โครงงานพฒั นาสอื่ หนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ สส์ ามมติ ิ เรือ่ ง ทอ่ งโลกอาเซยี น อาจารย์ประจาวิชาอาจารย์ลัดดา สรรพคณุ สมาชิกกลมุ่นางสาวน้าผึ้ง เสอื ศริ ิ 5710111252010นางสาวขวญั หทัย นาคกญุ ชร 5710111252011นายจกั รพนั ธ์ุ บุญชู 5710111202018นางสาวนสุ รา สละกดู งิ 5710111252026นางสาวนวรตั น์ พลดงนอก 5710111252028นางสาวธดิ ารตั น์ ชมภชู ยั 5710111252036สาขาวิชาคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา ชนั้ ปที ี่ 4โครงงานน้เี ป็นสว่ นหน่งึ ของรายวชิ าโครงงานคอมพวิ เตอร์ศึกษา 2 วิทยาลยั การฝกึ หดั ครู มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2560
โครงงานพฒั นาส่ือหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซยี น อาจารยป์ ระจาวิชา อาจารย์ลดั ดา สรรพคุณ สมาชกิ กลุม่นางสาวนา้ ผ้ึง เสอื ศิริ 5710111252010นางสาวขวัญหทยั นาคกุญชร 5710111252011นายจักรพนั ธ์ุ บญุ ชู 5710111202018นางสาวนุสรา สละกดู ิง 5710111252026นางสาวนวรัตน์ พลดงนอก 5710111252028นางสาวธิดารัตน์ ชมภูชัย 5710111252036 สาขาวิชาคอมพวิ เตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 4โครงงานนี้เปน็ ส่วนหนงึ่ ของรายวชิ าโครงงานคอมพิวเตอร์ศึกษา 2 วิทยาลัยการฝกึ หดั ครู มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2560
กชอื่ เรือ่ ง : โครงงานพัฒนาส่อื หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียนประเภทของโครงงาน : โครงงานพฒั นาสอื่ เพ่ือการศึกษาผู้จัดทาโครงงาน : นางสาวนา้ ผึ้ง เสอื ศิริ 5710111252010 นางสาวขวญั หทยั นาคกุญชร 5710111252011 นายจักรพันธุ์ บญุ ชู 5710111202018 นางสาวนสุ รา สละกดู ิง 5710111252026 นางสาวนวรตั น์ พลดงนอก 5710111252028 นางสาวธิดารัตน์ ชมภูชยั 5710111252036อาจารยป์ ระจาวิชา : อาจารย์ลัดดา สรรพคณุปกี ารศึกษา : 2/2560 บทคัดย่อ การจัดทาโครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียน ในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นส่ือให้ความรู้แก่นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชาการจัดการเรียนรู้อาเซียนศึกษาระดับประถมศึกษา ได้แก่ นักศึกษาสาขาสังคมศึกษา และนักศึกษาสาขาประถมศึกษา รวมถึงผู้ท่ีสนใจเร่ืองเก่ียวกับประชาคมอาเซียนได้ศึกษา โดยการสร้างหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียน ใช้โปรแกรม Adobe InDesign ในการออกแบบ จัดวางเน้ือหา ภาพต่าง ๆ โปรแกรม Adobe Photoshopใช้ตกแต่งภาพ เพิ่ม Effect ต่าง ๆ และ แอปพลิเคชัน Aurasma ใช้เป็นตัวกลางสาหรับเชื่อมโยงโลกของความจริง และความจริงเสมือนเข้าด้วยกัน โดยแสดงผลออกมาในรูปแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ที่มองเห็น เป็นภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว เสียง คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามข้ันตอนที่ได้วางแผนไว้และได้นาเสนอเผยแพรผ่ ลงานโดย การนาเสนอและใหก้ ลมุ่ ตัวอย่างได้ทดลองใชง้ านจริงดว้ ยตวั เอง ผลการจัดทาโครงงาน พบว่าการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียนได้เผยแพร่ความรู้เก่ียวกับประชาคมอาเซียนในรูปแบบเทคโนโลยีความจริงเสมือนผ่านแอปพลิเคชันAurasma ได้รับความสนใจและเป็นส่ือให้ความรู้ท่ีมีประโยชน์ สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่เปน็ แหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์ในการรับขอ้ มลู แต่ก็ยงั มีขอ้ จากัดในเรื่องของความเรว็ ของอินเทอร์เนต็
ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบับน้ีสาเร็จได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์ประจาวิชา อาจารย์ลัดดา สรรพคุณ ซ่ึงได้ให้คาปรึกษาแนะนาข้อช้ีแนะต่าง ๆ ท้ังให้กาลังใจ และความช่วยเหลือ จนกระท่ังโครงงานสาเรจ็ ลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอบคุณกลุ่มตัวอย่างและผู้ที่ให้ความสนใจที่ให้ความร่วมมือ สนใจท่ีจะศึกษาเป็นอย่างดี ขอบคุณแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เว็บไซต์ งานวิจัย ท่ีผู้จัดทาได้ไปรวบรวมศึกษาข้อมูลต่าง ๆ เก่ียวกับเร่ืองประชาคมอาเซียน ซึ่งได้อ้างอิงไว้แล้ว ท้ายสุดนี้คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิง ว่าโครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา เป็นที่น่าสนใจสาหรับผู้ที่สนใจจะพัฒนาและศกึ ษาตอ่ ๆ ไป หากผิดพลาดประการใดผูจ้ ัดจาก็ขออภยั ไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย คณะผู้จดั ทา
สารบัญ คเรอ่ื ง หน้าบทคดั ย่อ กกติ ตกิ รรมประกาศ ขสารบญั คสารบญั ตาราง งสารบัญรูปภาพ จบทที่ 1 บทนา 1 1 1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 2 1.3 ขอบเขตของโครงงาน 3 1.4 วิธีการดาเนนิ งาน 3 1.5 ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 6บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง 6 2.1 ประชาคมอาเซยี น 8 2.2 การผลติ สื่อหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์สามมติ ิ เรื่อง ท่องโลกอาเซียน 13 2.3 วธิ กี ารสรา้ งหนงั สอื อเิ ลก็ ส์ทรอนิกสส์ ามมิติ เรื่องทอ่ งโลกอาเซียน 14 2.4 เอกสารงานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง 16บทท่ี 3 วิธีการดาเนินงาน 16 3.1 ขน้ั ตอนการดาเนินการ 16 3.2 วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 17 3.3 วสั ดอุ ุปกรณ์ เคร่ืองมือหรือโปรแกรมทใ่ี ช้ในการพัฒนาโครงงาน 22บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 18 4.1 ผลการพฒั นาโครงงาน 19 4.2 ตัวอย่างผลงาน
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ ค 5.1 การดาเนินงานจดั ทาโครงงาน 5.2 สรุปผลการดาเนนิ งานโครงงาน 25 5.3 ข้อเสนอแนะ 25 5.4 ปญั หา อุปสรรค และแนวทางในการพฒั นา 25 26เอกสารอา้ งอิง 26ภาคผนวก 27 29
ง สารบญั ตาราง หน้าตารางที่ 5ตารางสงั เคราะห์เน้อื หาท่ี 1 สือ่ หนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ สส์ ามมติ ิ เรื่อง ท่องโลกอาเซยี น 6ตารางสงั เคราะหเ์ นอื้ หาที่ 2 ส่อื หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกสส์ ามมิติ เรื่อง ท่องโลกอาเซียน 7ตารางสังเคราะหเ์ นอ้ื หาท่ี 3 ส่อื หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เรื่อง ท่องโลกอาเซยี น 17ตารางระยะเวลาในการดาเนินงาน 21ตารางแบบสอบถามความพึงพอใจ 22ตารางผลการวเิ คราะหแ์ บบสอบถามความพงึ พอใจ
สารบญั รูปภาพ จภาพท่ี หน้าภาพท่ี 1 Template Adobe InDesignภาพที่ 2 โปรแกรม Photoshop 8ภาพท่ี 3 Logo AR 9ภาพท่ี 4 แอปพลเิ คชันเสมือนจริง 9ภาพที่ 5 เกมที่ใชแ้ อปพลิเคชนั AR 10ภาพท่ี 6 Logo Aurasma 11ภาพท่ี 7 สร้างหนงั สอื อิเล็กส์ทรอนิกสส์ ามมติ ิ 12ภาพท่ี 8 แผ่นพบั ค่มู ือการใชง้ าน 13ภาพท่ี 9 เวบ็ ไซต์การสรา้ งสื่อ AR 13ภาพท่ี 10 Aurasma 14ภาพท่ี 11 Aurasma 30ภาพที่ 12 Aurasma 30ภาพท่ี 13 Aurasma 31ภาพที่ 14 Aurasma 31ภาพที่ 15 Applications Aurasma 32ภาพท่ี 16 Applications Aurasma 33ภาพท่ี 17 สแกนบาร์โค้ด 33ภาพท่ี 18 follow 34ภาพที่ 19 สแกนหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ 34ภาพที่ 20 วดี ที ัศน์ ประเทศไทย 34ภาพที่ 21 หน้าปก 35ภาพที่ 22 คู่มอื การใชง้ าน 35ภาพที่ 23 คู่มือการใชง้ าน 36ภาพที่ 24 หนา้ ปกรปู 36ภาพที่ 25 คาแนะนาการใชง้ าน 37 37
ภาพท่ี 26 กาเนดิ อาเซียน จภาพที่ 27 บรูไนภาพท่ี 28 กัมพชู า 38ภาพที่ 29 อนิ โดนเี ซีย 38ภาพที่ 30 ลาว 39ภาพที่ 31 มาเลเซีย 39ภาพท่ี 32 เมยี นมา 40ภาพท่ี 33 ฟลิ ิปปินส์ 40ภาพท่ี 34 สงิ คโปร์ 41ภาพท่ี 35 เวียดนาม 41ภาพที่ 36 ไทย 42ภาพท่ี 37 โปรแกรม Adobe InDesign 42ภาพที่ 38 การไดคทั รูปภาพ 43ภาพที่ 39 การใชเ้ ครอ่ื งมือ Quick Selection Tool 44ภาพท่ี 40 การใชเ้ ครือ่ งมือ Quick Selection Tool 45ภาพที่ 41 การแยกภาพ 45ภาพท่ี 42 การใส่ฉากหลัง 46ภาพที่ 43 ปรับขนาดภาพ 46 47 47
1 บทที่ 1 บทนา1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในยุคโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันน้ีสถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ให้ความสาคัญกับการรวมตัวกันในภูมิภาคเพื่อเพ่ิมอานาจต่อรองและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศ และเหตุนี้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงกาหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนข้ึนมาท่ีประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมือง ความม่ันคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน (ทีม่ า : พรทิพา.2559.https://goo.gl/edhijW) อาเซียน (ASEAN) เป็นการรวมตัวกันของ 10 ประเทศในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้นาอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฏิญญาว่าด้วย ความร่วมมืออาเซียนเห็นชอบ ให้จัดต้ัง ประชาคมอาเซียน(ASEAN Community) คือ เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดต้ังสมาคมอาสา (Association ofSouth East Asia) เมื่อเดือน กรกฎาคม 2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมจะมีการเปิดกว้างให้ประชาชนในแต่ละประเทศสามารถเข้าไปทางานในประเทศสมาชิกในประชาคมอาเซียนได้อย่างเสรี เหมือนเป็นประเทศเดียวกัน ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและการมีงานทาของคนไทย จงึ ถือเปน็ เรอ่ื งสาคญั ที่จะตอ้ งศึกษาและทาความเข้าใจเกย่ี วเรื่องประชาคมอาเซียน(ท่มี า : http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm) การศกึ ษาในยุคปัจจุบนั มกี ารนาเทคโนโลยเี ข้ามาประยกุ ตใ์ ช้กบั การศึกษา เพอ่ื ช่วยเสรมิ แรงจูงใจให้กับผู้เรียน ให้มีความต้ังใจเรียน และช่วยเร้าความสนใจในการเรียนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังทาให้สื่อการจัดการเรียนรมู้ ีความหลากหลายมากยง่ิ ขึ้น และวิธีการถ่ายทอดความรกู้ จ็ ะแตกต่างไปจากเดิม ซึง่ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ ก็เป็นสื่อการเรียนรู้ท่ีมีความน่าสนใจ มีความแตกต่างจากหนังสือธรรมดาเพราะมีท้ังรปู ภาพสามมติ ิ และวีดีโอ ซึง่ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในการออกแบบและจดั ทามดี ังนี้ โปรแกรม Adobe InDesign เป็นโปรแกรมสาหรับงานด้านสิ่งพิมพ์ งานออกแบบเอกสาร หรือเรียกกันงา่ ย ๆ วา่ โปรแกรมจดั หน้ากระดาษ ระบบการทางานของโปรแกรม InDesign นั้น จะไมส่ ามารถใช้ InDesign เดี่ยว ๆ ได้จะต้องมีความรู้พ้ืนฐานของ Photoshop เพราะต้องมีการเตรียมรูปภาพจากPhotoshop และเตรียมคลปิ อารต์ หรอื Logo ตา่ งๆ จงึ จะทาใหไ้ ดร้ ูปเลม่ หนงั สือออกมา(ทม่ี า : http://pycknokmiu.blogspot.com/2013/09/adobe-indesign.html) โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมสร้างและแก้ไขรูปภาพอย่างมืออาชีพโดยเฉพาะนักออกแบบในทุกวงการย่อมรู้จักโปรแกรมตัวน้ีดี โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมที่มีเคร่ืองมือมากมายเพ่ือสนับสนุนการสร้างงานประเภทส่ิงพิมพ์ งานวิดีทัศน์ งานนาเสนอ งานมัลติมีเดีย ตลอดจนงานออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ในชุดโปรแกรม Adobe Photoshop จะประกอบด้วยโปรแกรมสองตัวได้แก่ Photoshop และ Image Ready การที่จะใช้งานโปรแกรม Photoshop คุณต้องมีเครื่องที่มี
2ความสามารถสูงพอควร มีความเร็วในการประมวลผล และมีหน่วยความจาที่เพียงพอ เพราะการทางานจะช้าและมีปัญหาตามมามากมา (ที่มา : http://www.kados.th.gs/web-k/ados/Phoshop.html)จากนั้นจึงจะนาตัว Aurasma เข้ามาผสมผสาน เพื่อสร้างภาพ สามมิติให้แก่หนังสือ Aurasma คือเทคโนโลยีที่ผสมผสานเอาโลกแห่งความจริงเข้ากับโลกเสมอื นโดยผา่ นอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น กล้องถ่ายภาพเข็มทิศ GPS (ท่ีมา : https://prezi.com/bv0dufrxqlzx/aurasma/) ซึ่งในปัจจุบัน การสร้างสื่อการเรียนการสอนก็เต็มไปด้วยรูปแบบใหม่ๆ โดยมีวตั ถุประสงค์ไปในทิศทางเดยี วกนั คอื เพื่อเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการเรียนแกผ่ ู้เรียน จากเหตุผลท่ีกล่าวมาข้างต้น คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นความสาคัญจึงจัดทาโครงงานน้ีขึ้นมาโดยการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียน เพ่ือเป็นส่ือให้ความรู้แก่นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชาการจัดการเรียนรู้อาเซียนศึกษาระดับประถมศึกษา ได้แก่นักศึกษาสาขาสังคมศึกษา และนักศึกษาสาขาประถมศกึ ษา รวมถึงผู้ทส่ี นใจเกย่ี วกบั ประชาคมอาเซียนไดศ้ กึ ษา1.2 วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพือ่ สรา้ งและพัฒนาสื่อหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสส์ ามมิติ เร่อื ง ทอ่ งโลกอาเซยี น 2.2 เพอ่ื ทดลองหาประสิทธิภาพของสื่อหนังสืออิเล็กทรอนกิ สส์ ามมติ ิ เรื่อง ท่องโลกอาเซียน 2.3 เพ่อื ศกึ ษาความพงึ พอใจของสื่อหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกสส์ ามมิติ เรอ่ื ง ท่องโลกอาเซียน1.3 ขอบเขตของโครงงาน1.3.1 ขอบเขตเน้ือหา- กาเนิดอาเซียน- ข้อมูลเบือ้ งตน้ ของประเทศสมาชกิ อาเซียน 10 ประเทศไดแ้ ก่ • บรูไน • กมั พูชา • อนิ โดนเี ซยี • ลาว • มาเลเซีย • เมยี นมา • ฟิลิปปินส์ • สิงค์โปร์ • เวียดนาม • ไทย1.3.2 ขอบเขตประชากร- กลุ่มประชากร นักศกึ ษาท่ลี งทะเบียนวิชาการจดั การเรยี นร้อู าเซียนศกึ ษาระดับประถมศึกษา จานวน 60 คน- กลุม่ ตวั อย่าง นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าสังคมศกึ ษาจานวน 30 คน- กลมุ่ ตัวอย่าง เปน็ การเลอื กโดยการสมุ่ อย่างงา่ ย ผลทีไ่ ด้คอื นักศกึ ษาสาขาวิชาสังคมศึกษาจานวน 30 คน
3 1.3.3 ข้อจากัด - ผู้เรียนตอ้ งมีเคร่อื งโทรศัพท์สมาร์ทโฟน แทบเล็บ หรืออปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทม่ี ีสญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ต - ผเู้ รยี นควรศึกษาและทาความเข้าใจค่มู ือการใชง้ านหนังสืออิเลก็ ทรอนิกสส์ ามมติ ิเรื่อง ทอ่ งโลกอาเซียน1.4 วิธกี ารดาเนินงาน 1.4.1 ร่วมกนั วางแผนเร่อื งทตี่ อ้ งการศกึ ษา 1.4.2 ศึกษาหาข้อมลู วธิ กี ารทาส่ือหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกสส์ ามมติ ิ 1.4.3 ศกึ ษาหาขอ้ มลู และวิเคราะหข์ ้อมลู เรอ่ื งประชาคมอาเซยี น 1.4.4 จดั ทาโครงรา่ งโครงงาน เพอ่ื เสนอต่ออาจารย์ทป่ี รกึ ษาโครงงาน 1.4.5 ปรบั ปรุงโครงรา่ ง 1.4.6 ออกแบบและสรา้ งสือ่ หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกสส์ ามมิติ เรอ่ื ง ทอ่ งโลกอาเซยี น 1.4.7 ทดลองใชง้ านกับกล่มุ ตัวอยา่ ง 1.4.8 ปรับปรุงรูปเล่มโครงงานและหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์สามมติ ิ เรอ่ื ง ทอ่ งโลกอาเซยี น 1.4.9 สรปุ ผลการดาเนินโครงงาน 1.4.10 จัดทาเลม่ โครงงานฉบับสมบูรณ์1.5 ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 1.5.1 ไดส้ ื่อหนงั สอื อิเล็กทรอนิกสส์ ามมติ ิ เร่อื ง ท่องโลกอาเซยี นท่มี ีประสิทธิภาพ 1.5.2 ได้เผยแพร่สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียน ให้แก่นักศึกษาและบคุ คลท่วั ไปที่สนใจ
4 บทท่ี 2 เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานพัฒนาส่ือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียน ให้ความรู้เกยี่ วกบั ประชาคมอาเซียน คณะผจู้ ัดทาได้ศึกษาข้อมูล เอกสารทเี่ กี่ยวข้อง ดงั น้ี2.1 ประชาคมอาเซียน อาเซียน (ASEAN) ย่อมาจาก Association of Southeast Asian Nations หรือ สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นองคก์ รระดับภมู ิภาค ก่อตง้ั ข้นึ โดย 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซยีมาเลเซีย ฟิลิปปนิ ส์ สิงคโปร์ และไทย โดยรว่ มกันจัดทาปฏิญญาอาเซียน ชื่อวา่ ปฏิญญากรงุ เทพฯ ลงนามที่ประเทศไทย เม่ือวันท่ี 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ปัจจุบันสมาชิกอาเซียนมี 10 ประเทศ มีเป้าหมายว่าจะเขา้ สคู่ วามเปน็ ประชาคมอาเซยี น 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 : ไทย อินโดนีเซยี มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ และสิงคโปร์ รว่ มก่อตัง้ อาเซียน 7 มกราคม พ.ศ.2527 : บรไู นเข้าร่วมเปน็ สมาชิก 28 กรกฎาคม พ.ศ 2538 : เวยี ดนามเขา้ รว่ มเป็นสมาชกิ 23 กรกฎาคม พ.ศ 2540 : ลาวและเมียนมา (พม่า) เข้ารว่ มเป็นสมาชิก 9 เมษายน พ.ศ 2542 : กัมพูชา เขา้ รว่ มเปน็ สมาชกิ ตามลาดบั(ท่ีมา : 2557.http://61.47.41.107/w/history)
ตารางสงั เคราะห์เนอ้ื หาที่ 1 ส่ือหนงั สือประเทศเซียน ธงประจาชาติ เมอื งหลวง ภาษา ศาสนา ประจาชาติ ประจาชาต บรูไน บันดารเ์ สรีเบ (BRUNEI) กาวนั ภาษามาเลย์ อสิ ลาม 67% เป็นภาษา พทุ ธนกิ าย กมั พชู า (Bandar Seri ราชการและ มหายาน 13(CAMBODIA) Begawan) ภาษาอังกฤษ ,ครสิ ต์ 10% ใช้ทั่วไป อินโดนเี ซยี กรุงพนมเปญ พุทธ 95%(INDONESIA) ( Phnom ภาษาเขมร อิสลาม 3% Penh ) เป็นภาษา คริสต์ 1.7% ราชการ พราหมณ-์ ฮ จาการต์ า (Jakarta) ภาษา 0.3% อินโดนเี ซยี เป็นภาษา อสิ ลาม 88% ราชการ ครสิ ต์ 8% ฮินดู 2 % พุทธ 1 % ศาสนาอื่นๆ 1%
5ออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียน ดอกไม้ ระบบการ คาทักทาย อาหาร สกุลเงนิติ ประจาชาติ ปกครอง ประจาชาติ% ดอกซิมปอร์ ระบอบ ซาลามัต ดาตงั อัมบยู ตั ดอลล่ารบ์ รไู นย (Simpor) สมบูรณาญาสทิ (Salamat (Ambuyat) ดารุส3% Datang) ซาลาม% ธิราชย์ ( Dollar Brunei Darussalam)% ดอกลาดวน ประชาธิปไตย ซวั สเด อาม็อก เรียล% (Rumdul) โดยมี (Shuo Sa (Amok) (Riel)%ฮินดู พระมหากษัตรยิ ์ Dai) เปน็ ประมุข% ดอกกล้วยไม้ ประชาธิปไตยที่ ซาลามตั เซียง กาโด กาโด รูเปียห์ ราตรี มีประธานาธิบดี (Salamat (Gado (Rupiah) (Moon Gado) Orchid) เปน็ ประมุข Siang)
ตารางสงั เคราะห์เน้อื หาท่ี 2 สือ่ หนังสือ ประเทศ ธงประจาชาติ เมืองหลวง ภาษา ศาสนา เซียน เวียงจันทร์ ประจาชาติ ประจาชาติ ลาว (Vientiane) (LAOS) ภาษาลาว เปน็ ศาสนาพทุ ธ ภาษาราชการ (เถรวาท) ครสิ ตมาเลเซยี(MALAYS อสิ ลามนับถือผ IA) กัวลาลมั เปอร์ ภาษามาเลย์ อิสลาม60.4% (Kuala หรอื ภาษา พุทธ 19.2%เมยี นมา Lampur) มลายู เป็น คริสต์ 11%(MYANM ภาษาราชการ รองลงมาเป็น AR) อังกฤษและจีน เนปีดอ ภาษาพมา่ เปน็ พทุ ธ 90% (Naypyidaw) ภาษาราชการ ครสิ ต์ 5% อิสลาม 3.8%ฟิลปิ ปนิ ส์ กรุงมะนิลา ภาษาฟลิ ปิ ีโน คริสต์ 92%(PHILIPPI (Manila) และ โรมันคาทอลิก NES) ภาษาอังกฤษ 82 % เปน็ ภาษา โปรเตสแตนต์ ราชการ 9%
6ออิเล็กทรอนกิ สส์ ามมติ ิ เร่อื ง ท่องโลกอาเซียน ดอกไม้ ระบบการ คาทักทาย อาหาร สกุลเงิน ประจาชาติ ประจาชาติ ปกครอง สะบายดี กีบ (Sabaidee) ซุบไก่ (Kip)ต์ ดอกจาปาลาว สาธารณรัฐสังคม (Chicken (Dok Champa) นิยม พรรค Soup)ผี การเมืองเดียว% ดอกพ่รู ะหง ประชาธิปไตยใน ซาลามัต ดาตัง นาซเิ ลอมัก รงิ กติ (Bunga Raya) ระบบรัฐสภา (Salamat (Nasi Lemak) (Ringgit) Datang) ระบบเผดจ็ ดอกประดู่ การทหาร มิงกาลาบา หล่าเพ็ด จา๊ ด (Kyat) (Paduak) ปกครองโดย (Mingalar Par) (Lahpet) เปโซ รฐั บาลทหาร (Peso) ระบอบก ดอกพุดแก้ว ประชาธปิ ไตย กมู ุสตา อโดโบ้ (Sampaguita แบบสาธารณรฐั (Kumusta) (Adobo) มปี ระธานาธบิ ดี Jasmine) เป็นประมุข
ตารางสังเคราะห์เนื้อหาที่ 3 สอ่ื หนงั สือประเทศ ธงประจาชาติ เมืองหลวง ภาษา ศาสนา เซยี น ประจาชาติ ประจาชาติ ไม่มีเมอื งหลวงสงิ คโปร์ ภาษาองั กฤษ พทุ ธ 42.5%(SINGAP กรุงฮานอย ภาษามลายู อสิ ลาม 14.9% (Hannoi) ภาษาจนี แมน ครสิ ต์ 14.5% ORE) ดารนิ และ ภาษาทมิฬ ฮินดู 4%เวยี ดนาม ทเ่ี หลือคือผ้ไู ม(VIETNA ภาษาเวียดนาม นบั ถือศาสนา เปน็ ภาษา M) ราชการ ศาสนาพทุ ธ นิกายมหายาน สงู 70% ครสิ ต์ ทเ่ี หลอื นับถอื ลทั ธิ ขงจ้อื มสุ ลมิ ไทย กรงุ เทพ ศาสนาพทุ ธ(THAILA มหานคร ภาษาไทย เป็น นกิ ายมหายาน (Bangkok) ภาษาราชการ สูง 70% ND)
7ออิเล็กทรอนกิ ส์สามมิติ เรือ่ ง ท่องโลกอาเซียน ดอกไม้ ระบบการ คาทักทาย อาหาร สกุลเงนิ ประจาชาติ ปกครอง ประจาชาติ หนีหา่ ว ดอลล่าร์% ดอกกลว้ ยไม้ ปกครองแบบ (Ni Hao) ลกั ซา สงิ คโปร์ม่ แวนดา้ สาธารณรฐั มี (Laksa) ( Dollar ) (Vanda Miss รฐั สภา มี แหนม หรอื ดง่ Joaquim) ประธานาธบิ ดี ปอเปี๊ยะ (Dong) เปน็ ประมขุ เวยี ดนาม บาทน ระบอบสังคม ตม้ ยากุง้ (Baht) นยิ ม โดยพรรค (Tom Yam ดอกบวั คอมมิวนิสต์เป็น ซนิ จา่ ว Goong) (Lotus) พรรคการเมอื ง (Xin Chao) เดยี ว สวัสดี (Sawadee) ระบบ ประชาธิปไตยน ดอกราชพฤกษ์ แบบรฐั สภา (Ratchaphruek) อันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเปน็ ประมขุ
82.2 การผลิตสอ่ื หนังสืออเิ ล็กทรอนิกสส์ ามมติ ิ เร่ือง ทอ่ งโลกอาเซียน ในการสร้างและพัฒนาสื่อหนังสือสามมิติ เรื่อง ท่องโลกอาเซียน มีข้อมูลโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างและพัฒนาสอื่ หนังสอื สามมติ ิ ดงั นี้ 2.2.1 โปรแกรม Adobe InDesign โปรแกรม Adobe InDesign เป็นโปรแกรมสาหรับงานด้าน ส่ิงพิมพ์ งานออกแบบเอกสาร หรือ เรียก ง่ายๆว่า โปรแกรมจัดหน้ากระดาษ จุดเด่น ของ โปรแกรม InDesign คือสามารถทางานดา้ นการจดั หน้ากระดาษได้ เปน็ อยา่ งดซี ง่ึ คล้าย ๆกบั การ นาเอาโปรแกรม PageMaker มารวมกับโปรแกรม Illustrator ภาพท่ี 1 Template Adobe InDesign (ทม่ี า : https://www.mawtoload.com/wp-content/uploads/2017/06/indesign_basic.pdf)ส่วนประกอบของโปรแกรม InDesign 1. Menu Bar ทาหน้าท่ี บรรจุคาส่ังใช้งานต่างๆ การทางานจะคล้ายๆกับโปรแกรมอ่ืน ๆ เช่นPhotoshop และ Illustrator 2. Option Bar ทาหน้าที่ บรรจุตัวเลือกกาหนดคุณสมบัติหรือตัวปรับแต่งการทางานให้กับวัตถุ(ตัวอักษรหรอื ภาพ) ทเี่ รากาลงั เลือกทางาน 3. Tool Bar ทาหนา้ ที่ เคร่อื งมือชนิดต่างๆ ท่ีใชใ้ นการทางาน 4. Document คือ พ้ืนทเ่ี อกสาร สาหรบั การทางาน 5. Pasteboard คอื พ้ืนทว่ี ่างรอบเอกสาร คลา้ ยกบั โตะ๊ ทางานทเี่ ราสามารถวางสิง่ ของอ่ืน ๆ ได้ 6. Guide คือ ไม้บรรทดั สาหรับการวัดระยะหรือสร้างเสน้ Guide 7. Palette ทาหน้าที่ เป็นหนา้ ตา่ งย่อยสาหรับช่วยเสริมการทางาน เม่ือคลกิ ลงไปแตล่ ะปุ่มจะเปน็ การเรยี กใชง้ าน Palette แต่ละชนิด(ที่มา : 2556.http://adodeindesing.blogspot.com/2013/02/adobe-indesign.html)
9 2.2.2 โปรแกรม Adobe Photoshop โปรแกรม Photoshop เปน็ โปรแกรมสาหรับสร้างภาพ และตกแต่งภาพ ซง่ึ เปน็ ลขิ สิทธ์ิของบริษัท Adobe ซึงบริษัท Adobe มีผลิตภัณฑ์ซอฟแวร์เกี่ยวกับด้านกราฟิก มากมายเช่น Adobeillustrator สาหรับทา ภาพเวกเตอร์ Adobe Perimeter สาหรับตัดต่อภาพยนต์ ฯลฯ โปรแกรมPhotoshop เป็นโปรแกรมตกแตง่ ภาพทไี ด้รับความนยิ มมาก เนอื งจากเปน็ โปรแกรมทีใช้ง่าย และรองรับApplication (Plug In) เสรมิ ได้มากมาย ภาพที่ 2 โปรแกรม Photoshopลกั ษณะเดน่ ของ Photoshop 1. Photoshop ทางานเป็น Layer ลักษณะการทางานของ Photoshop จะเหมือนการวางแผ่นใสซ้อน ๆ กัน โดยแต่ละแผ่นจะมีการทางาน ต่างกัน แต่เมือรวมกันแล้วจะเป็นแค่ภาพภาพเดยี ว แต่ละแผน่ ใส(Layer) สามารถสลับไปมาได้ 2. รูปแบบคาสั่งเปน็ แบบ Interface Enhancement ไอคอนและป่มุ คาสง่ั ต่างๆ จะอยู่ในรูปแบบของ Toolbox, Toolbar และ Dialog Box ซ่ึงจัดไว้เป็นหมวดหมู่ โดยคลิกเพื่อใช้งาน และจะมีการตอบโต้ การใช้งานเปน็ แบบ 3 มติ ิ คอื เมอ่ื คลกิ ป่มุ จะยบุ ลงไป 3. สนับสนุนการทาการบนเว็บไซต์ เน่ืองจากไฟล์ภาพท่ีใช้บนเว็บไซต์มีหลายประเภท และโปรแกรม Photoshop สามารถ สร้างภาพท่ีใช้งานบนเว็บไซต์ได้ หลากหลาย(ท่ีมา : 2560.https://goo.gl/Li5xQh) 2.2.3 เทคโนโลยีความจริงเสมือน AR : Augmented Reality Technology เป็นเทคโนโลยีท่ผี สมผสานโลกแห่งความจรงิกับโลกเสมือนเข้าด้วยกัน แสดงผลเป็นสามมิติและสามารถตอบสนองการแสดงผลได้แบบทันที โดยภาพเสมือนจะปรากฏข้ึนมาแสดงร่วมกับสภาพแวดล้อมจริงผ่านอุปกรณ์แสดงผลต่างๆที่มีกล้อง หรือ
10อธิบายง่ายๆว่า เป็นการซอ้ นช้ันของข้อมลู ท่ีอยู่ในรปู กราฟฟิก รปู ภาพ ภาพเคลื่อนไหว หรือข้อความลงไปในภาพจากสถานท่ีจรงิ ๆน้นั (จรงุ ยศ อรัณยะนาค,2560:157) ภาพที่ 3 Logo AR เทคโนโลยี AR แบง่ เปน็ 2 ประเภท ได้แก่ แบบที่ใชภ้ าพสญั ลกั ษณแ์ ละแบบทีใ่ ชร้ ะบบพิกัดในการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือสร้างข้อมูลบนโลกเสมือนจริง ซ่ึงในทางเทคนิคแล้วภาพสัญลักษณ์ท่ีใช้จะนิยมเรียกว่า “Marker” หรืออาจจะเรียกว่า AR Code ก็ได้ โดยใช้กล้องเว็บแคมในการรับภาพเม่ือซอฟต์แวร์ท่ีเราใช้งานอยู่ประมวลผลรูปภาพเจอสัญลักษณ์ท่ีกาหนดไว้ก็จะแสดงข้อมูลภาพสามมิติที่ถูกระบุไว้ในโปรแกรมให้เห็น เราสามารถท่ีจะหมุนดูภาพท่ีปรากฏได้ทุกทิศทางหรือเรียกว่าหมุนได้360 องศา ภาพที่ 4 แอปพลเิ คชันเสมือนจริง (ท่ีมา : 2559.https://goo.gl/ZYvHU1)
11ข้นั ตอนการทาเทคโนโลยีเสมอื นจริง ประกอบด้วย 3 ข้นั ตอน คือ 1. การวิเคราะห์ภาพ (Image Analysis) เป็นข้ันตอนการค้นหา Marker จากภาพที่ได้จากกล้องแล้วสืบค้นจากฐานข้อมูล (Marker Database) ที่มีการเก็บข้อมูลขนาดและรูปแบบของ Markerเพื่อนามาวิเคราะห์รูปแบบของ Marker การวิเคราะห์ภาพ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ การวเิ คราะหภ์ าพโดยอาศัย Marker เป็นหลกั ในการทางาน (Marker based AR) และการวเิ คราะห์ภาพโดยใชล้ ักษณะตา่ งๆ ท่ีอยใู่ น ภาพมาวิเคราะห์ (Marker-less based AR) ภาพที่ 5 เกมท่ีใช้แอปพลเิ คชัน AR ที่มา : (AR Pokemon Go.2559.http://www.naewna.com/inter/224501) 2. การคานวณค่าตาแหนง่ เชงิ 3 มิติ (Pose Estimation) ของ Marker เทียบกับกล้อง 3. กระบวนการสร้างภาพสองมิติ จากโมเดลสามมิติ (3D Rendering) เป็นการเพ่ิมข้อมูลเข้าไปในภาพ โดยใชค้ ่าตาแหน่ง เชิง 3 มติ ิ ทีค่ านวณได้จนไดภ้ าพเสมือนจรงิองค์ประกอบของเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ ประกอบด้วย 1. AR Code หรอื ตวั Marker ใช้ในการกาหนดตาแหน่งของวัตถุ 2. Eye หรือ กล้องวิดีโอ กล้องเว็บแคม กล้องโทรศัพท์มือถือ หรือ ตัวจับ Sensor อื่นๆ ใช้มองตาแหน่งของ AR Code แล้วสง่ ขอ้ มลู เข้า AR Engine 3. AR Engine เป็นตัวส่งข้อมูลท่ีอ่านได้ผ่านเข้าซอฟต์แวร์หรือส่วนประมวลผล เพื่อแสดงเป็นภาพตอ่ ไป 4. Display หรือ จอแสดงผล เพื่อให้เหน็ ผลข้อมลู ท่ี AR Engine ส่งมาให้ในรูปแบบของภาพ หรอืวีดีโอ หรืออีกวิธีหนึ่ง เราสามารถรวมกล้อง AR Engine และจอภาพ เข้าด้วยกันในอุปกรณ์เดียว เช่นโทรศัพท์มอื ถอื หรืออื่นๆ ทีม่ า : (ครไู อท.ี 2560. https://goo.gl/RTTjv3)
12 2.2.4 แอปพลเิ คชนั Aurasma แอปพลิเคชัน Aurasma คอื เทคโนโลยที ี่ผสมผสานเอาโลกแห่งความจรงิ เขา้ กบั โลกเสมือนโดยผ่านอุปกรณ์ต่างๆ เช่น กล้องถ่ายภาพ เข็มทิศ GPS และในปัจจุบนั เทคโนโลยีตา่ งได้พัฒนาข้นึอย่างรวดเร็ว มีจานวนผู้ใช้สมาร์ทโฟนเพิ่มข้ึน จึงมีการสร้างแอพพลิเคชันตัวหน่ึงขึ้นมาเพ่ือให้สามารถสรา้ ง AR ไดด้ ว้ ยตนเอง เพยี งแคม่ แี อพพลิเคชนั มีกล้องท่ีสารถถา่ ยภาพ และอัดวดิ โี อได้แอพลิเคชนั ตัวนีม้ ีชือ่ ว่า Aurasma ภาพท่ี 6 Logo Aurasma ที่มา: (logo Aurasma.2559.https://aurasma.zendesk.com/hc/en-us) Aurasma เป็นแอปพลิเคชันท่ีใช้ในการสร้างส่ือในโลกแห่งความจริงเสมือน เหมาะกับอุปกรณ์ประเภทไอโฟน ไอแพด สมาร์ทโฟนท่ีใช้ระบบปฏิบัติการ iOS และ Android Aurasma จะเป็นตัวกลางสาหรับเชื่อมโยงโลกของความจริง และความจริงเสมือนเข้าด้วยกัน โดยแสดงผลออกมาในรูปแบบส่ือปฏิสมั พันธ์ทม่ี องเห็น เป็นภาพน่งิ ภาพเคล่ือนไหว เสยี งท่ีมา: (พรพมิ ล.2557. https://goo.gl/SrH35D)2.3 วิธีการสรา้ งหนังสืออเิ ล็กสท์ รอนิกสส์ ามมติ ิ เรื่องทอ่ งโลกอาเซียน 2.3.1 สรปุ รวบรวมเนอ้ื หาโดยย่อเก่ียวกับเรอื่ ง ทอ่ งโลกอาเซยี น 2.3.2 ออกแบบ จัดวางเนื้อหา รูปภาพ เริ่มสร้างหนังสืออิเล็กส์ทรอนิกส์สามมิติ เร่ืองท่องโลกอาเซียน ดว้ ยโปรแกรม InDesign และตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม Photoshop
13 ภาพท่ี 7 สร้างหนงั สืออิเล็กส์ทรอนกิ สส์ ามมติ ิ 2.3.3 จัดทาคู่มือการใช้งานโดยทาเป็นแผ่นพับ ออกแบบด้วยโปรแกรม InDesign ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม Photoshop ภาพที่ 8 แผ่นพบั คมู่ ือการใชง้ าน 2.3.4 สรา้ งสอ่ื AR ดว้ ย AURASMA ผา่ นเว็บไซต์ https://www.aurasma.com ภาพท่ี 9 เวบ็ ไซต์การสร้างสือ่ AR
142.4 เอกสารงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง พรทพิ า อาจกลา้ เรอื่ ง สื่อเพอ่ื การศกึ ษาอาเซียน (บทคดั ย่อ: 2559) การจดั ทาโครงงานในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ท่ีสนใจเก่ียวกับประชาคมอาเซียน โดยสร้างสื่อวีดีทัศน์นาเสนอ โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดีทัศน์ โปรแกรม Motion5 ใช้สร้าง Effect และโปรแกรมAdobe sound booth Cs5 ในการบันทึกเสยี ง คณะผู้จดั ทาได้ดาเนินงานตามขัน้ ตอนท่ไี ด้ว้างแผนไว้และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานโดย การนาเสนอส่ือวีดีทัศน์ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผลการจัดทาโครงงาน พบว่าการพัฒนาสื่อวีดีทัศน์เพื่อการศึกษาในเรื่องประชาคมอาเซียน ได้เผยแพร่ความรู้เก่ียวกับประชาคมอาเซียนในระบบเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต ได้รบั ความสนใจและเปน็ วดี ที ศั น์ทีม่ ีประโยชน์ ชัยยุทธ โพสีลาบ การพัฒนาสื่อเพ่ือการศึกษาผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เร่ือง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (บทคดั ย่อ: 2557) ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน'' น้ีเปน็ โครงงานพัฒนาสื่อเพือ่ การศึกษา(Education Media Development) ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทน้ี คือ เป็นโครงงานท่ีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตส่ือเพื่อการศึกษา ซึ่งผู้จัดทาจะใช้เว็บไซต์ในการผลิตส่ือเพื่อการศึกษาเรื่อง“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เป็นเว็บไซต์ท่ีมีเน้ือหาหลากหลาย โดยสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือสื่อสารการประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร การเมืองเทคโนโลยี หรือขา่ วปัจจบุ นั นิศรา อันทวาส เร่ือง ท่องโลกอาเซียน (บทคัดย่อ: 2559) การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันได้มุ่งเน้นใหม้ ีการใชเ้ ทคโนโลยีมากข้ึนโดยสนบั สนุนให้มีการพฒั นาสื่อการเรยี นการสอนถือเปน็ ภารกจิ ท่ีสาคัญอย่างยิ่ง เพราะส่ือที่นาเสนอน้ัน จะต้องมีความสมบูรณ์ท้ังทางด้านเน้ือหา กระบวนการและกิจกรรม เพ่ือให้ผู้เรียนได้เกิดความรู้อย่างถูกต้อง สนใจบทเรียนและได้เรียนรู้อย่างสนุกสนาน นอกจากนั้น สื่อจะต้องมีความทันสมัยทั้งทางด้านเน้ือหาและนาไปใช้ได้ เพราะถ้าหากผลิตสื่อไม่ตรงกับความจาเป็นและความต้องการใช้ในปัจจุบัน สื่อท่ีผลิตนั้นก็จะไม่เกิดประโยชน์ใด ๆ กับการศึกษาเลย สาหรับหนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสื่อที่นิยมและใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน สามารถใช้งานร่วมกับคอมพิวเตอร์ได้อย่างสอดคล้องและมีความเหมาะสมหลายแบบ กล่าวคือ มีความทันสมัย สามารถเรียนรู้ได้ไม่จากัดเวลาและใช้กับระบบเครือข่ายการเรียนรู้ได้เปน็ อย่างดีมีประสิทธภิ าพสามารถจัดเก็บเผยแพร่ หรือจาหน่ายได้ดว้ ยอุปกรณ์ และวธิ ีการอเิ ล็กทรอนิกส์ ผา่ นทางจอคอมพวิ เตอร์หรืออุปกรณ์ท่ีใชส้ าหรบั ผ่านหนงั สือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ที่เรียกว่า “E – book Reader” ทางผู้ศึกษาได้ตระหนักว่า ในปัจจุบันเยาวชนและประชาชนทั่วไป อาจจะไม่เข้าใจในเร่ืองของประชาคมอาเซียน หรือเกิดการเบื่อหน่ายกับการเรียนรู้ในรูปแบบเดิม ๆ ทาให้มีขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน ซึ่งเป็นเร่ืองท่ีจาเป็นและสาคัญมาก ๆในชวี ิตประจาวนั ของคนทกุ คนในจานวน 10 ประเทศสมาชกิ อาเซียน ด้วยเหตุน้ผี ู้ศกึ ษาค้นควา้ ได้พิจารณาเหน็ ว่า หนงั สือเรยี นอิเล็กทรอนิกสเ์ ปน็ สื่อเหมาะสมกับการพัฒนาส่ือและเทคโนโลยีในปจั จบุ ัน จึงไดส้ ร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง“ท่องโลกอาเซียน” ขึ้น โดยนาเสนอในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่มีการนาเอาเน้ือหาเร่ืองประวัติความเป็นมา ความสาคัญ ของประชาคมอาเซียน มาใส่ไว้พร้อมท้ังแบบทดสอบเพ่ือประเมินผลการเรียนรู้
15เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเรียนรู้ ค้นคว้า ทบทวนความรู้ได้ตลอดเวลา เพื่อให้ประสบผลสาเร็จตามศักยภาพของแต่ละคน นอกจากนี้ยังส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ สามารถนาเอาเทคนิคตา่ ง ๆ มาปฏิบัตงิ านได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ คุม้ คา่ และนามาใช้ในการทางานอย่างสร้างสรรค์ ฐิติศักดิ์ พิทักษ์ เร่ือง สื่อเพ่ือการศึกษาอาเซียน (บทคัดย่อ: 2558) ส่ือเพื่อการศึกษาอาเซียนน้ีเป็นโครงงานพัฒนาส่ือเพ่ือการศึกษา (Education Media Development) ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา ซ่ึงผู้จัดทาจะใช้ Blogger ในการผลิตส่ือเพื่อการศึกษาเรื่อง “สื่อเพื่อการศึกษาอาเซียน” เป็นเว็บไซต์ที่มีเน้ือหาหลากหลาย โดยสามารถใช้เปน็ เคร่ืองมอื ส่ือสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพรผ่ ลงาน ในหลายดา้ นไมว่ า่ อาหาร เทคโนโลยี หรอื ขา่ วปจั จบุ ัน
16 บทที่ 3 วิธีการดาเนนิ งาน ในการจัดทาโครงงานพัฒนาสอื่ หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกสส์ ามมิติ เรอื่ ง ทอ่ งโลกอาเซยี นคณะผจู้ ดั ทาโครงงานมวี ิธกี ารดาเนินงานโครงงาน ตามขน้ั ตอนดงั ต่อไปนี้3.1 ข้นั เตรียมการ 3.1.1 เลอื กหวั ข้อโครงงานเสนอต่ออาจารยท์ ่ีปรึกษาโครงงาน 3.1.2 ศกึ ษาค้นคว้าข้อมลู เร่ืองการสรา้ งหนังสอื อิเล็กทรอนิกสส์ ามมติ เิ พ่อื นาไปออกแบบหนังสอืสามมติ ิ เร่อื ง ท่องโลกอาเซียน 3.1.3 ศกึ ษาค้นควา้ หาข้อมูลเกีย่ วกบั ประชาคมอาเซยี น เพ่ือทาการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.1.4 จัดทาโครงรา่ งโครงงานเพื่อเสนอตอ่ อาจารย์ทปี่ รกึ ษาโครงงาน 3.1.5 ปรับปรงุ โครงร่างท่ไี ด้ผ่านการตรวจสอบจากอาจารย์ทป่ี รกึ ษาโครงาน 3.1.6 ออกแบบและสรา้ งสือ่ หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกสส์ ามมิติ เรื่อง ท่องโลกอาเซยี น 3.1.7 ทดลองใชง้ านกับกล่มุ ตัวอยา่ งจานวน 30 คน 3.1.8 ปรับปรุงในส่วนท่บี กพร่อง จากการทดลองกับกลมุ่ ตัวอยา่ ง 3.1.9 สรุปผลการดาเนนิ โครงงาน 3.1.10 จดั ทาโครงงานเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรกึ ษา
17ตารางระยะเวลาในการดาเนนิ งาน รายการ พ.ย. 2560 ธ.ค. 2560 ม.ค. 2561 ก.พ. 2561ประชุมกลมุ่ เพอ่ื ทาการเลอื กหัวหน้า สบั ดาห์ สับดาห์ สบั ดาห์ สับดาห์ สบั ดาห์ สับดาห์ สับดาห์ สบั ดาห์กลุ่ม เลือกหัวข้อโครงงานเสนอต่อ ท่ี 1-2 ที่ 3-4 ที่ 1-2 ที่ 3-4 ที่ 1-2 ท่ี 3-4 ท่ี 1-2 ท่ี 3อาจารย์ทีป่ รึกษาโครงงานศึกษาค้นควา้ ข้อมลู เร่ืองการสร้างหนงั สืออิเล็กทรอนิกสส์ ามมติ ิ ศึกษาค้นควา้ หาข้อมูลเก่ียวกับ ประชาคมอาเซยี นจัดทาโครงรา่ งโครงงานเพื่อเสนอต่ออาจารย์ท่ปี รึกษาโครงงานออกแบบและสรา้ งสือ่ หนังสืออิเล็กทรอนิกสส์ ามมติ ิ เร่อื ง ท่องโลกอาเซียนทดลองใชง้ านกบั กลุ่มตวั อยา่ งจานวน 30 คนปรบั ปรงุ ในส่วนทบ่ี กพรอ่ ง จากการทดลองกบั กลมุ่ ตวั อยา่ งสรุปผลการดาเนินโครงงานจัดทาโครงงานเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรกึ ษา3.2 ขน้ั ดาเนินการ 3.2.1 กาหนดประชากรกลุม่ ตัวอย่าง - กลมุ่ ประชากร ได้แก่ นกั ศึกษาท่ีลงทะเบียนวชิ าการจัดการเรยี นรูอ้ าเซยี นศึกษาระดับประถมศกึ ษา จานวน 60 คน - กลมุ่ ตวั อยา่ งที่ใช้ในการศึกษาได้มาจากกลุ่มประชากร โดยการสุ่มอย่างง่าย ไดแ้ ก่
18นักศึกษาสาขาวิชาสงั คมศกึ ษาจานวน 30 คน3.2.2 การสร้างเครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการทาโครงงานการสรา้ งเครือ่ งมือทใี่ ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มลู ครง้ั น้ี ผู้จดั ทาโครงงานได้สร้างเครื่องมอืมีลักษณะเป็นแบบสอบถามความพึงพอใจ (ออนไลน์) แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปตอนท่ี2 เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจของการใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สาม มิติเรอื่ ง ทอ่ งโลกอาเซยี น และตอนท่ี 3 ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ3.2.2 เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการรวบรวมข้อมูลเครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการจัดทาการวจิ ยั ในคร้งั นี้ เปน็ แบบสอบถามที่คณะผู้จัดทาโครงงานได้สร้างขึ้นเพ่ือสารวจความพึงพอใจท่ีมีต่อการใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติเรือ่ ง ทอ่ งโลกอาเซียน โดยแบบสอบถามแบง่ เปน็ 3 ตอน คอืตอนท่ี 1 ข้อมลู ทัว่ ไป1. เพศ ชาย หญิง2. สาขาวชิ า.............................................................3. ช้ันปที ่ีกาลงั ศกึ ษา12345ตอนที 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของการใช้งานหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์สามมิติ เรื่อง ท่องโลกอาเซียนคาชี้แจง ให้เลือกระดบั ความคดิ เห็นที่ท่านคดิ ว่าจะมีผลตอ่ ความพงึ พอใจ เกย่ี วกับการการใช้งานหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์สามมิตเิ รอ่ื งท่องโลกอาเซียน โดยมเี กณฑ์ดังน้ี 5 หมายความวา่ พอใจมากที่สดุ 4 หมายความว่า พอใจมาก 3 หมายความว่า พอใจปานกลาง 2 หมายความวา่ พอใจน้อย 1 หมายความว่า พอใจน้อยที่สุดตอนท่ี 3 ปญั หาและข้อเสนอแนะ....................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ..................................................................3.2.3 วสั ดอุ ปุ กรณ์ เครอื่ งมอื หรือโปรแกรมที่ใชใ้ นการพฒั นาโครงงาน - เคร่ืองคอมพิวเตอร์พร้อมเชือ่ มต่อระบบเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได้แก่ * Adobe InDesign * Adobe Photoshop * แอปพลเิ คชัน Aurasma
193.3 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.2.1 ศกึ ษาเรื่องประชาคมอาเซยี น 3.2.2 ศึกษาเรื่องการทางานของตวั โปรแกรมต่างๆ ได้แก่ โปรแกรม - Adobe InDesign - Adobe Photoshop - แอปพลิเคชัน Aurasma 3.2.3 การส่มุ กลุ่มตวั อยา่ งแบบง่าย (Simple random sampling) การสมุ่ ตัวอยา่ งแบบง่าย เป็นการสุ่มตัวอยา่ งโดยทกุ ๆ สมาชิกในประชากรมโี อกาสจะถูกเลือกเท่า ๆ กัน การสุ่มวิธีนี้จะมีรายช่ือประชากรท้ังหมด มีเลขกากับ และใช้วิธีการจับสลากโดยทารายช่อื ประชากรทง้ั หมด 3.2.4 ศึกษาความพงึ พอใจของการใชง้ านหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกสส์ ามมติ ิ เร่อื ง ท่องโลกอาเซียน3.4 การวเิ คราะห์ข้อมลู วิธีการศึกษา : โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจของการใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติเร่อื ง ท่องโลกอาเซยี น จากกลุ่มตวั อยา่ ง และวเิ คราะหแ์ บบสอบถามโดยใชส้ ถิติ คอื คา่ เฉลย่ี3.5 สถติ ิที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล สรปุ แบบสอบถามโดยหาคา่ โดยมีสูตรการคานวณ ดังน้ี สถิติทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู สถติ พิ ้ืนฐาน ไดแ้ ก่ 1. ค่ารอ้ ยละ (Percentage) 2. ค่าคะแนนเฉล่ีย (Mean) เมอ่ื แทน ค่าเฉล่ีย แทน ผลรวมของขอ้ มูลทงั้ หมด แทน จานวนข้อมูลท้ังหมดนาคา่ เฉลีย่ มาพิจารณาระดับความคดิ เห็นของนักเรียนตามแนวของจอหน์ ดับบลวิ เบสท์ และเจมสว์ ีคาหน์ดังน้ี4.50 –5.00 เห็นดว้ ยมากที่สดุ 3.50 –4.49 เหน็ ด้วยมาก 2.50 –3.49 เห็นดว้ ยปานกลาง1.50 –2.49 เห็นดว้ ยน้อย 1.00 –1.49 เหน็ ด้วยน้อยทส่ี ดุ2) การหาค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.)สูตร S.D. =เม่ือ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน ข้อมลู (1,2,3…N)N แทน คา่ เฉลย่ี แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด
20 แบบสอบถามเร่ือง ความพึงพอใจในการใช้งานหนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์สามมิติ เรอ่ื ง ท่องโลกอาเซยี นคาชี้แจง แบบสอบถามน้ีมเี พื่อศกึ ษาความพงึ พอใจในการใชง้ านหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกสส์ ามมติ ิ เรื่องทอ่ งโลกอาเซยี น ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความพงึ พอใจของการใชง้ านหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกสส์ ามมิติ เรื่องทอ่ งโลกอาเซยี น ตอนที่ 3 ปัญหาและข้อเสนอแนะ ทางผูจ้ ดั ทาจึงขอความรว่ มมือทา่ นตอบแบบสอบถามด้วยความเทยี่ งธรรมและตรงกับความเปน็จรงิ มากท่ีสดุตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไป 4 5 1. เพศ ชาย หญงิ 2. สาขาวชิ า............................................................. 3. ชั้นปีท่กี าลังศกึ ษา 123ตอนที 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของการใชง้ านหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์สามมิติ เร่อื ง ทอ่ งโลกอาเซียนคาชี้แจง ให้เลือกระดบั ความคดิ เห็นที่ท่านคดิ วา่ จะมผี ลตอ่ ความพงึ พอใจ เกีย่ วกับการการใช้งานหนงั สือ อเิ ล็กทรอนิกส์สามมิตเิ รื่องท่องโลกอาเซยี น โดยมีเกณฑ์ดังนี้ 5 หมายความว่า พอใจมากท่ีสดุ 4 หมายความว่า พอใจมาก 3 หมายความว่า พอใจปานกลาง 2 หมายความว่า พอใจน้อย 1 หมายความวา่ พอใจน้อยท่ีสดุ
21 รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ 54321ด้านการออกแบบรปู เลม่1. ขนาดของรูปเล่มมีความเหมาะสม2. การจัดวางรปู ภาพและข้อความ3. รูปภาพและเน้ือหามคี วามสอดคลอ้ งกนัดา้ นการออกแบบภาพประกอบและภาพสามมิติ1. ภาพประกอบและภาพสามมติ ิทาให้เขา้ ใจเน้ือหามากข้ึน2. ภาพประกอบและภาพสามมติ ิมคี วามนา่ สนใจ3. ภาพประกอบและภาพสามมิตมิ คี วามสอดคล้องกบั เนอ้ื หา4. ขนาดภาพเหมาะกบั หนา้ กระดาษด้านเน้ือหา1. การนาเสนอเน้อื หามีความน่าสนใจ2. มีความถูกต้องและน่าเช่ือ3. เนื้อหามคี วามกระชบั และเขา้ ใจง่ายดา้ นคณุ ค่าและประโยชน์ท่ไี ด้รับจากหนงั สอื1. สรา้ งความบนั เทิงและช่วยให้เกิดการเรยี นรู้ไดด้ ียิ่งข้นึ2. เป็นสอื่ ในการเรยี นรู้ท่ีน่าสนใจ3. มีความรคู้ วามเขา้ ใจเรอ่ื งอาเซยี นมากขึน้ตอนท่ี 3 ปญั หาและขอ้ เสนอแนะ ทา่ นมีปัญหาและข้อเสนอแนะท่ีอยากจะให้ผู้สรา้ งหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์สามมติ ิ เร่ืองท่องโลกอาเซยี นปรับปรงุ หรือพัฒนาอย่างไร............................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
22 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน ในการจัดทาโครงงานพัฒนาส่ือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียน ผู้จัดทาโครงงานมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาให้เป็นสื่อการเรียนรู้ ใช้เป็นสื่อในการศึกษาในการให้ความรู้แก่นักศึกษาท่ีลงทะเบียนวิชาการจัดการเรียนรู้อาเซียนศึกษาระดับประถมศึกษา ได้แก่นักศึกษาสาขาสังคมศึกษา และนักศึกษาสาขาประถมศึกษา รวมถึงผู้ท่ีสนใจศึกษาเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนได้ศึกษาจัดทาเพ่ือเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียนท้ัง 10 ประเทศ โดยจะมีเนื้อหาและรายละเอียดข้อมูลของแต่ละประเทศจานวน 10 ประเทศอาเซียน ท้ังนี้ยังช่วยส่งเสริมให้เกิดการใช้ส่ือเทคโนโลยีสาหรับผู้เรียน เด็ก เยาว์ชนและผู้สนใจทั่วไป และสอดแทรกสาระความรู้เรื่องประชาคมอาเซียนผู้จดั ทานาเสนอผลงานออกมาเผยแพรใ่ นรปู แบบหนงั สืออเิ ล็กทรอกนิกส์ 3 มิติ มผี ลการดาเนนิ งาน ดงั นี้4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงาน การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เรื่อง ท่องโลกอาเซียน คณะผู้จัดทาได้ดาเนนิ งานตามขัน้ ตอนการดาเนินงานท่ีได้วางแผนไว้ และได้เผยแพร่ความรู้เกย่ี วกับประชาคมอาเซียนในรูปแบบเทคโนโลยีความจริงเสมือนผา่ นแอปพลิเคชนั Aurasma ทดลองใช้กับ นักศึกษา สาขาสังคมศึกษา จานวน 30 คน และได้สอบถามความพึงพอใจของผู้ทดลองใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียน ซึ่งผลการเผยแพร่โครงงาน พบว่าได้รบั ความสนใจ เป็นสื่อให้ความรู้ท่ีมีประโยชน์ และผลของการศึกษาความพึงพอใจของผู้ทดลองใช้อยู่ในระดับดีมาก เนื่องสื่อมีความแปลกใหม่ น่าสนใจ และสามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานท่ี เป็นแหล่งเรียนรใู้ นโลกออนไลน์ในการรบั ข้อมลู แตก่ ย็ งั มีขอ้ จากดั ในเรือ่ งของความเร็วของอินเทอร์เนต็4.2 ผลการวเิ คราะห์แบบสอบถามความพงึ พอใจ ของผ้ใู ช้งาน สื่อหนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์สามมติ ิเร่อื ง ทอ่ งโลกอาเซียน เปน็ ไปดังตาราง รายการ ความพงึ พอใจ ความหมาย X S.D.ด้านการออกแบบรูปเล่ม1. ขนาดของรูปเลม่ มีความเหมาะสม 4.40 0.62 พอใจมาก2. การจัดวางรปู ภาพและขอ้ ความ 4.66 0.66 พอใจมากทส่ี ดุ3. รปู ภาพและเนือ้ หามีความสอดคลอ้ งกัน 4.43 0.62 พอใจมากด้านการออกแบบภาพประกอบและภาพสามมิติ 4.56 0.62 พอใจมากท่ีสุด1. ภาพประกอบและภาพสามมิตทิ าให้เข้าใจเนื้อหามากขน้ึ
232. ภาพประกอบและและภาพสามมิติความน่าสนใจ 4.63 0.61 พอใจมากทสี่ ดุ3. ภาพประกอบและและภาพสามมิตมิ ีความสอดคลอ้ งกับเนื้อหา 4.66 0.60 พอใจมากที่สดุ4. ขนาดภาพเหมาะกบั หนา้ กระดาษ 4.60 0.62 พอใจมากที่สุดด้านเนื้อหา1. การนาเสนอเน้ือหามีความน่าสนใจ 4.63 0.55 พอใจมากทส่ี ุด 4.83 0.53 พอใจมากที่สุด2. มคี วามถูกต้องและนา่ เชื่อถือ 4.73 0.58 พอใจมากที่สุด3.เน้ือหามคี วามกระชบั และเขา้ ใจง่ายด้านคุณและประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากหนงั สือ 4.86 0.43 พอใจมากท่สี ุด1. สรา้ งความบันเทงิ และช่วยใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้ดีย่ิงขน้ึ2. เปน็ ส่ือในการเรยี นรู้ที่น่าสนใจ 4.83 0.43 พอใจมากทสี่ ดุ3. มคี วามรู้ความเข้าใจเรื่องอาเซียน 4.80 0.48 พอใจมากทสี่ ดุ 4.66 0.07 พอใจมากที่สุด สรปุเกณฑ์ในการประเมนิ5.00 - 4.50 พอใจมากทส่ี ดุ4.49 - 4.00 พอใจมาก3.99 - 3.50 พอใจกลาง3.49 - 3.00 พอใจน้อย2.99 - 0.00 พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจ การใช้สื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่ือง ท่องโลกอาเซียนของนักศึกษาสังคมศึกษา คณะวิทยาลัยการฝึกหัดครู พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจในระดับ พึงพอใจมากท่ีสุด (X = 4.66, S.D. = 0.07) จากระดับ 5 และเมื่อวิเคราะห์ผลความ พึงพอใจเป็นรายข้อ พบว่าระดับความพงึ พอใจท่ีอยู่ในเกณฑพ์ อใจมากทส่ี ดุ ได้แก่ การจดั วางรปู ภาพและข้อความ (X = 4.66, S.D. =0.66) ภาพประกอบและภาพสามมิติทาให้เข้าใจเนื้อหามากข้ึน (X = 4.56, S.D. = 0.62) ภาพประกอบและและภาพสามมิติความน่าสนใจ (X = 4.63, S.D. = 0.61) ภาพประกอบและและภาพสามมิติมีความสอดคลอ้ งกบั เนื้อหา (X = 4.66, S.D. = 0.60) ขนาดภาพเหมาะกบั หน้ากระดาษ (X = 4.60, S.D. = 0.62) การนาเสนอเนื้อหามีความน่าสนใจ (X = 4.63, S.D. = 0.55) มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ (X = 4.83,S.D. = 0.53) เนอ้ื หามคี วามกระชับและเข้าใจง่าย (X = 4.73, S.D. = 0.58) สร้างความบันเทิงและช่วยให้เกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น (X = 4.86, S.D. = 0.43) เป็นส่ือในการเรียนรู้ที่น่าสนใจ (X = 4.80, S.D. =0.48) มคี วามรูค้ วามเข้าใจเรอ่ื งอาเซยี น (X = 4.66, S.D. = 0.07) และ สาหรบั เกณฑค์ วามพึงพอใจระดับ
24ความพึงพอใจในระดับมาก ได้แก่ ขนาดของรูปเล่มมีความเหมาะสม (X = 4.40, S.D. = 0.62 ) รูปภาพและเนอื้ หามคี วามสอดคล้องกนั (X = 4.43, S.D. = 0.62 )4.3 ตัวอยา่ งผลงาน แอปพลิเคชนั บนสมาร์ทโฟน /หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์สามิติ เรอ่ื งท่องโลกอาเซียน/คู่มอื การใช้งาน การใชง้ านแอปพลิเคชันบนสมารท์ โฟน สอ่ งหนังสอื อิเล็กทรอนกิ สส์ ามติ ิ เรื่องท่องโลกอาเซียน
25 บทที่ 5 สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ การจัดทาโครงงานพัฒนาสื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เรื่อง ท่องโลกอาเซียน สามารถสรปุ ผลการดาเนินงานโครงงานและขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 5.1.1 วตั ถุประสงค์ของโครงงาน - เพ่อื สรา้ งและพัฒนาส่ือหนงั สอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์สามมิติ เรอื่ ง ทอ่ งโลกอาเซียน - เพ่อื ทดลองหาประสทิ ธิภาพของส่ือหนงั สอื อิเล็กทรอนกิ สส์ ามมิติ เร่อื ง ท่องโลกอาเซียน - เพื่อเปรยี บเทยี บความพึงพอใจของสือ่ หนังสืออิเล็กทรอนิกสส์ ามมติ ิ เร่ือง ท่องโลกอาเซียน 5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมทีใ่ ช้ในการพัฒนาโครงงาน - เครอ่ื งคอมพิวเตอร์พร้อมเช่ือมตอ่ ระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ได้แก่ • Adobe InDesign • Adobe Photoshop • แอปพลเิ คชนั Aurasma5.2 สรปุ ผลการดาเนินงานโครงงาน การพัฒนาโครงงาน การสร้างหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์สามมิติ เร่อื ง ทอ่ งโลกอาเซียน คณะผจู้ ัดทาไดด้ าเนินงานตามข้ันตอนการดาเนนิ งานท่ีไดว้ างแผนไว้ และได้เผยแพรค่ วามร้เู กย่ี วกบั ประชาคมอาเซียนในรปู แบบเทคโนโลยีความจริงเสมอื นผา่ นแอปพลเิ คชัน Aurasma จากการทดลองใช้กับ นักศึกษา สาขาสังคมศึกษา จานวน 30 คน และไดส้ อบถามความพงึ พอใจของผทู้ ดลองใช้หนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สส์ ามมิติ เรื่อง ท่องโลกอาเซยี น มผี ู้ให้ความสนใจเป็นอย่างมาก ซง่ึ ผลการเผยแพร่ พบว่า ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์สามมติ ิ จากนักศึกษาที่ได้ทดลองใช้ มีความพึงพอใจที่ (X = 4.43, S.D. = 0.62 ) จาก 5 ระดบั ซึ่งอยใู่ นระดับ พอใจมาก เปน็ ผลมากจาก หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์สามติ เิ ป็นสื่อมีความแปลกใหม่ มคี วามน่าสนใจ เปน็ สอ่ื ให้ความรทู้ ี่มีประโยชน์ และสามารถเขา้ ถงึ ไดท้ กุ เวลาและทุกสถานท่ี เป็นแหล่งเรียนรูใ้ นโลกออนไลน์ในการรบั ข้อมูลแต่กย็ ังมีขอ้ จากัดในเร่ืองของความเร็วของอินเทอร์เนต็5.2 ข้อเสนอแนะ ควรจดั ทาสอื่ หนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ สส์ ามมิติเร่ืองอ่ืน ๆ ที่น่าสนใจเพมิ่ ข้นึ ด้วย เชน่ ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 เป็นต้น
265.3 ปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการพฒั นา การใช้แอปพลิเคชัน Aurasma มีข้อจากัดในเร่ืองของความเร็วอินเทอร์เน็ต หากอินเทอร์เน็ตของผใู้ ช้งานชา้ ทาให้เกดิ ปญั หาในการเรยี นรสู้ อื่ หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสส์ ามมติ ิเรื่องท่องโลกอาเซียนได้ ผู้เรียนจึงต้องแก้ไขปัญหาด้วยการเพิ่มความเร็วของอินเทอร์เน็ตเพื่อให้การใช้แอปพลิเคชันAurasma เปน็ การเรียนรู้ท่ดี แี ละมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ข้ึน
27 บรรณานกุ รมครไู อท.ี 2017.องค์ประกอบของเทคโนโลยเี สมือนจรงิ .(ออนไลน)์ .แหลง่ ท่ีมา : https://goo.gl/RTTjv3) (13 พฤศจิกายน 2560).ความรูเ้ ก่ียวกบั อาเซียน.(ออนไลน)์ .แหลง่ ที่มา : http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm.(12 ตลุ าคม 2560).จรงุ ยศ อรัณยะนาค.2560.เทคโนโลยีความจรงิ เสมือน.(ออนไลน)์ .แหล่งทีม่ า : https://goo.gl/ZYvHU1.(11 พฤศจิกายน 2560).ชัยยทุ ธ โพสีลาบ.2557.การพัฒนาส่ือเพื่อการศกึ ษาผา่ นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เร่อื ง ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.(ออนไลน์).แหลง่ ที่มา : http://presentbyeasy.blogspot.com/. ( 28 ธันวาคม 2560).ฐติ ศิ ักด์ิ พิทักษ.์ 2558.ส่ือเพอ่ื การศึกษาอาเซยี น.(ออนไลน์).แหลง่ ท่ีมา : http://aeczuzy.blogspot.com/2016/03/1.html.( 28 ธนั วาคม 2560).นศิ รา อันทวาส.2559.ทอ่ งโลกอาเซยี น.(ออนไลน์).แหลง่ ท่ีมา : http://tongasean.blogspot.com/2016/03/1_20.html.( 28 ธันวาคม 2560).ประวัติความเป็นมาของ ASEAN.2557.(ออนไลน)์ .แหล่งทม่ี า : http://61.47.41.107/w/history. (12 ตลุ าคม 2560).โปรแกรม Photoshop.2551.(ออนไลน)์ .แหล่งที่มา : http://www.kados.th.gs/web-k/ados/Phoshop.html.(10 พฤศจิกายน 2560).พชรพรรณ ชื่นสงวน.2560.AURASMA.(ออนไลน)์ .แหล่งท่ีมา : https://prezi.com/bv0dufrxqlzx/aurasma/.(10 พฤศจิกายน 2560).พรทพิ า อาจกลา้ .2559.สือ่ เพ่ือการศกึ ษาอาเซียน.(ออนไลน์).แหล่งท่ีมา : https://goo.gl/edhijW.(12 ตุลาคม 2560).พรพิมล พุทธวงค์.2559.แอพพลเิ คชนั Aurasma.(ออนไลน์).แหล่งทมี่ า : https://goo.gl/SrH35D (13 พฤศจกิ ายน 2560).พคี นกมิว.2556.โปรแกรม Adobe InDesign.(ออนไลน์).แหล่งท่มี า : http://pycknokmiu.blogspot.com/2013/09/adobe-indesign.html. (10 พฤศจิกายน 2560).สว่ นประกอบของโปรแกรม InDesign.2556.(ออนไลน)์ .แหลง่ ทมี่ า : http://adodeindesing.blogspot.com/2013/02/adobe-indesign.html. (10 พฤศจิกายน 2560).AR Pokemon Go.2560.(ออนไลน์).แหล่งท่ีมา : http://www.naewna.com/inter/224501. (13 พฤศจกิ ายน 2560).Ninetechno.2560.โปรแกรม Photoshop.(ออนไลน์).แหล่งท่ีมา : https://goo.gl/Li5xQh.
28 (10 พฤศจกิ ายน 2560).Template.Adobe InDesign.2060.(ออนไลน)์ .แหลง่ ท่ีมา : https://www.mawtoload.com/wp-content/uploads/2017/06/indesign_basic.pdf. (10 พฤศจกิ ายน 2560).
29 ภาคผนวก1. ขัน้ ตอนการสรา้ งส่ือหนังสืออเิ ล็กทรอนกิ สส์ ามมิติ เรื่อง ทอ่ งโลกอาเซียน 1.1 สรา้ งสอื่ AR ด้วย AURASMA ผ่านเว็บไซต์ 1.1.1 เข้าไปทเี่ วบ็ ไชต์ https://www.aurasma.com ภาพที่ 7 Aurasma ภาพที่ 10 Aurasma ทม่ี า:Aurasma (2017: ออนไลน)์ https://www.aurasma.com 1.1.2 เลือก Sign สาหรับการใช้งานครั้งแรก หรือ Log in ในกรณีที่เคยสมัครสมาชิกมาแล้ว ภาพที่ 11 Aurasmaที่มา:Aurasma (2017: ออนไลน์) https://www.aurasma.com
301.1.3 ข้ันตอนการสร้างส่อื มี 3 ขั้นตอนหลักไดแ้ ก่ - Upload Trigger - Create Overlays - Finalize Aura1.1.4 เลอื ก Creating New Aura เพ่อื ทาการสรา้ ง ภาพที่ 12 Aurasma ทมี่ า:Aurasma (2017: ออนไลน์) https://www.aurasma.com1.1.5 Upload File Trigger ภาพท่ี 13 Aurasma ทมี่ า : Aurasma (2017: ออนไลน)์ https://www.aurasma.com
31 1.1.6 กด Next เพือ่ ไปขน้ั ตอนต่อไป 1.1.7 Upload Overlay เป็นส่ือท่ีแสดงขึ้นมาเม่ือทาการส่อง ใช้เป็นไฟล์ภาพหรือวีดีโอตามตอ้ งการ ภาพที่ 14 Aurasma ท่ีมา:Aurasma (2017: ออนไลน์) https://www.aurasma.com 1.1.8 กด Next เพื่อไปข้นั ตอนตอ่ ไป 1.1.9 ทาการ Save และ Share เพือ่ เป็นสาธารณะ 1.1.10 ทดลองใชง้ านโดยใช้แอปพลเิ คชนั Aurasma App 1.2. สรา้ งสือ่ AR ด้วย AURASMA ผ่านแอปพลิเคชนั 1.2.1. ดาวนโ์ หลดแอปพลิเคชนั ฟรีได้จาก App Store (อปุ กรณ์ ios) หรือ Play Store(android) 1.2.2. คลกิ Join เพื่อ create an account และ Log in ( หาก ต้องการแค่ reader ให้กดskip) 1.2.3. เมือ่ Login แลว้ จะปรากฏ หนา้ ต่างแทป็ การทางานตา่ ง ๆ ด้านลา่ งและมีพ้นื ท่ีตรงกลางคือ Stage - Explore (Aurasma logo) Create (เครอื่ ง มาย +) - Scan/Reader Search - เกีย่ วกับผ้ใู ชง้ าน
321.2.4. Explore (Aurasma logo) - Auras แสดงวดิ โี อ ดาวนโ์ หลดลา่ สดุ - Featured แสดงวิดีโอท่ีน่าสนใจ - Viewed แสดงวีดโี อท่ีเพ่ิง Scan ด้วย Aurasma ภาพท่ี 15 Applications Aurasma - Create (เครื่องหมาย +) - Choose Overlay - Library Device ภาพที่ 16 Applications Aurasmaทม่ี า:Aurasma (2017: ออนไลน)์ https://www.aurasma.com
33a. การใชง้ านหนังสอื สามมติ ผิ ่าน Aurasma Appi. เปิด Aurasma App เพอ่ื ทาการสแกนii. สแกน qr code ในหนา้ แรกของหนงั สือเพอื่ follow หนงั สือทอ่ งโลกอาเซยี น ภาพท่ี 17 สแกนบารโ์ คด้i. กด follow เพื่อตดิ ตาม ภาพท่ี 18 followi. เปดิ หน้าสแกนในแอปพลเิ คชนั อีกครัง้ii. ทาการสแกนหนังสอื ท่องโลกอาเซียนในหน้าทีต่ อ้ งการศึกษา ภาพท่ี 19 สแกนหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์
34i. ถ้าตอ้ งการให้วดี โี อเล่นเตม็ หน้าจอให้กดสองครง้ั ในวดี ีโอ ภาพที่ 20 วดี ที ศั น์ ประเทศไทย2. หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์สามมิติ เรอ่ื ง ท่องโลกอาเซียน 2.1 หนา้ ปกภาพที่ 21 หนา้ ปก
352.2 คู่มอื การใชง้ าน ภาพที่ 22 คู่มือการใช้งาน ภาพท่ี 23 คู่มอื การใชง้ าน
362.3 หนา้ ปกรูปเลม่ หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกสส์ ามมิติ เรื่อง ท่องโลกอาเซียน ภาพที่ 24 หน้าปกรูป2.4 คาแนะนาการใช้งาน ภาพที่ 25 คาแนะนาการใชง้ าน
372.5 กาเนดิ อาเซียน ภาพที่ 26 กาเนดิ อาเซียน2.6 ข้อมลู ประเทศบรไู น ภาพที่ 27 บรไู น
Search