2) หลังการบริโภค ควรล้างขวดแก้วด้วยนํ้าเล็กน้อย เพื่อไม่ให้เกิดการเน่า ของอาหาร และเพ่ือป้องกันแมลง สัตว์ มากินอาหารในบรรจภุ ัณฑ์ 3) ไม่ควรท้ิงเศษวัสดุหรือก้นบุหร่ีลงในขวด และต้องทําความสะอาดก่อน นาํ ขวดไปเกบ็ รวบรวม 4) เกบ็ รวบรวมขวดแกว้ รวมไว้ในกล่องกระดาษ ปอ้ งกนั การแตกหกั เสยี หาย 5) ควรแยกสีของแก้ว จะช่วยให้ขายได้ราคาดี และเพ่ือให้ง่ายต่อการส่งต่อ นําไปรีไซเคลิ 6) ขวดแก้วท่เี ปน็ ใบ ควรแยกใส่กลอ่ งเดิมจะขายได้ราคาดี    

54   7) ขวดแก้วบางชนิด อาจนําไปรีไซเคิลไม่ได้ หรือมีร้านรับซื้อของเก่าบางร้าน ทอ่ี ยู่ในพื้นที่ ไม่รบั ซ้ือ ดังนน้ั ควรสอบถามร้านกอ่ นเก็บรวบรวมแกว้ เพือ่ นาํ ไปขาย ภาพที่ 4.3 นาํ ฝาจุกขวดออก ลา้ งทาํ ความสะอาด แยกสีของแก้ว 1.4 การคดั แยกวัสดปุ ระเภทอะลูมเิ นยี ม 1) แยกประเภทกระป๋องอะลูมิเนยี ม โลหะ เพราะกระป๋องบางชนิดมี สว่ นผสมทง้ั อะลมู เิ นียมและโลหะ สว่ นฝาปิดส่วนใหญ่เปน็ อะลมู เิ นยี ม ใหด้ งึ แยกเก็บตา่ งหาก 2) หลงั จากท่ีบรโิ ภคเครื่องดืม่ แลว้ ให้เทของเหลวออกใหห้ มด ล้างกระปอ๋ ง ด้วยนาํ้ เลก็ นอ้ ย เพื่อไมใ่ หเ้ กดิ กล่ิน เพือ่ ป้องกนั แมลง สัตว์ มากนิ อาหารในบรรจภุ ัณฑ์ 3) ไมค่ วรท้ิงเศษวสั ดหุ รอื กน้ บหุ รล่ี งในขวด และตอ้ งทาํ ความสะอาดกอ่ นนาํ ขวดไปเกบ็ รวบรวม 4) ควรเหยยี บกระปอ๋ งให้แบน เพือ่ ประหยัดพืน้ ทใ่ี นการจัดเกบ็ ภาพที่ 4.4 ดงึ แยกฝากระป๋องเครอ่ื งดมื่ ออกแลว้ ทุบให้แบน    

55   กล่าวโดยสรุป ปัจจุบันปริมาณขยะในประเทศไทยมีจํานวนมหาศาล และจะเพ่ิม ทวีคูณขึ้นเร่ือย ๆ การจัดการวัสดุจึงจําเป็นต้องจัดให้มีระบบการคัดแยกวัสดุประเภทต่าง ๆ ตามลักษณะและประเภทของวัสดุเพื่อนํากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ ตลอดจนวางระบบการเก็บ รวบรวมวัสดอุ ย่างมีประสิทธภิ าพ    

56   เรื่องท่ี 2 การรีไซเคลิ วสั ดุ การรีไซเคิล (Recycle) เป็นการจัดการวัสดุเหลือใช้ท่ีกําลังจะเป็นขยะ โดยนําไป ผ่านกระบวนการแปรสภาพ เพื่อให้เป็นวัสดุใหม่แล้วนํากลับมาใช้ได้อีก ซึ่งวัสดุท่ีผ่านการแปร สภาพนั้นอาจจะเป็นผลิตภัณฑ์เดิมหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ก็ได้การรีไซเคิลจึงเป็นหัวใจสําคัญในการ เปล่ียนสภาพของขยะให้มีมูลค่า จากส่ิงที่ไม่เป็นประโยชน์ ให้สามารถนําสิ่งของนํากลับมาใช้ ใหม่ การรีไซเคิล จึงเป็นหนึ่งในวิธีการลดปริมาณขยะลดมลพิษให้กับสภาพแวดล้อม ลดการใช้ พลังงานยืดอายุการใช้งานของระบบกําจัดขยะ และลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของโลกไม่ให้ ถูกนาํ ไปใชอ้ ยา่ งส้ินเปลืองมากเกินไปการรีไซเคิลวสั ดุ มหี ลากหลายประเภท ดงั นี้ 2.1 การรไี ซเคิลวสั ดปุ ระเภทกระดาษ ในปัจจุบันคนไทยมีอัตราการใช้กระดาษเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆทั้งในรูปหนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร กระดาษสํานักงาน กระดาษพิมพ์เขียน บรรจุภัณฑ์ กระดาษ อืน่ ๆ เฉล่ียอย่างนอ้ ยคนละไม่ตํา่ กว่า 50 กิโลกรัมตอ่ ปี ซึง่ นบั ว่าเป็นอัตราท่สี งู ทีเดียว น่ันหมายถึง คนไทยได้ตัดไม้จํานวนมหาศาลท่ีจะต้องป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิตของโรงงาน อุตสาหกรรมในการผลิตกระดาษ กระดาษ 1 ตัน ต้องใช้ต้นไม้ท้ังหมด จํานวน 17 ตัน ใช้นํ้า อย่างน้อย 31,500 ลิตร นํ้ามัน 300 ลิตร กระแสไฟฟ้า 4,100 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง นอกจากน้ัน ยังปล่อยของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม น่ันแสดงให้เห็นว่าคนไทยกําลังช่วยกันทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมโดยไม่รู้ตัว ดังนั้นเราทุกคนสามารถช่วยกันประหยัด ใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่าสูงสุดได้ เช่น ใช้กระดาษให้ครบทั้ง 2 หน้า คัดแยกขยะ ก่อนทิ้ง เพื่อนําไปรีไซเคิล เพราะกระบวนการรีไซเคิลกระดาษ ถ้าเป็นกระดาษคุณภาพสูง เช่น กระดาษถา่ ยเอกสาร กระดาษพมิ พ์เขยี น ไมต่ อ้ งเติมสารฟอกขาวในกระบวนการผลิต ซ่ึงจะช่วย ลดมลพิษทางน้ํา และสามารถประหยัดพลังงานประมาณ 1 ใน 3 ของพลังงานที่ผลิตกระดาษ ใหม่    

57   2.1.1 สญั ลักษณร์ ไี ซเคิลกระดาษ กระดาษทุกชนิดถ้ามีการคัดแยกและเก็บรวบรวมท่ีถูกวิธี ไม่เปรอะเป้ือน และเปียกน้ํา เช่น กระดาษและกระดาษแข็ง สามารถนํากลับมารีไซเคิลและรียูสได้ แต่ก็มี กระดาษบางชนดิ เชน่ กระดาษทชิ ชู กระดาษชําระ หรือกระดาษเช็ดปาก มีข้อยกเว้น ทั้งน้ีจาก ความไม่คุ้มค่าในการผลิตด้วย ดังน้ันถ้าเราอยากจะรู้ว่ากระดาษท่ีอยู่ในมือของเรา สามารถนํา กลับมารไี ซเคลิ ได้หรือไม่ เราลองสงั เกตดูตามสญั ลักษณด์ ังตอ่ ไปนี้ สามารถนํากลบั มารีไซเคิลเป็นกระดาษลกู ฟูกได้ กระดาษผสม สว่ นมากจะนํามารไี ซเคิลเป็นกระดาษสําหรบั แมกกาซนี หนงั สือพมิ พ์ หรือซองจดหมาย เปน็ ต้น สญั ลักษณร์ ีไซเคิลทีบ่ อกว่าคณุ สามารถนาํ วสั ดกุ ลับมารีไซเคิล เป็นกระดาษจดหมาย หรอื กระดาษเอกสารต่างๆ ได้ ตารางที่ 4.1 ตารางตวั อยา่ งกระดาษท่ีนาํ มารไี ซเคิลได้ ตัวอย่างกระดาษทน่ี ํามารีไซเคิล กระดาษแขง็ กระดาษย่อยสวย กระดาษหนังสือพมิ พ์ กล่องน้ําตาล กระดาษสี กระดาษย่อยขยะ กระดาษหนังสอื เลม่ กระดาษกลอ่ งรองเท้า กระดาษขาวดํา กระดาษสมดุ กระดาษถงุ ปูน    

58   2.2 การรไี ซเคลิ วัสดปุ ระเภทพลาสตกิ พลาสติก มีคุณสมบัติ คือนํ้าหนักเบา ทนทาน มีความยึดหยุ่น ประหยัดค่าใช้จ่าย ในการขนส่ง สามารถนํามาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีมีความแข็งแรง คงทน สามารถขึ้นรูปได้ หลากหลายรูปแบบ จึงทําให้พลาสติกมีการนําใช้มากข้ึน การใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่มากข้ึน ทําใหข้ ยะมลู ฝอยประเภทนี้มีจํานวนมากขึ้น ท้ังๆที่พลาสติกส่วนใหญ่สามารถนํากลับมาแปรรูป ใหม่ได้ พลาสตกิ สามารถแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 2.2.1. พลาสติกประเภทเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) เป็นพลาสติก ท่ีใช้กันแพร่หลายที่สุด ได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว สามารถเปล่ียนรูป ได้ พลาสติกประเภทน้ีโครงสร้างโมเลกุลเป็นโซ่ตรงยาว มีการเช่ือมโยงต่อระหว่างโซ่พอลิเมอร์ นอ้ ยมาก จึงสามารถหลอมเหลว หรือเมือ่ ผา่ นการอดั แรงมากจะไม่ทาํ ลายโครงสรา้ งเดิม เชน่ พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิสไตรีน มีสมบัติพิเศษคือ เมื่อหลอมแล้วสามารถนํามาข้ึนรูป กลับมาใช้ใหม่ได้ พลาสติกในตระกูลเทอร์โมพลาสติก ได้แก่ พลาสติกประเภทโพลิเอทิลีน เทเรฟทาเลตพลาสติกประเภทโพลิเอทิลิน พลาสติกประเภทโพลิไวนิลคลอไรด์ พลาสติก ประเภทโพลิเอทิลีนพลาสติกประเภทโพลิโพรพิลีนพลาสติกประเภทโพลิสไตรีนและพลาสติก ชนดิ อ่ืน ๆ ทอี่ าจจะนาํ พลาสตกิ หลายชนิดมาผสมกนั แตไ่ ม่ใชพ่ ลาสตกิ 6 ชนดิ ที่กลา่ วมา สัญลกั ษณ์รีไซเคิลพลาสตกิ ในตระกูลเทอร์โมพลาสติก สาํ หรับพลาสติกที่รีไซเคิล ไดจ้ ะมสี ญั ลักษณ์และเครือ่ งหมายรีไซเคิลติดอยูท่ ผี่ ลติ ภัณฑ์ และมีตัวเลขอยู่ข้างใน ตัวเลขน้ีเป็น สง่ิ ท่บี ง่ บอกประเภทของพลาสตกิ นนั้ ๆ พลาสติก เบอร์ 1 หมายถึง พลาสติกประเภทโพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (poly ethylene terephthalate (PET)) สามารถนํามารีไซเคิลขวดน้ําพลาสติกชนิดอ่อน ประเภทใช้ได้ คร้งั เดียว หรอื ขวดซอฟต์ดรง้ิ คท์ ้งั หลาย พลาสติกเบอร์ 2 หมายถึง โพลิเอทิลินชนิดความหนาแน่นสูง(high density polyethylene)(HDPE) ส่วนมากจะนาํ ไปรีไซเคิลเป็นถุงพลาสตกิ ทว่ั ไป และกระป๋องโยเกิรต์ พลาสติกเบอร์ 3 หมายถึง พลาสติกประเภทโพลิไวนิลคลอไรด์ (polyvinyl chioride (PVC)) สามารถนํากลับมารีไซเคิลเป็นบรรจุภัณฑ์สินค้าอาหาร ของเล่นพลาสติก พลาสตกิ ห่อหุ้มอาหาร และท่อพลาสตกิ    

59   พลาสติกเบอร์ 4 หมายถึง พลาสติกประเภทโพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นตํ่า (low density polyethylene (LDPE)) นิยมนํากลับมารีไซเคิลเป็นถุงพลาสติกชนิดบาง ไม่ทน ความรอ้ น หรอื ถุงดํา กล่องบรรจุภัณฑ์ เช่น กลอ่ งสบู่ ถงั ขยะ พลาสตกิ เบอร์ 5 หมายถงึ พลาสติกประเภทโพลิโพรพลิ นี (polypropylene) (PP) นํากลับมารีไซเคิลเป็น ถุงร้อนใสอ่ าหาร หรอื กลอ่ งบรรจุอาหารสาํ หรบั อุน่ ในไมโครเวฟ และแก้วพลาสติก พลาสติกเบอร์ 6 หมายถึง พลาสติกประเภทโพลิสไตรีน (polystyrene(PS)) สามารถนาํ มาหลอมเปน็ โฟม กล่อง ถว้ ย และจาน นอกจากนี้ยังรีไซเคิลเป็นแผงไข่ไก่ และกล่อง วซี ีดีได้อีกด้วย พลาสติกเบอร์ 7 หมายถึง พลาสติกชนิดอื่น ๆ ท่ีอาจจะนําพลาสติกหลายชนิด มาผสมกัน แต่ไม่ใช่พลาสติก 6 ชนิดก่อนหน้าน้ี อาจจะเป็นพลาสติกประเภทท่ีมีส่วนผสมของ สาร BPA โพลีคาร์บอเนต หรือพลาสติกชีวฐาน (bio-based plastics) มักจะนํากลับมารีไซเคิล เปน็ ขวดนํา้ กล่องและถงุ บรรจุอาหาร กระสอบปุ๋ย และถุงขยะ เปน็ ตน้    

60   ภาพที่ 4.5 แสดงตารางสญั ลกั ษณ์พลาสติกและตัวอยา่ ง ท่ีมา : http://www.2bgreen4ever.com 2.2.2 พลาสติกประเภทเทอร์โมเซตติงพลาสติก (Thermosetting plastic) เป็นพลาสติกท่ีมีสมบัติพิเศษ คือ ทนทานต่อการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิและทนปฎิกิริยาเคมีได้ดี เกิดคราบและรอยเป้ือนได้ยากคงรูปหลังการผ่านความร้อนหรือแรงดันเพียงคร้ังเดียว เม่ือเย็น ตัวลงจะแข็งมาก ทนความร้อนและความดัน ไม่อ่อนตัวและเปล่ียนรูปร่างไม่ได้ แต่ถ้าอุณหภูมิ สูงก็จะแตกและไหม้เป็นข้ีเถ้าสีดํา พลาสติกประเภทนี้โมเลกุลจะเช่ือมโยงกันเป็นร่างแหจับกัน แน่น แรงยึดเหนย่ี วระหว่างโมเลกุลแขง็ แรงมาก จงึ ไม่สามารถนํามาหลอมเหลวได้    

61   ภาพท่ี 4.6 ภาชนะทผี่ ลติ จากเทอรโ์ มเซตตงิ พลาสตกิ ที่มา : http://must.co.th 2.3 การรีไซเคลิ วสั ดุประเภทแก้ว ขวดแก้วเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ได้รับความนิยมสูง ด้วยคุณสมบัติที่ใส สามารถมองเห็น สิ่งท่ีอยู่ภายใน ไม่ทําปฏิกิริยากับส่ิงบรรจุ ทําให้คงสภาพอยู่ได้นาน สามารถออกแบบให้มี รูปทรงได้ตามความต้องการ ราคาไม่สูงจนเกินไป มีคุณสมบัติสามารถนํามารีไซเคิลได้ และให้ ผลิตภัณฑ์ใหม่ท่ีมีคุณภาพคงเดิมร้อยเปอร์เซ็นต์ ไม่ว่าจะรีไซเคิลก่ีครั้งก็ตาม ขวดแก้วสามารถ นํามารีไซเคิลด้วยการหลอม ซ่ึงใช้อุณหภูมิในการหลอม 1,600 องศาเซลเซียล จนเป็นน้ําแก้ว และนําไปขึ้นรูปเป็นบรรจุภัณฑ์ต่างๆ การนําเศษแก้วประมาณร้อยละ 10 มาเป็นส่วนผสมใน การหลอมแกว้ จะช่วยประหยัดพลังงาน และช่วยลดปริมาณน้ําเสียลงร้อยละ 50 ลดมลพิษทาง อากาศลงร้อยละ 20 แก้วไม่สามารถย่อยสลายได้ในหลุมฝังกลบขยะมูลฝอย แต่สามารถนํามา หลอมใช้ใหม่ได้หลายรอบและมีคุณสมบัติเหมือนเดิม ดังน้ันเรามารู้จักสัญลักษณ์การรีไซเคิล แกว้ เพื่อการเกบ็ รวมรวมแกว้ นําไปขายใหไ้ ดร้ าคาสงู ในการสง่ ตอ่ ไปรีไซเคลิ แก้วสามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1) ขวดแก้วดี จะถูกนํามาคดั แยกชนิด สี และประเภทท่บี รรจสุ นิ คา้ ได้แก่ ขวดแม่โขง ขวดน้ําปลา ขวดเบยี ร์ ขวดซอส ขวดโซดาวนั เวยข์ วดเครอ่ื งดื่มชูกําลัง ขวดยา ขวดนํ้าอัดลม ฯลฯ การจัดการขวดเหล่าน้ีหากไม่แตกบิ่นเสียหาย จะถูกนํากลับเข้าโรงงานเพื่อ นําไปล้างใหส้ ะอาดและนํากลบั มาใช้ใหม่ทีเ่ รยี กวา่ “Reuse”    

62   2) ขวดแกว้ แตก ขวดทแ่ี ตกหักบิ่นชาํ รดุ เสียหายจะถกู นาํ มาคัดแยกสี ไดแ้ ก่ ขวดแก้วใส ขวดแก้วสีชา และขวดแก้วสีเขียว จากนั้นนําเศษแก้วมาผ่านกระบวนการ รีไซเคิล โดยเบ้ืองต้นจะเร่ิมแยกเศษแก้วออกมาตามสีของ เอาฝาจุกท่ีติดมากับปากขวดออกแล้วบด ให้ละเอียด ใส่นํ้ายากัดสีเพื่อกัดสีท่ีติดมากับขวดแก้ว ล้างให้สะอาด แล้วนําส่งโรงงานผลิต ขวดแก้วเพอ่ื นาํ ไปหลอมใหม่ เรยี กว่า “Recycle” ภาพท่ี 4.7 ดา้ ยซา้ ยแกว้ ดนี าํ ไปรียูสดา้ นขวาแกว้ แตกเขา้ กระบวนการรีไซเคิล ที่มา : http://www.2bgreen4ever.com 2.3.1 สญั ลกั ษณ์รไี ซเคลิ แก้ว แก้วสามารถนํากลับมารีไซเคิลได้หลายชนิด แต่ก็มีแก้วบางชนิดท่ีต้อง ตรวจสอบอีกคร้ังว่าสามารถนํากลับมารีไซเคิลได้หรือไม่ โดยการสังเกตสัญลักษณ์ของการรี ไซเคิลแก้วได้ ดงั น้ี แก้วผสม ท่เี กดิ จากวัสดุต่าง ๆ แก้วใส ไมม่ ีสี แกว้ สีเขียว    

63   ภาพท่ี 4.3 ตารางแสดงตวั อยา่ งแก้วทนี่ าํ มาไรไซเคลิ ได้ ตัวอยา่ งแกว้ ท่ีนาํ มารไี ซเคิล ขวดโซดา ขวดนาํ้ ปลา ขวดเครอ่ื งดม่ื ชกู ําลัง ขวดไวน์ ขวดแก้วขาวเศษแก้วแดง ขวดนาํ้ มันพชื เกา่ ขวดนาํ้ ส้มสายชู ขวดนา้ํ อัดลมเลก็ /ใหญ่ ขวดโซดาสงิ ห์ (สีชา)ใส/ขาวขนุ่ ขวดแบรนดเ์ ลก็ /ใหญ เศษแกว้ เขียว ขวดยาปอนด์ ขวดยาฆ่าแมลงเล็ก/ใหญ่ เศษแก้วแดง (สชี า) 2.4 การรไี ซเคิลวสั ดุประเภทโลหะ โลหะและอโลหะมีหลากหลายชนดิ ท่ีสามารถนาํ มารไี ซเคิลใหมไ่ ด้ โลหะ ได้แก่ เหล็กใช้กันมากที่สุดในอุตสาหกรรมก่อสร้าง ผลิตอุปกรณ์ต่างๆ รวมท้ังเคร่ืองใช้ในบ้าน อุตสาหกรรม การนําเหล็กมาใช้ใหม่เพ่ือลดต้นทุนในการผลิตมีมานานแล้ว คาดว่าท่ัวโลกมีการ นําเศษเหล็กมารีไซเคิลใหม่ถึง ร้อยละ 50 แม้แต่ในรถยนต์ก็มีเหล็กรีไซเคิลปะปนอยู่ 1 ใน 4 ของรถแตล่ ะคนั เหลก็ ทีส่ ามารถนาํ ไปขายได้ 1. เหล็กเหนยี ว เชน่ เฟอื งรถ นอ๊ ต ตะปู เศษเหลก็ ขอ้ ออ้ ยขาเกา้ อี้ ล้อจักรยาน หวั รถเก๋ง กระบะปิคอัพ เหลก็ เส้นตะแกรง ท่อไอเสยี ถงั สี 2. เหลก็ หล่อ เช่น ปลอกสบู ป๊ัมนาํ้ ขอ้ ต่อวาล์ว เฟอื งขนาดเล็ก 3. เหลก็ รูปพรรณ เช่น แป๊ปประปา เพลาทา้ ยรถ เพลา   โรงสี แป๊ปกลมดาํ เหลก็ ฉาก เหล็กตวั ซี และเพลา เครื่องจักรต่าง ๆ  

64   4. เศษเหล็กอน่ื ๆ เชน่ เหลก็ สงั กะสี กระป๋อง ป๊บิ เหล็กกลึง เหล็กแมงกานสี ภาพที่ 4.9 เหลก็ ท่สี ามารถนาํ ไปขายได้ เหล็กทมี่ ีราคาดีนั้น ได้แก่ เหล็กหลอ่ ชน้ิ เลก็ ราคาดีทส่ี ดุ รองลงมาคือ เหลก็ เส้น เหลก็ หลอ่ ชนิ้ ใหญ่ เคร่ืองเหลก็ เหล็กตะปู เหลก็ ย่อย เหลก็ บาง กระปอ๋ ง และเหลก็ สังกะสี ตามลาํ ดบั โลหะท่ีสามารถนํามารไี ซเคิลใหม่ไดม้ ดี ังน้ี 1. เหล็ก ใช้กันมากท่ีสุดในอุตสาหกรรมก่อสร้างผลิตอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้ง เครอ่ื งใชใ้ นบา้ น อตุ สาหกรรม 2. ทองเหลือง เป็นโลหะมีราคาดี นํากลับมาหลอมใช้ใหม่ได้โดยการทําเป็น พระ ระฆัง อปุ กรณส์ ขุ ภณั ฑ์ต่าง ๆ และใบพัดเรือเดินทะเลขนาดใหญ่ 3. ทองแดง นาํ กลบั มาหลอมทาํ สายไฟใหม่ไดอ้ กี 4. สแตนเลส นาํ กลับมาหลอมทําชอ้ นสอ้ ม กระทะ หม้อ 5. ตะกว่ั นาํ กลับมาหลอมใหมท่ ําฟวิ ส์ไฟฟา้ และส่วนประกอบของอุปกรณ์ต่าง ๆ ตารางที่ 4.4 แสดงตารางตัวอยา่ งโลหะรีไซเคลิ เหล็กหนาพิเศษ ตัวอยา่ งวัสดรุ ีไซเคลิ เหล็กเคร่ือง เหล็กหนา/บาง เหล็กตะปู เหล็กขีก้ ลึง เหล็กยอ่ ย เหลก็ เสน้ 1 น้ิว ลวดสลิง เหลก็ ซอยส้ัน เหลก็ หลอ่ ชิ้นเลก็ /ใหญ่ ตะกัว่ ออ่ น/แขง็ ทองแดงเส้นเล็ก/ใหญ่ ทองแดงเผา เศษแก้วแดง (สชี า) ตะกวั่ สังกะสี แบตเตอรขี่ าว/ดํา ขี้กลงึ ทองเหลอื ง สแตนเลส เหลก็ เส้น 5-6 หุน กระป๋อง ทองเหลอื งบาง/หนา    

65   2.4.1 สัญลกั ษณ์รีไซเคลิ กระป๋องโลหะ กระปอ๋ งสว่ นใหญส่ ามารถนําไปรีไซเคลิ ได้ เช่น กระป๋องน้ําอัดลม กระปอ๋ ง เครอ่ื งดม่ื เพราะเป็นโลหะชนดิ หน่งึ แต่กระปอ๋ งบางชนิดจะมสี ่วนผสมของวสั ดุท้ังอะลมู เิ นียม แต่โลหะชนดิ อื่น ๆ ก็ตอ้ งดตู ามสัญลกั ษณ์ ดงั ตอ่ ไปนี้ เหล็ก 2.5 การรีไซเคลิ วัสดปุ ระเภทอะลูมิเนยี ม บรรจุภัณฑ์กระป๋องผลิตจากวัสดุต่างกัน เช่น กระป๋องอะลูมิเนียม กระป๋องเหล็ก เคลือบดีบุก กระป๋องท่ีมีส่วนผสมทั้งโลหะและอะลูมิเนียม แต่ไม่ว่าจะผลิตจากอะไรก็สามารถ นํามารไี ซเคิลได้ แลว้ เราจะร้ไู ดอ้ ย่างไร วา่ กระป๋องช้นิ ไหนเปน็ เหลก็ และชนิ้ ไหนเป็นอะลูมิเนียม ให้สังเกตดูตะเข็บด้านข้างกระป๋อง กระป๋องอะลูมิเนียมจะไม่มีตะเข็บด้านข้าง เช่น กระป๋อง น้ําอัดลม ส่วนกระป๋องเหล็กท่ีเคลือบดีบุกจะมีตะเข็บด้านข้าง เช่น กระป๋องใส่อาหารสําเร็จรูป กระป๋องกาแฟ ปลากระป๋อง หากไม่แน่ใจ ลองใช้แม่เหล็กมาทดสอบ หากแม่เหล็กดูดติด บรรจุ ภณั ฑช์ นดิ นนั้ คอื เหลก็ โลหะ หากแม่เหล็กดดู ไม่ตดิ บรรจภุ ณั ฑ์นัน้ อะลมู ิเนียม อะลมู เิ นยี ม แบง่ ได้ 2 ประเภท คอื 1) อะลมู ิเนยี มหนา เชน่ อะไหล่เครือ่ งยนต์ ลกู สูบ 2) อะลมู เิ นียมบาง เช่น กะละมงั ซักผ้าขันนา้ํ กระป๋องนาํ้ อดั ลมกระป๋องเบียร์ ภาพท่ี 4.10 ซา้ ยอะลมู เิ นียมหนา และขวาอะลมู ิเนียมบาง ทม่ี า : http://www.kkworldrecycle.com    

66   2.5.1 สัญลกั ษณ์รีไซเคิลกระป๋องอะลมู ิเนียม กระป๋องสว่ นใหญส่ ามารถนําไปรไี ซเคลิ ได้ เชน่ กระปอ๋ งนํ้าอดั ลม กระป๋อง เครอื่ งดม่ื เพราะเป็นโลหะชนดิ หน่งึ แต่กระปอ๋ งบางชนดิ จะมสี ่วนผสมของวสั ดทุ งั้ อะลูมเิ นียม แตโ่ ลหะชนดิ อืน่ ๆ ก็ต้องดตู ามสัญลักษณ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี อะลมู ิเนยี ม อะลูมเิ นยี ม กล่าวโดยสรุปการรีไซเคิล คือ การนําวัสดุท่ียังสามารถนํากลับมาใช้ใหม่ นํามาแปรรูป ใช้ใหม่โดยกรรมวิธีต่าง ๆ ซึ่งทุกคนสามารถทําได้ โดยการคัดแยกวัสดุแต่ละประเภททั้งที่บ้าน โรงเรียน และสํานักงาน เพื่อนําเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล โดยการนําวัสดุรีไซเคิลไปขาย หรือ นําไปบริจาค การรีไซเคิลจึงเป็นหนึ่งในวิธีการลดปริมาณขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพแวดล้อม ลดการใช้พลังงานยืดอายุการใช้งานของระบบกําจัดขยะ และลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของ โลกไม่ให้ถกู นําไปใช้อยา่ งสิ้นเปลืองมากเกนิ ไป กจิ กรรมท้ายหนว่ ยการเรยี นที่ 4 หลังจากท่ีผู้เรียนศึกษาเอกสารชุดการเรียนหน่วยที่ 4 จบแล้ว ให้ผู้เรียนค้นคว้า เพ่ิมเติมจากแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ แล้วทํากิจกรรมการเรียนรู้หน่วยท่ี 4 ในสมุดบันทึกกิจกรรมการ เรยี นรู้ แลว้ จดั สง่ ตามท่ผี สู้ อนกาํ หนด    

67   หน่วยการเรยี นที่ 5 การจดั การวัสดุอันตราย สาระสาํ คญั การจัดการวัสดุอันตราย ถือเป็นเรื่องสําคัญท่ีต้องใส่ใจให้มีการคัดแยกและการจัดการ ท่ีถกู ตอ้ งเหมาะสม เพอ่ื ป้องกนั ความเสียหายทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ต่อสขุ ภาพและส่งิ แวดล้อม โดยการลด ปริมาณขยะอันตราย จากการเลือกซ้ือ การใช้ การท้ิง รวมถึงการรวบรวม เพื่อนําไปสู่การ จัดการขยะอันตรายท่ีถูกวิธี รวมไปถึงการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่หมดอายุการใช้งานไม่สามารถนํากลับมาใช้ได้โดยคํานึงถึงความจําเป็น ท่ีจะต้องใช้สิ่งของเหล่าน้ีอย่างรู้คุณค่า และสามารถช่วยลดปริมาณขยะอันตรายให้เหลือน้อย ทีส่ ดุ ได้ ตัวชว้ี ัด 1. บอกความหมายของวัสดุอนั ตรายได้ 2. บอกประเภทของขยะอนั ตรายได้ 3. บอกแนวทางในการจดั การขยะมพี ิษได้ 4. อธบิ ายวธิ ีการลดปัญหาวัสดทุ เี่ ป็นพิษต่อส่ิงแวดล้อมได้ ขอบขา่ ยเน้อื หา 1. ความหมายของวัสดุอนั ตราย  2. การจดั การขยะอันตราย 3. วิธีการที่จะช่วยลดปัญหาวสั ดุท่เี ปน็ พษิ ต่อส่ิงแวดล้อม

68   หน่วยการเรียนที่ 5 การจดั การวสั ดอุ ันตราย เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายของวัสดอุ ันตราย 1.1 วัสดุอนั ตราย หรือวสั ดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ลว้ คอื ผลติ ภัณฑท์ ่เี สอื่ มสภาพ หรือปนเปื้อนวัตถุ สารเคมอี นั ตรายชนิดต่าง ๆ ท่ีมลี ักษณะเป็นสารพษิ ไวไฟ สารเคมีทกี่ ดั กรอ่ นได้ สารกมั มนั ตรังสี หรอื เชือ้ โรคต่าง ๆ ท่ีทําให้เกดิ อันตราย แก่ บคุ คล สตั ว์ พชื สิง่ แวดล้อม เช่น ถา่ นไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอร์รโ่ี ทรศพั ทเ์ คลือ่ นท่ี กระปอ๋ งบรรจุสี สารเคมี ภาชนะบรรจสุ าร กําจัดศัตรูพชื โดยท่ัวไปวัสดุท่ีมีพิษ ที่เกิดจากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม จะถูกจัดเก็บ ไปเพ่ือทําลาย ตามข้อกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการจัดการ กากอุตสาหกรรมตามพระราชบัญญัติ โรงงานอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2535 สว่ นครวั เรอื นและสถานประกอบกิจการประเภทพาณิชยกรรม ยังไม่มีกฎหมายฉบับใดท่ีกําหนดมาเพื่อควบคุมเป็นการเฉพาะ ดังน้ันจะเห็นได้ว่าขยะอันตราย ที่เกิดจากสํานักงาน ร้านค้าและในครัวเรือน ส่วนใหญ่จะถูกท้ิงปะปนกับขยะทั่วไป และนําไป กําจัดด้วยวิธีการท่ีไม่ถูกวิธี ทําให้สารพิษ ปนเปื้อนสู่ส่ิงแวดล้อม เช่น ดิน นํ้า อากาศ และส่งผล กระทบตอ่ สุขภาพของคนโดยตรง 1.2 ขยะอันตราย คือ วสั ดุอนั ตราย ทไ่ี มส่ ามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อีกแลว้ ตอ้ ง นาํ ไปจัดการด้วยวธิ กี ารทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสม เช่น นําไปทงิ้ ในถังรองรบั ขยะ เพอ่ื การสง่ ต่อ นาํ ไป กาํ จัดดว้ ยการเผาอยา่ งถูกหลกั สขุ าภิบาลท่ีอุณหภูมไิ มน่ ้อยกว่า 1200 องศาเซลเซียส 1.3 ขยะประเภทขยะอนั ตรายแบ่งได้ เป็น 3 ประเภท ดงั นี้ 1. ขยะติดเชื้อหมายถึง สิ่งของที่ไม่ต้องการ หรือถูกทิ้งจากสถานพยาบาล อาทิ เน้ือเย่ือ ช้ินส่วน อวัยวะต่าง ๆ และสิ่งขับถ่าย หรือของเหลวจากร่างกายผู้ป่วย เช่น นํ้าเหลือง น้ําหนอง เสมหะ นํ้าลาย เหง่ือ ปัสสาวะ อุจจาระ ไขข้อ น้ําในกระดูก นํ้าอสุจิ เลือด และ ผลิตภัณฑ์เลือด เช่น เซรุ่ม นํ้าเลือด รวมท้ังเคร่ืองใช้ที่สัมผัสกับผู้ป่วย เช่น สําลี ผ้ากอซ กระดาษชําระ เข็มฉีดยา มีดผ่าตัด เสื้อผ้า ตลอดจนซากสัตว์ หรืออุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับ สัตว์ทดลอง หรืออ่ืน ๆ ตามที่สถานพยาบาลจะพิจารณาตามความเหมาะสม ตามท่ีได้ทั้งหมดน้ี

69   ขยะเหล่าน้ไี ม่จําเปน็ จะตอ้ งมาจากโรงพยาบาลเสมอไป อาจจะมาจากคลินิค สถานีอนามัย หรือ โรงพยาบาล รกั ษาสัตวก์ ็ได้ 2. ขยะมีพิษ หมายถึง ขยะวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ผลิตภัณฑ์เส่ือมสภาพหรือภาชนะ บรรจุต่างๆ ที่มีองค์ประกอบหรือปนเป้ือนวัตถุ สารเคมีอันตรายชนิดต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็น สารพษิ สารไวไฟ สารเคมที ่ีกัดกรอ่ นไดส้ ารกัมมนั ตรงั สีและเชื้อโรคตา่ ง ๆ ทีท่ ําให้เกิดอันตราย แก่บุคคล สตั ว์พชื ทรพั ย์สนิ หรอื ส่งิ แวดล้อม เช่น ถา่ นไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนตแ์ บตเตอรี่ ภาชนะบรรจสุ ารกําจดั ศัตรูพืช กระป๋องสเปรยบ์ รรจสุ หี รือสารเคมเี ป็นตน้ 3. ขยะอิเลก็ ทรอนกิ ส์ หมายถงึ ซากผลิตภณั ฑเ์ คร่อื งใช้ไฟฟา้ และ อเิ ล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องใชไ้ ฟฟ้า แบตเตอร่ี และอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกสท์ ี่ไมเ่ ปน็ ที่ต้องการแลว้ หมดอายุ การใชง้ านแล้ว ไมส่ ามารถนํากลบั มาใช้ซา้ํ ได้อกี ตอ่ ไป ไม่สามารถยอ่ ยสลายไดเ้ อง ตามธรรมชาติ เปน็ อันตรายตอ่ สขุ ภาพและเป็นพิษตอ่ ส่งิ แวดล้อม วธิ กี ารง่าย ๆ ท่บี ง่ ชี้ว่าผลิตภณั ฑห์ รอื ภาชนะเปน็ ขยะอนั ตราย 1. สังเกตฉลาก หรอื ภาพสัญลักษณ์ทีต่ ิดบนภาชนะบรรจุ เชน่ สัญลักษณ์ รายละเอียด   สารไวไฟ จะพบเห็นบนภาชนะท่บี รรจกุ า๊ ซหุงต้ม นาํ้ มันเชื้อเพลิง ทนิ เนอร์ ผลกํามะถัน   สารมพี ิษ จะพบเห็นบนภาชนะบรรจุภณั ฑป์ ระเภท นาํ้ ยาล้างหอ้ งนํา้ สารฆา่ แมลง สารปรอท ในหลอด ฟลอู อเรสเซนต์   สารกัดกรอ่ น จะพบเหน็ บนภาชนะบรรจุนํา้ กรด ในแบตเตอรีร่ ถยนต์ หรือ นา้ํ ยาทําความ สะอาด

70   2. สงั เกตคาํ เตอื นทร่ี ะบอุ ย่ขู ้างภาชนะ เชน่ ห้ามรบั ประทาน หา้ มเผาอนั ตราย เป็นต้น ขยะอนั ตรายทีพ่ บไดใ้ นสํานกั งาน วสั ดอุ ุปกรณ์ เคร่ืองใช้ และสารเคมที ี่ใชใ้ นสํานักงานหลายชนิด เม่อื เสอ่ื มสภาพ หรอื ใชห้ มดแลว้ หากท้งิ ปะปนไปกับขยะท่ัวไป ก็จะก่อใหเ้ กิดมลพษิ ต่อสิ่งแวดล้อมได้ ตัวอย่าง ขยะอนั ตรายจากสาํ นกั งาน ไดแ้ ก่ - ตลับหมกึ พิมพ์ หมกึ เคร่อื งถา่ ยเอกสาร - ถา่ นไฟฉาย - หลอดไฟแบบตา่ ง ๆ สตารท์ เตอร์ บัลลาส - กระป๋องสเปรย์ กระปอ๋ งสี กระป๋องสารเคมีกําจดั แมลง - ขวดน้าํ ยาทาํ ความสะอาดต่าง ๆ - ภาชนะบรรจนุ ํ้ามนั เครอ่ื ง ภาพท่ี 5.1 ตวั อย่างขยะอนั ตราย

71   เร่ืองท่ี 2 การจดั การขยะอันตราย ขยะอนั ตราย เม่อื ไม่ได้รับการจดั การอย่างเหมาะสมในการบําบดั การเก็บกกั การ ขนส่ง หรือกําจัด อาจทาํ ให้เกิดการแพรร่ ะบาดของเช้อื โรค หรอื สารพิษต่าง ๆ ท่อี าจจะมกี าร ปนเปอื้ นในสิ่งแวดลอ้ มได้ ท้งั นีถ้ า้ รา่ งกายไดร้ ับปริมาณของสารพษิ ต่าง ๆ เหลา่ นนั้ ในปรมิ าณ ความเข้มข้น อาจเปน็ สาเหตหุ รอื มีสว่ นทําให้มกี ารเจ็บปว่ ยอย่างรุนแรงท่ีไม่สามารถรักษาได้ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ภาวะทพุ พลภาพ ถึงแกค่ วามตายได้ ดังนัน้ ขยะอนั ตรายแตล่ ะประเภทจงึ มี วธิ ีการจัดการอย่างเหมาะสม ดังน้ี 2.1 ขยะติดเช้ือ การจัดการกับขยะติดเชื้อ ต้องมีวิธีการที่ต้องระมัดระวังมากกว่าขยะ มูลฝอยทั่วไป ต้ังแต่การเก็บรวบรวม การขนส่งการบําบัดและจํากัด ในการรวบรวม ณ แหลง่ กําเนิด ขยะส่วนที่เป็นเลือด น้ําเหลือง นํ้าหนอง จะต้องใส่ลงถังรองรับท่ีไม่มีการร่ัวไหลได้ มีฝาปิดมิดชิด หรือวัสดุพวกเข็มฉีดยา มีดต้องใส่ลงในภาชนะที่แข็งแรงป้องกันการแทงทะลุได้ ก่อนที่จะท้ิงลงในถุงพลาสติก จากน้ันจะต้องมีการบําบัดเบื้องต้นหรือการฆ่าเช้ือโรคก่อน เช่น ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรด์เข้มข้น ร้อยละ 0.1 - 0.5 เทราดให้ท่ัว ขยะท่ีฆ่าเช้ือในเบื้องต้นแล้วจะ ถกู นําไปรวบรวมไว้ เพื่อรอการกาํ จัด โดยภาชนะที่ใชเ้ กบ็ ขยะติดเช้ือที่ใช้กันมากคือ ถุงพลาสติก สีแดง เพ่ือให้แตกต่างจากถุงบรรจุขยะมูลฝอยท่ัวไป ถุงบรรจุขยะติดเชื้อมักจะใช้เพียงคร้ังเดียว แล้วทําลายไปพร้อมกับขยะติดเช้ือ ในส่วนของท่ีพักขยะก็ควรจะเป็นท่ีเฉพาะไม่ใช้ร่วมกับขยะ มูลฝอยท่ัวไป มีการควบคุมอุณหภูมิในท่ีเก็บจะอยู่ที่ประมาณ 15 องศาเซลเซียล และไม่ควร เก็บไว้นานเกินกว่า 3 วัน ในกรณีท่ีโรงพยาบาลไม่มีท่ีกําจัดขยะติดเชื้อของตนเอง การเก็บขน และลําเลียงจะต้องทําอย่างระมัดระวัง การใช้รถเข็นและลิฟต์จะเป็นวิธีท่ีดี ขณะลําเลียง เจ้าหน้าที่จะต้องใส่ถุงมือยาว มีผ้าปิดปากและจมูก เพ่ือป้องกันปัญหาเร่ืองสุขภาพอนามัยของ ผปู้ ฏิบตั หิ นา้ ที่ และไมค่ วรโยนถุงเพราะอาจจะทําให้ถุงขาดได้ มาถึงวิธีการกําจัดซ่ึงต้องทําอย่าง ถูกหลักวิชาการและอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด เพ่ือป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคจากผู้ป่วย โดยวิธีการท่ีดีท่ีสุด คือ การเผาในเตาเผาท่ีอุณหภูมิ 870 องศาเซลเซียส ข้ึนไป และต้องมีการ ควบคุมสารพษิ ที่เกิดจากการเผาด้วย สว่ นเถา้ ถ่านท่ีเหลอื จากการเผาจะตอ้ งนําไปฝงั ดิน

72   2.2 ขยะมีพิษ คือ ขยะวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว ผลิตภัณฑ์เสื่อมสภาพหรือภาชนะบรรจุต่าง ๆ ท่ีมอี งค์ประกอบหรอื ปนเป้ือนวัตถุ สารเคมอี ันตรายชนดิ ต่าง ๆ ทม่ี ีลักษณะเป็นสารพิษสารไวไฟ สารเคมีท่ีกัดกร่อนได้สารกัมมันตรังสีและเช้ือโรคต่าง ๆ ท่ีทําให้เกิดอันตราย แก่บุคคล สัตว์พืช ทรัพย์สินหรือส่ิงแวดล้อม เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์แบตเตอร่ี ภาชนะบรรจุสาร กําจัดศัตรูพืช กระป๋องสเปรย์บรรจุสีหรือสารเคมีซ่ึงขยะมีพิษ จะใช้ถังรองรับขยะ สีแดงเท่าน้ัน ไม่ท้ิงขยะอันตรายปะปนไปกับขยะท่ัวไป และไม่นําไปเผา ฝังดิน หรือ ทิ้งลงในท่อระบายนํ้า เพราะจะทําให้สารพิษ มีการปนเปื้อนในส่ิงแวดล้อมได้ ดังน้ัน จึงมีแนวทางในการจัดการขยะ มพี ษิ อย่างถกู วิธี ซ่งึ สามารถจาํ แนกตามรูปแบบของกจิ กรรมได้ ดงั นี้ 2.2.1 ทอ้ งถ่ินเทศบาล 1. ทอ้ งถ่ินเทศบาลรณรงคใ์ หผ้ ู้ประกอบการและประชาชนคัดแยกของเสียอนั ตาย ไมท่ ิง้ รวมไปกบั ขยะมลู ฝอยทว่ั ไป 2. จัดหาภาชนะรองรับของเสยี อนั ตรายท่มี ฝี าปดิ ไม่รวั่ ซึมและเหมาะสมกับประเภท ของของเสียอันตราย 3. จดั หารถเกบ็ ขนชนดิ พิเศษเพอ่ื เก็บขนของเสยี อันตราย 4. กาํ หนดวนั รณรงค์ เพอ่ื เก็บรวบรวมของเสยี อนั ตราย เช่น วนั หยดุ นกั ขัตฤกษ์ วนั สนิ้ ปีวันสง่ิ แวดล้อมเป็นต้น 5. จดั ทาํ ระบบกาํ กบั การขนส่ง (Manifest system) โดยควบคุมต้ังแตแ่ หลง่ กาํ เนดิ การเก็บรวบรวม การเคลอื่ นย้ายจนถงึ สถานท่กี ําจัด 6. จดั สรา้ งสถานีขนถา่ ยของเสยี อนั ตรายประจําจงั หวดั เพ่อื เป็นแหลง่ รวบรวม และ คัดแยกของเสียอนั ตราย ส่วนท่ไี ม่สามารถนํากลบั มาใช้ประโยชน์ใหม่จะถูกนาํ ไปกาํ จัดยงั ศนู ย์ กาํ จดั ประจําภาคตอ่ ไป 7. จดั สรา้ งศูนย์กาํ จัดของเสยี อันตรายประจําภาคโดยเริ่มตัง้ แตก่ ารคดั เลือกสถานที่ การจดั ซื้อทด่ี นิ การออกแบบระบบ การก่อสรา้ ง ควบคมุ การดาํ เนินงาน 8. ฝกึ อบรมเจา้ หนา้ ที่ของหนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบและสง่ เสริมให้ความรู้กบั ประชาชน ประชาสัมพนั ธ์ให้ประชาชนมีสว่ นรว่ มในการจัดการของเสยี อนั ตรายอยา่ งถกู วิธี

73   2.2.2 ผปู้ ระกอบการ 1. ไม่ทิ้งของเสียอันตรายประเภทนาํ้ มนั เครื่อง ทินเนอร์ นํ้ามนั สน น้าํ ยา ฟอกขาวนํ้ายาทาํ ความสะอาด 2. ไม่ท้ิงน้ํายาล้างรูป หมกึ พมิ พ์ ของเสียติดเชอื้ สารเคมีจากหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร หลอดฟลอู อเรสเซนต์ ถ่านไฟฉาย ฯลฯ รวมไปกบั ขยะมลู ฝอยทัว่ ไป 3. ไมท่ ง้ิ ลงพ้นื ไมฝ่ งั ดิน ไมท่ ้ิงลงทอ่ ระบายนํา้ หรอื แหลง่ น้าํ 4. แยกเก็บของเสยี อนั ตรายไวใ้ นภาชนะเดมิ ที่รั่วซึม เพอ่ื รอหนว่ ยงานทอ้ งถนิ่ มาเก็บไปกําจัด 5. นาํ ไปทงิ้ ในภาชนะท่ที อ้ งถน่ิ จัดทําใหห้ รอื นาํ ไปทิง้ ในสถานท่ี ท่กี าํ หนด นําซากของเสียอันตรายไปคนื รา้ นตัวแทนจําหนา่ ย เช่น ซากแบตเตอร่ี ซากถา่ นไฟฉาย ภาชนะ บรรจุ ยาฆา่ แมลง 2.3 ขยะอิเล็กทรอนกิ ส์ การจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ ถ้าไม่มีวิธีการจัดการที่เหมาะสม อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและส่ิงแวดล้อม เช่น การเผาสายไฟ เพื่อนํา ทองแดงไปขาย ทําให้เกิดไอระเหยของพลาสติกและโลหะบางส่วน ซ่ึงเป็นสาเหตุของการเป็น โรคมะเร็ง การเผาแผงวงจรเพื่อหลอมตะก่ัวและทองแดง ทําให้ตะกั่วแพร่กระจายสู่ร่างกาย ทางการหายใจ และอากาศ ซ่ึงจะสะสมในดินและน้ํา กลับเข้าสู่ห่วงโซ่อาหาร การใช้กรดสกัด โลหะมีค่าแผงวงจร โดยไม่มีกระบวนการบําบัดน้ําเสีย ทําให้เกิดการปนเป้ือนของนํ้าเสียสู่ดิน และแหล่งน้ํา การรื้อ แกะตู้เย็นและเคร่ืองปรับอากาศ โดยไม่มีอุปกรณ์ดูดเก็บ สารทําความ เยน็ ทาํ ให้สารทําความเยน็ หลดุ ออกสู่บรรยากาศ ทาํ ลายชั้นโซน วธิ ีการจดั การขยะอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ดว้ ยหลัก 3 R คอื 1. การลดใช้ (Reduce) หมายถงึ ลดการบริโภคตั้งแตแ่ รก ไม่ซ้อื ของฟมุ่ เฟือย และหาก จําเป็นต้องซ้ือให้เลือกซ้ือผลิตภัณฑ์ท่ีปลอดภัย ไม่มีสารอันตรายหรือมีในปริมาณตํ่า ประหยัด พลังงานและสามารถรีไซเคิลได้ง่าย เม่ือผลิตภัณฑ์กลายเป็นซาก โดยอาจพิจารณาเลือกซื้อ สินค้าที่มีฉลาก มอก. หรอื ฉลากเขียว หรือฉลากสนิ ค้าที่เปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดล้อม 2. การใช้ซํ้า (Reuse) หมายถึง การยืดอายุการใช้งานผลิตภัณฑ์ โดยอาจซ่อมแซม (Repair) หรือปรบั ปรงุ ให้ทันสมัย (Upgrade) โดยระมัดระวังไม่ให้สารอันตรายจากชิ้นส่วนเก่า ปนเปอื้ นสู่สิง่ แวดลอ้ ม

74   3. การรีไซเคิล (Recycle) การขายเพ่ือนําไปรีไซเคิลควรขายให้เฉพาะผู้ประกอบการ ทขี่ นึ้ ทะเบียนและได้รับอนุญาตจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และหากเป็นขยะอิเล็กทรอนิกส์ท่ีไม่มี การรับซ้ือคืน ควรแยกทิ้งออกจากขยะท่ัวไป เพ่ือให้หน่วยงานท้องถ่ินนําไปกําจัดหรือรีไซเคิล อย่างถกู ตอ้ งตอ่ ไป ตารางท่ี 5.1 ผลกระทบตอ่ สุขภาพ เมอ่ื สารพษิ จากวัสดุอันตรายเข้าสู่รา่ งกาย ผลติ ภัณฑ์ สารพิษ ผลตอ่ สุขภาพเมอื่ สารพษิ เข้าส่รู า่ งกาย ถา่ นไฟฉาย สารแมงกานีส - ปวดศรีษะ ง่วงนอน อ่อนเพลยี กระป๋องสี ซึมเศร้า - อารมณ์แปรปรวน จติ ใจไม่สงบ หลอดฟลูออเรสเซนต์ สารปรอท ประสาทหลอน สารฆา่ แมลง - เกดิ ตะคริวที่แขน ขา - สมองสับสน สมองอกั เสบ แบตเตอร่รี ถยนต์ สารตะก่วั - เกิดการระคายเคืองตอ่ ผิวหนงั สารเคมีกาํ จดั แมลง - เหงอื กบวม อักเสบ เลอื ดออกงา่ ย กระป๋องสี ปวดทอ้ ง ท้องร่วงอย่างรนุ แรง - กลา้ มเน้ือกระตกุ หงดุ หงดิ โมโหงา่ ย -ปวดศรษี ะ ออ่ นเพลีย ตัวซดี - ปวดทอ้ ง ปวดกล้ามเน้อื - ความจาํ เสอ่ื ม ชักกระตกุ หมดสติ สเปรย์ นา้ํ ยาย้อมผม สารพิษอ่ืน ๆ - เกดิ การระคายเคอื งต่อผวิ หนงั คัน หรอื บวม - ปวดศรษี ะ หายใจขัด เปน็ ลม

75   เรือ่ งที่ 3 วิธีการท่ีจะช่วยลดปัญหาวสั ดุทีเ่ ปน็ พิษตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม 1. เลิกหรอื หลกี เลย่ี งการใชผ้ ลิตภณั ฑท์ ี่ก่อใหเ้ กดิ วสั ดหุ รอื ขยะทีเ่ ป็นพิษ 1. เลกิ หรอื หลีกเลีย่ งการใช้ผลิตภัณฑท์ ีม่ ีสารอันตราย เชน่ ถา่ นนเิ กิลแคลเมยี ม หรอื ถา่ นราคาถูกท่ไี ม่ไดม้ าตรฐาน โดยเลอื กใช้ถา่ นอัลคาไลน์แทน 2. เลือกใช้สารสกดั จากธรรมชาตหิ รือสมุนไพรแทนสารเคมสี งั เคราะห์ เชน่ ยากนั ยงุ ทผี่ ลติ จากสารสกดั ธรรมชาติ 3. เลอื กใช้สินค้าท่ีมมี าตรฐานในการรกั ษาสิง่ แวดล้อม โดยการสงั เกตฉลาก เขยี ว หรอื ฉลากสง่ิ แวดลอ้ มอืน่ ๆ 4. ใช้ผลิตภณั ฑ์ท่มี ีอายกุ ารใช้งานยาวนาน เชน่ ถ่านไฟฉายชนิดอัดประจไุ ด้ หลอดฟลูออเรสซนต์ ที่มจี ํานวนชั่วโมงการใช้งานสูง 2. คิดกอ่ นทง้ิ และท้งิ อยา่ งระมัดระวงั 1. ก่อนท้ิงควรพจิ ารณาขยะในมอื วา่ เป็นขยะท่ีกอ่ ให้เกิดอันตรายหรือมีพษิ ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มหรือไม่ 2. จัดเก็บวสั ดอุ นั ตรายในภาชนะบรรจุเดิม เพือ่ ป้องกันการแตกหกั เชน่ เมอื่ เปล่ียนหลอดฟลูออเรสเซนต์ใหม่ ให้เก็บหลอดเกา่ ในกล่องเหมือนเดมิ หรอื ห่อดว้ ยกระดาษ หนงั สอื พิมพ์ เป็นตน้ 3. วสั ดุอันตรายทีเ่ ปน็ ของเหลวควรแยกประเภท ไมเ่ ทรวมกนั โดยเกบ็ ไว้ใน ภาชนะทไ่ี ม่รวั่ ซมึ อยู่ในทรี่ ่มและใหพ้ น้ มอื เดก็ แลว้ นําไปทิ้งในภาชนะหรือสถานท่ีที่กําหนด เพื่อรอการเกบ็ รวบรวมและนาํ ไปกําจัดอย่างปลอดภยั 3. แยกทิง้ ให้ถูกท่ี แยกท้ิงใหถ้ ูกท่ี ทิง้ วัสดุทีเ่ หลอื ใช้ ทเ่ี ปน็ พษิ เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ถ่านไฟฉาย ภาชนะบรรจสุ ารเคมี ฯลฯ ในถงั รองรับขยะอนั ตราย ที่มสี แี ดง เท่านั้น ไมท่ ิ้งขยะ อนั ตรายปะปนไปกบั ขยะทวั่ ไป และไมน่ าํ ไปเผา ฝังดินหรอื ทงิ้ ลงทอ่ ระบายนา้ํ เพราะจะทาํ ให้ สารพิษ มกี ารปนเปื้อนในสิง่ แวดล้อมได้

76   4. ตดิ ต่อหน่วยงานท่มี หี นา้ ทีก่ ําจัดขยะมูลฝอย ตดิ ตอ่ หนว่ ยงานท่ีมีหนา้ ที่กําจดั ขยะมลู ฝอย กรุงเทพมหานคร หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือรบั ขยะอนั ตรายนําไปกาํ จัดอย่างถกู วิธี กจิ กรรมทา้ ยหน่วยการเรียนที่ 5 หลังจากที่ผู้เรียนศึกษาเอกสารชุดการเรียนหน่วยท่ี 5 จบแล้ว ให้ผู้เรียนค้นคว้า เพ่มิ เติมจากแหล่งเรียนรูต้ า่ ง ๆ แลว้ ทํากิจกรรมการเรียนรู้หน่วยท่ี 5 ในสมุดบันทึกกิจกรรมการ เรียนรู้ แล้วจดั สง่ ตามที่ผู้สอนกาํ หนด

77 บรรณานุกรม กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม. (2547). การจดั การขยะ มลู ฝอยอย่างครบวงจร (พิมพค์ รงั้ ที่ 4). กรงุ เทพฯ : คุรุสภาลาดพรา้ ว. กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม. (2550). คู่มือประชาชน เพือ่ การลด คดั แยก และใช้ประโยชนข์ ยะมูลฝอยชมุ ชน (พมิ พค์ รั้งที่ 2). กรงุ เทพฯ : กชกร พบั ลิชชงิ สาํ นักจดั การกากของเสียและสารอนั ตราย กรมควบคมุ มลพิษ. กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม. (2557). คมู่ ือการสรา้ งวินยั สูก่ ารจดั การขยะทย่ี งั่ ยนื . กรุงเทพมหานคร. กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม. (2558). คู่มอื การดาํ เนนิ งานลดคัดแยกขยะมลู ฝอยภายในอาคารสํานกั งาน. พมิ พค์ ร้ังที่ 4. กรงุ เทพฯ : บริษัทฮซี ์ จํากัด. กรมควบคุมมลพษิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (2558). คมู่ ือประชาชน การคัดแยกขยะมลู ฝอยอยา่ งถกู วธิ ีและเพิ่มมลู คา่ (พิมพ์คร้งั ท่ี 7). กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั ฮีซ์ จํากัด. ดลเดช ตั้งตระการพงษ์. โครงการศกึ ษาวจิ ยั การบริหารจัดการขยะมลู ฝอยในภาพรวม ของจงั หวดั สโุ ขทยั . วจิ ัย (มหาวิทยาลยั นเรศวร). นฤมล พว่ งประสงค์. (2553). คู่มอื ขยนั ก่อนสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3. กรงุ เทพฯ : แม็ค จํากัด. พริ ยี ตุ ม์ วรรณพฤกษ์. (2555). การปรบั ปรุงนโยบายการจดั การขยะมลู ฝอยของประเทศไทย. สงขลา : บณั ฑิตยม์ หาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎบี ณั ทิต (สาขาการจดั การสงิ่ แวดล้อม). ถา่ ยเอกสาร. ไพฑูรย์ ประสมศร.ี (2543). วสั ดศุ าสตร.์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบนั ราชภัฎเพชรบรุ ี. (ม.ป.พ.) ลัดลาวัลย์ กัณหสวุ รรณ. (2547). การรไี ซเคิลเพื่อประหยดั พลังงาน. กรงุ เทพฯ : นานมบี ๊คุ ส์ พบั ลิเคชัน่ ส.์ วงศวิวรรธ ธนูศลิ ป์ และคณะ. (ม.ป.ป.). คมู่ ือดําเนินการต้งั ศนู ย์เรยี นร้กู ารจดั การขยะชุมชน และศนู ยข์ ยะรไี ซเคลิ . ขอนแก่น : ม.ป.ท.

78 วรรณทิพา รอดแรงค้า และคณะ. (2559). หนังสือเรียน รายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5. กรงุ เทพฯ : บริษทั พฒั นาคุณภาพวิชาการ (พว.) จาํ กัด. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2559). หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4. (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. สมพงษ์ จนั ทร์โพธ์ิศรี. (2558). คู่มือเตรยี มสอบ วทิ ยาศาสตร์ ป.4-5-6. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลชิ ชิ่ง. สินธุ์ธู ลยารมภ์. (2559). เจาะลึกเนื้อหา วิทยาศาสตร์ ป.3 ฉบับเข้มข้น. กรงุ เทพฯ : ไฮเอด็ พับลชิ ชิ่ง. สาํ นักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สาํ นักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธกิ าร. (2554). หนงั สอื เรียนสาระความร้พู ืน้ ฐาน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (พว 31001). (ม.ป.พ.).

79 ทมี่ าภาพประกอบชุดวชิ า หน่วยท่ี 1 วสั ดุศาสตรร์ อบตัว ภาพท่ี ช่อื ภาพ ท่ีมา ภาพที่ 1.3 แสดงการนาความรอ้ น https://www.slideshare.net/golfsit/3- 51084454 ภาพท่ี 1.4 แสดงการแผร่ งั สี http://thanapat53a25.wikispaces.com/ 3.การแผร่ ังสี(Radiation) หนว่ ยท่ี 2 การใช้ประโยชน์และผลกระทบจากการใชว้ ัสดุ ภาพท่ี ชอ่ื ภาพ ท่ีมา ภาพท่ี 2.5 ผลกระทบของ http://contentcenter.prd.go.th/content ขยะมูลฝอยต่อแมน่ า viewfullpage.aspx?folder=942&su ลาคลอง bfolder=&contents=49849 ภาพที่ 2.6 ตัวอยา่ งฉลากสาหรับ http://www.thailandindustry.com/ สนิ คา้ หรอื บรกิ ารประเภท indust_newweb/articles_preview ท่ี 1 .php?cid=19202 ภาพที่ 2.7 ตวั อย่างฉลากสาหรับ http://www.thaitextile.org/index.php/ สนิ ค้าหรอื บริการประเภท blog/2016/05/ebook_Envo_04 ที่ 2 ภาพท่ี 2.8 ตัวอย่างฉลากสาหรับ http://www.thaitextile.org/index.php/ สินคา้ หรอื บรกิ ารประเภท blog/2016/05/ebook_Envo_04 ที่ 3 ภาพที่ 2.9 ตวั อยา่ งฉลากสาหรบั http://www.thaitextile.org/index.php/ สินค้าหรอื บรกิ ารประเภท blog/2016/05/ebook_Envo_04 ท่ี 4

80 หน่วยที่ 3 การจัดการวัสดุท่ใี ช้แลว้ ภาพท่ี ชอ่ื ภาพ ทมี่ า ภาพท่ี 3.1 แสดงการกาจัด http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/ ขยะมลู ฝอยดว้ ยวิธี book.php?book=15&chap=8&page= การฝงั กลบ t15-8-infodetail05.html ภาพท่ี 3.5 การนาส่ิงของมา http://www.naibann.com/14-creative-low- ดัดแปลงใช้ประโยชน์ budget-garden-planter-ideas/ ภาพท่ี 3.6 การรีไซเคลิ หรอื http://www.bantub.go.th/news- การแปรรูปขยะนา promote-page.php?id=83 กลบั มาใชใ้ หม่ ภาพท่ี 3.7 ภาพแสดงถงั ขยะสี http://psu10725.com/2558/?p=1870 เขยี วและสัญลกั ษณ์ ภาพท่ี 3.8 ภาพแสดงถงั ขยะสี http://psu10725.com/2558/?p=1870 เหลอื งและสัญลักษณ์ ภาพที่ 3.9 ภาพแสดงถังขยะสี http://psu10725.com/2558/?p=1870 แดงและสญั ลกั ษณ์ ภาพที่ 3.10 ภาพแสดงถังขยะสีฟา้ http://psu10725.com/2558/?p=1870 หรือสีนาเงนิ และ สัญลักษณ์ ภาพท่ี 3.11 ภาพแสดงถงั ขยะสี http://www.thaihealth.or.th/Content/ ขาวติดสติกเกอร์ 31859- สัญลกั ษณ์และ ขอ้ ความประเภทขยะ ภาพที่ 3.12 ขยะท่ีถูกบบี อัด http://www.prdnorth.in.th/ct/news/ เปน็ กอ้ นเพอ่ื ลด viewnews.php?ID=150829113541 ปรมิ าณขยะ

81 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 การจดั การวสั ดทุ ี่ใช้แลว้ (ต่อ) ภาพที่ ชือ่ ภาพ ทีม่ า ภาพท่ี 3.13 ภาพเตาเผาวสั ดุ https://th.wikipedia.org/wiki/การเผาขยะ #.E0.B9.80.E0.B8.97.E0.B8.84.E0.B9.82. E0.B8.99.E0.B9.82.E0.B8.A5.E0.B8.A2.E0. B8.B5 ภาพท่ี 3.13 การเผาเศษวัสดุเหลอื ทิง https://th.wikipedia.org/wiki/การเผาขยะ# เชงิ ตะกอน .E0.B9.80.E0.B8.97.E0.B8.84.E0.B9.82.E0. B8.99.E0.B9.82.E0.B8.A5.E0.B8.A2.E0.B8. B5 รปู ที่ 3.14 ถงั เผาเศษวัสดเุ หลือทงิ http://www.engineer.mju.ac.th/wtms_webpag eDetail.aspx?wID=1260 ภาพที่ 3.16 ห้องเผาของเตาแบบ https://th.wikipedia.org/wiki/การเผาขยะ ตะกรับเคลือ่ นที่ ทีส่ ามารถ #.E0.B9.80.E0.B8.97.E0.B8.84.E0.B9.82. จดั การกับเศษวัสดุ E0.B8.99.E0.B9.82.E0.B8.A5.E0.B8.A2.E0. 15 ตนั ตอ่ ช่ัวโมง B8.B5 ภาพท่ี 3.17 เตาเผาแบบหมุน https://thai.alibaba.com/product-detail/ carbonizer-rotary-kiln-rotary- kiln- sponge-iron-rotary-kiln-cement- plant-1404895874.html

82 หน่วยท่ี 4 การคดั แยกและรีไซเคลิ วัสดุ ภาพท่ี ชือ่ ภาพ ที่มา ภาพท่ี 4.5 แสดงตารางสญั ลักษณ์ http://www.2bgreen4ever.com/ พลาสตกิ และตัวอยา่ ง 14875230/การจัดการขยะ-รไี ซค์เคิล ภาพท่ี 4.6 ภาชนะทผี่ ลติ จาก http://must.co.th/?page=news เทอร์โมเซตติงพลาสติก (Thermosetting plastic) ภาพที่ 4.7 ด้ายซา้ ย แก้วดนี าไปรยี ูส http://www.2bgreen4ever.com/ ด้านขวา แก้วแตกเข้า 14875230/การจดั การขยะ-รไี ซค์เคิล กระบวนการรีไซเคลิ ภาพที่ 4.10 ซา้ ยอะลมู ิเนียมหนา http://www.kkworldrecycle.com/th/inde และขวาอะลมู เิ นยี มบาง x_metal.html

83 คณะผ้จู ดั ทำ ที่ปรกึ ษำ ผูอ้ านวยการสถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นายวิเชียรโชติ โสอุบล รองผูอ้ านวยการสถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื นายทรงเดช โคตรสนิ ผู้เชย่ี วชำญเน้อื หำ อาจารย์ประจาวิชาฟสิ กิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ นายฐิติพงษ์ อนุ่ ใจ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุบลราชธานี ผเู้ ช่ยี วชำญดำ้ นเทคโนโลยี ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ นายสทิ ธิพร ประสารแซ่ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ นายไพจิตร ผดุ เพชรแก้ว สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ นายสชุ าติ สุวรรณประทีป สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ครู วิทยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ นายสมชาย คาเพราะ สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ผ้เู ช่ียวชำญดำ้ นวัดและประเมนิ ผล ครู วิทยฐานะครชู านาญการพิเศษ นางสาวนาลีวรรณ บุญประสงค์ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ครู วิทยาฐานะครูชานาญการพิเศษ นางสาวฉันทลักษณ์ ศรีผา สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ครู วิทยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ นางแสงจันทร์ เขจรศาสตร์ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

84 คณะบรรณำธิกำร ตรวจสอบควำมถูกต้องและพิสจู น์อักษร นายฐิตพิ งษ์ อนุ่ ใจ อาจารย์ประจาวิชาฟิสกิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี นางลดั ดา คัมภรี ะ ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื นางสาววิภานิตย์ สุขเกษม ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ นางนทิ รา วสุเพ็ญ ครู วิทยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื นางสวุ มิ ล ทรงประโคน ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพิเศษ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื นางทวภี รณ์ บญุ ลา ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ นางสาวธนาภรณ์ แสงใส ครู กศน.อาเภอวาปีปทุม นางศรัญญา โนนคู่เขตโขง ครู สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ นางอรัญญา บวั งาม ขา้ ราชการบานาญ สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ผ้เู ขียน/รวบรวม/เรียบเรียง ครู กศน.อาเภอวาปปี ทุม จังหวดั มหาสารคาม นางสาวธนาภรณ์ แสงใส ผอู้ อกแบบปก กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและ นายศุภโชค ศรีรตั นศิลป์ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย