Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1

บทที่ 1

Published by 174ed00077, 2020-12-27 13:02:41

Description: บทที่ 1

Search

Read the Text Version

ใหผ้ ูเ้ รยี นสแกน QR Code การงานอาชีพ เร่อื งที่ 1 ประโยชน์ของการประกอบอาชพี (ความรูเ้ กี่ยวกับงานอาชีพ) https://www.youtube.com/watch?v=jeoHgsOjSEs เร่อื งท่ี 2 ความจาเปน็ ในการประกอบอาชพี ในอาชพี https://www.youtube.com/watch?v=05OffIgBT98 เร่อื งท่ี 3 เร่อื ง 8 อาชีพในอาเซยี น https://www.youtube.com/watch?v=P8eOR2nGstI

ใบความรู้ที่ 1 การงานอาชีพ อาชพี หมายถงึ การประกอบการทมี่ ีรายไดต้ อบแทนโดยใชแ้ รงงาน ความรู้ ทักษะอุปกรณ์ เครื่องมือ สถานท่ี วธิ กี าร ตอ้ งเป็นอาชพี สจุ ริต และไม่มีผลเสียตอ่ ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ มนุษย์เราจําเป็นต้องมีป๎จจัยต่างๆ เพื่อต้องการดํารงชีวิต เช่น มีที่อยู่อาศัย มีอาหารรับประทาน มี เครอ่ื งนุง่ หม่ มยี ารกั ษาโรคตา่ ง ๆ ซึ่งท้งั 4 อยา่ งนจ้ี ะเปน็ พ้นื ฐานของการดํารงชีวิตทั่วไป แต่บางคนอาจมีความ จําเป็นอื่นๆ อีก เช่นรถยนต์ โทรศัพท์มือถือ ขึ้นอยู่กับความจําเป็นในการประกอบอาชีพหรือความจําเป็นต่อ การดาํ รงชีวติ ประจําวัน การจะทีปจ๎ จยั ต่างๆ เหลา่ น้ีขึน้ อยู่กับฐานะทางการเงิน ซ่ึงก็คือความสามารถในการหา รายได้ของแต่ละบคุ คล การใช้แรงงาน แรงงาน หมายถึง บุคคลที่ผู้ประกอบการจ้างมาให้ปฏิบัติงานตามความเหมาะสมของงานและ ความสามารถของแตล่ ะบุคคล ซึ่งมที ั้งแรงงานประเภทท่มี ีความชํานาญ งานหรอื แรงงานที่มีฝีมือ แรงงานประเภท ไรฝ้ ีมือท่ตี ้องใชก้ าํ ลังในการปฏิบัติงาน เช่น คนงานแบกหาม และแรงงานประเภทวิชาการที่ต้องใช้มันสมอง เพื่อ ช่วยให้การวางแผน การกําหนดนโยบาย และการประเมินผลให้ธุรกิจดําเนินไปอย่างราบรื่น และประสบ ความสาํ เรจ็ ตามแผนท่กี ําหนดไว้ ดังน้ัน เจ้าของกิจการหรือผู้ประกอบการจําเป็นจะต้องเลือกบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถมาทํางานตามความถนดั ของแต่ละบุคคลเพอ่ื ประสิทธภิ าพของงาน ทงั้ นี้ นายจา้ งจะต้องจา่ ยเงินเดอื น ค่าจ้าง คา่ คอมมชิ ชัน่ และสวัสดกิ ารอน่ื ๆ ให้แก่พนักงานอยา่ งเหมาะสม สรปุ ความสามารถของมนษุ ย์ทถี่ กู นาํ มาใชใ้ นการผลิต เพอื่ ทําให้เกิดเป็นสินค้าหรือบริการข้ึนมา แรงงาน นับเปน็ ทรพั ยากรที่สําคัญท่ีสุด ถ้าปราศจากแรงงานและทรัพยากรต่าง ๆ ท่ีกล่าวมาแล้วทั้งหมด ก็ไม่สามารถนํา ออกมาใช้ประโยชนไ์ ดผ้ ลตอบแทนของแรงงานก็คือ ค่าจ้าง มากหรือนอ้ ยขึน้ อยู่กับความสามารถและชนิดของงาน น้ัน ๆ ประเภทของแรงงาน ตลาดแรงงานประเทศไทยได้แยกประเภทของแรงงาน ดังน้ี 1. แรงงานประเภทปัญญาชน แรงงานประเภทนี้ ได้แก่ ผู้ที่จบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา มีความรู้ และมีสตปิ ญ๎ ญาดีแต่ไมค่ อ่ ยมีฝมี ือในวชิ าชีพ ในแต่ละปีจะมแี รงงานประเภทนเี้ ขา้ สตู่ ลาดแรงงานเพิ่มข้ึน หน่วยงาน ทจี่ ะรองรบั แรงงานประเภทน้ี คอื ภาครัฐบาลแต่การขยายอัตรากําลังตามภาครัฐเพิ่มได้ไม่เกิน 2% ต่อปี จึงทําให้ จาํ นวนบณั ฑติ ทีจ่ บออกมาในแต่ละปีประสบปญ๎ หาการว่างงานเพิม่ ขน้ึ เร่อื ย ๆ รัฐบาลจึงพยายามแก้ป๎ญหาโดยการ ให้ภาคเอกชนเข้ามาช่วยรองรับแรงงานประเภทนี้ ดังนั้น รัฐบาลจึงมีการส่งเสริมให้มีการลงทุนในทุก ๆ ด้าน เพอื่ ให้เกดการจ้างงานเพม่ิ ขนึ้ ในขณะเดยี วกนั รฐั บาลก็พยาบาลส่งเสริมให้บัณฑิตเหล่าน้ันสามารถช่วยตนเองโดย คดิ สร้างงานขนึ้ มาเอง เช่น ทําการคา้ ที่เรม่ิ จากทุนไม่มาก เปน็ ต้น

2. แรงงานไร้ฝีมือ แรงงานประเภทนี้ไม่ค่อยมีป๎ญหานักในอาชีพเกษตรกรรมแต่กําลังมีป๎ญหาในด้าน อุตสาหกรรม ทตี่ ลาดแรงงานไม่ตอ้ งการเท่าที่ควร ส่วนใหญ่เป็นแรงงานกรรมกรใช้กําลังมากกว่ากําลังสมอง เช่น รับจา้ ง แบกหาม ขุดดิน เปน็ ต้น ซึ่งอตั ราคา่ จ้างที่ไดร้ บั ตํ่าไมเ่ พียงพอแกก่ ารเล้ยี งชีพ มีความเป็นอยู่ยากจน รัฐบาล ตระหนกั ถึงปญ๎ หาของแรงงานไรฝ้ ีมือเปน็ อยา่ งดี ดงั น้นั รฐั บาลไดจ้ ดั ให้การอบรมวิชาชีพต่าง ๆ ในระยะส้ันให้เพื่อ เป็นการส่งเสรมิ ความสามารถและประสทิ ธิภาพในการทํางาน โดยหวงั ใหเ้ ปน็ ท่ีตอ้ งการของตลาดแรงงานตอ่ ไป 3. แรงงานประเภทฝีมือ แรงงานประเภทน้ีต้องผ่านการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์ทํางานมาก พอสมควร เชน่ ช่างยนต์ ช่างไม้ ช่างปูน ช่างไฟฟาู เปน็ ตน้ ในป๎จจบุ นั นมี้ ผี ้มู ฝี ีมอื มากข้ึนจึงทาํ ให้แรงงานประเภทน้ี เร่ิมประสบป๎ญหาไม่ว่าจะเป็นอัตราค่าจ้างแรงงานที่ต่ํากว่าความสามารถ หรือได้งานที่ไม่ถนัด ไม่ตรงกับ ความสามารถ จึงทํางานไดไ้ มเ่ ตม็ ท่แี ละไม่มปี ระสิทธภิ าพเทา่ ท่คี วร รัฐบาลมีการวางแผนที่จะผลิตแรงงานประเภท นี้เพิ่มขึ้น และจะหาทางส่งเสรมิ ใหไ้ ดท้ าํ งานที่เหมาะสมกบั ความสามารถของแตล่ ะบคุ คล 4. แรงงานท่ีใช้ความรู้ความชานาญพิเศษ แรงงานประเภทน้ีจะต้องฝึกอบรมมาเป็นระยะเวลานาน จัดเปน็ แรงงานที่ยงั ขาดแคลน ดังนั้น จึงไม่มีป๎ญหาการว่างงานป๎จจุบันรัฐบาลกําลังเริ่มผลิตแรงงานประเภทน้ีให้ เข้าส่ตู ลาดแรงงานมากขน้ึ เพื่อใหเ้ พียงพอกบั ความต้องการ

ใบงานท่ี 1 เรื่อง การงานอาชพี 1.อาชพี หมายถงึ .................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2.ปจ๎ จัย 4 ประกอบด้วยอะไรบา้ ง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3.ใหน้ กั ศึกษาบอกอาชพี ที่เป็นประเภทของแรงงาน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

เฉลยใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง การงานอาชีพ 1. อาชพี หมายถึง การประกอบการที่มรี ายได้ตอบแทนโดยใช้แรงงาน ความรู้ ทักษะ อุปกรณ์ เครื่องมอื สถานท่ี วิธีการ ตอ้ งเปน็ อาชีพสุจริต และไม่มผี ลเสยี ต่อชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ 2. ปจั จัย 4 ประกอบดว้ ย 1. มที ่ีอยู่อาศัย 2. มอี าหารรบั ประทาน 3.มเี ครื่องนุ่งห่ม 4. มยี ารักษาโรคต่าง ๆ ซ่ึงทง้ั 4 อย่างนจ้ี ะเปน็ พนื้ ฐานของการดาํ รงชีวิตท่ัวไป 3.ประเภทของแรงงาน 1. แรงงานประเภทป๎ญญาชน แรงงานประเภทนี้ ได้แก่ ผู้ท่จี บการศึกษาในระดบั อุดมศกึ ษา มีความรแู้ ละ มสี ตปิ ๎ญญาดแี ตไ่ มค่ ่อยมฝี ีมอื ในวชิ าชพี ในแต่ละปีจะมีแรงงานประเภทน้เี ขา้ สตู่ ลาดแรงงานเพิ่มขึ้น หน่วยงานทจ่ี ะ รองรับแรงงานประเภทน้ี คือ ภาครัฐบาลแตก่ ารขยายอตั รากําลังตามภาครฐั เพม่ิ ได้ ไมเ่ กนิ 2% ตอ่ ปี จึงทําให้ จาํ นวนบัณฑิตท่จี บออกมาในแตล่ ะปีประสบป๎ญหาการว่างงานเพม่ิ ขน้ึ เร่อื ย ๆ รัฐบาลจงึ ยายามแก้ป๎ญหาโดยการ ให้ภาคเอกชนเขา้ มาช่วยรองรับแรงงานประเภทนี้ ดงั นนั้ รฐั บาลจงึ มีการส่งเสริมให้มกี ารลงทุนในทกุ ๆ ดา้ น เพื่อให้เกดการจ้างงานเพ่ิมขึ้น ในขณะเดียวกันรัฐบาลกพ็ ยาบาลส่งเสรมิ ให้บณั ฑติ เหล่านน้ั สามารถช่วยตนเองโดย คิดสรา้ งงานขนึ้ มาเอง เชน่ ทําการคา้ ท่ีเร่ิมจากทนุ ไมม่ าก เปน็ ตน้ 2. แรงงานไรฝ้ มี อื แรงงานประเภทนไ้ี ม่ค่อยมปี ญ๎ หานกั ในอาชีพเกษตรกรรมแตก่ าํ ลงั มีปญ๎ หาในด้าน อุตสาหกรรม ที่ตลาดแรงงานไม่ตอ้ งการเทา่ ท่คี วร ส่วนใหญเ่ ป็นแรงงานกรรมกรใช้กาํ ลงั มากกว่ากําลังสมอง เชน่ รับจ้าง แบกหาม ขุดดิน เปน็ ต้น ซ่งึ อัตราค่าจ้างที่ได้รบั ต่ําไม่เพียงพอแกก่ ารเล้ียงชพี มคี วามเป็นอย่ยู ากจน รฐั บาล ตระหนักถึงป๎ญหาของแรงงานไร้ฝมี อื เปน็ อย่างดี ดงั นัน้ รฐั บาลไดจ้ ัดให้การอบรมวิชาชพี ต่าง ๆ ในระยะสั้นให้เพ่อื เป็นการสง่ เสริมความสามารถและประสิทธภิ าพในการทํางาน โดยหวงั ใหเ้ ป็นทตี่ ้องการของตลาดแรงงานตอ่ ไป 3. แรงงานประเภทฝีมือ แรงงานประเภทนี้ต้องผ่านการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์ทํางานมาก พอสมควร เชน่ ช่างยนต์ ช่างไม้ ชา่ งปูน ช่างไฟฟาู เปน็ ต้น ในปจ๎ จบุ นั น้ีมผี ู้มฝี มี ือมากขึน้ จงึ ทาํ ให้แรงงานประเภทนี้ เร่ิมประสบป๎ญหาไม่ว่าจะเป็นอัตราค่าจ้างแรงงานที่ต่ํากว่าความสามารถ หรือได้งานท่ีไม่ถนัด ไม่ตรงกับวาม สามารถ จึงทํางานได้ไม่เต็มที่และไม่มีประสิทธิภาพเท่าท่ีควร รัฐบาลมีการวางแผนที่จะผลิตแรงงานประเภทนี้ เพมิ่ ขนึ้ และจะหาทางสง่ เสรมิ ใหไ้ ดท้ ํางานที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล 4. แรงงานที่ใชค้ วามรู้ความชํานาญพิเศษ แรงงานประเภทน้จี ะต้องฝึกอบรมมาเป็นระยะเวลานานจัดเป็น แรงงานท่ียังขาดแคลน ดังน้ัน จึงไม่มีป๎ญหาการว่างงานป๎จจุบันรัฐบาลกําลังเริ่มผลิตแรงงานประเภทน้ีให้เข้าสู่ ตลาดแรงงานมากขึ้น เพ่ือให้เพยี งพอกบั ความต้องการ

ใบความร้ทู ี่ 2 อาชีพในชมุ ชน การเปลี่ยนแปลงทางด้านสงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม ความเจริญก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยี มีผล ตอ่ ชวี ิตความเปน็ อยู่ และโดยเฉพาะการประกอบอาชพี ของคนในหมบู่ ้าน ได้แก่ การ เกดิ อาชพี ใหม่ หรือการ อนรุ กั ษอ์ าชพี เดิมให้อยใู่ นทอ้ งถ่นิ ดังนี้ 1. การสร้างอาชีพจากชอ่ งวา่ งระหว่างอาชีพ โดยอาศยั ชอ่ งวา่ งระหวา่ งอาชพี 2 อาชีพ เชน่ อาชีพขยาย ลําไม้ไผ่ โดยซือ้ จากแหล่งปลูกไปขายใหก้ ับแหล่งทํา เคร่ืองจกั สาน 2. การสร้างอาชพี จากผลของการประกอบอาชพี โดยอาศัยผลพลอยไดจ้ ากอาชีพเดิม เชน่ ทําภาชนะใส่ ของจากทางมะพร้าว จากตน้ มะพร้าวทีป่ ลกู เปน็ อาชพี อย่แู ลว้ 3. การสรา้ งอาชีพจากทรัพยากรทอ้ งถิ่น เป็นการสร้างอาชีพใหม่ โดยการนํา ทรพั ยากรทม่ี อี ย่ใู นท้องถน่ิ มาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ เช่น ทําอิฐจากดินเหนียวที่มี อยใู่ นทอ้ งถิน่ 4. การสรา้ งอาชพี จากความต้องการของตลาด เป็นการสรา้ งอาชพี ใหม่ โดยอาศัย ข้อมูลทางการตลาด เช่น เล้ยี งกบเพราะตลาดมีความต้องการมาก หรือปลกู ผกั ปลอดสารพษิ 5. การสรา้ งอาชีพทข่ี าดแคลนในทอ้ งถ่ิน เป็นการสร้างอาชีพใหม่ โดยอาศยั ขอ้ มูล ในท้องถิ่น เชน่ อาชีพ รับซ่อมมอเตอรไ์ ซคเ์ กดิ ขน้ึ เพราะชา่ งในหมูบ่ า้ นขาดแคลน 6. ประกอบอาชีพตามบรรพบุรษุ พ่อแม่ ปยูุ ่า ตายาย ทาํ อาชพี อะไร รนุ่ ลูก รนุ่ หลาน กจ็ ะดําเนนิ การต่อ เช่น อาชีพขายกว๋ ยเต๋ียว ถ้ามีชือ่ เสยี งกจ็ ะขายจนกระท่ังรนุ่ ลกู รุน่ หลาน 7. ประกอบอาชีพตามสภาพภูมิประเทศ ซงึ่ ในประเทศไทยประกอบด้วยสภาพ พนี้ ท่ีที่เป็นภูเขา ท่รี าบ ลุ่ม ท่ดี อน ดงั นัน้ การเพาะปลกู ขน้ึ อย่กู ับสภาพพ้นื ท่ีด้วย เช่น ท่ีราบลุม่ สามารถทาํ นาได้อยู่ใกล้ทะเลประกอบอาชีพ ดา้ นประมง หรอื บาง ทาํ เลสามารถจดั เป็นแหลง่ ท่องเท่ียวได้ 8. ประกอบอาชพี ตามนโยบายของรัฐบาลหรือของผู้ประกอบการเอง ซ่ึงในพนื้ ที่ ไม่เคยทํามากอ่ น เชน่ นํายางพาราไปปลกู ทางภาคอีสาาน แตเ่ ดมิ ยางพาราจะปลูก กันทางภาคใตเ้ ปน็ ส่วนใหญ่ อาชีพในโลกนีม้ ีหลากหลาย และคนเราตอ้ งมอี าชีพ เพื่อใหม้ ีรายไดเ้ ลี้ยงตนเอง ครอบครัว การมีอาชพี ของ ตนเองตอ้ งอาศยั ป๎จจยั หลายอยา่ ง เช่น ความรู้ความสามารถ เงินท่ีใช้ ในการลงทุน มีสถานที่ มตี ลาดรองรับ อาชพี เหล่านไี้ ด้แก่ งานบา้ น งานเกษตร งานประดษิ ฐ์ และงานธุรกจิ งานบ้าน เป็นอาชีพทเ่ี กีย่ วกบั งานบา้ น เช่น ผ้าและเครอ่ื งแตง่ กาย อาหาร และโภชนาการ ผ้าและเคร่ืองแตง่ กาย งานผ้าและเครอ่ื งแตง่ กาย ส่ิงสาํ คัญคอื ผา้ สําหรับใช้เป็นวัสดุทีส่ ําคัญในการนาํ ผา้ มาทํา เครื่องนุ่งหม่ แล้ว ยงั มี ประโยชน์ใชส้ อยอยา่ งอ่นื อกี เช่น ผา้ ปูโต๊ะ หมอนอิง ท่ีนอน ผา้ มา่ น ดังนั้น จึงควรมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ผ้า นอกจากน้ีอาจจะมีงานบรกิ ารท่ีเก่ียวข้องตา่ งๆ เช่น งาน ซักรีด งานรับปะชนุ เสอ้ื ผ้า

ผา้ ท่นี ิยมเลือกใช้ ชนิดของผา้ ทเ่ี รารู้จักกันแพร่หลาย ได้แก่ ผา้ ฝูาย ผ้าลนิ ิน ผา้ ไหม ผ้าขนสัตว์ และผา้ ท่ี ทาํ จากเสน้ ใยสงั เคราะห์ ซงึ่ จะแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื 1. เสน้ ใยธรรมชาติ ไดแ้ ก่ 1.1 เสน้ ใยท่ีได้มาจากสัตว์ เชน่ แกะ กระต่าย ไหม 1.2 เสน้ ใยที่ได้มากจากพชื เช่น ฝาู ย ลนิ นิ ปอ ปุาน และใยสปั ประรด 1.3 เสน้ ใยที่ไดม้ าจากแร่ เช่น ใยหนิ 2. เส้นใยสงั เคราะห์ เช่น ไนลอ่ น เทโตรอน ใยแกว้ อาชีพทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั งานผ้าและเครื่องแต่งกาย 1. งานตัดเย็บเส้ือผ้า เชน่ ตัดเส้อื ตัดกระโปรง ตัดกางเกง 2. งานตดั เยบ็ เครือ่ งใชต้ ่างๆ เช่น ผา้ มา่ น ปลอกหมอน ผ้าปทู ่นี อน 3. อาชีพท่เี กยี่ วกับการทอผ้า เช่น ทอผา้ ไหม ผ้าฝูาย โดยทอเป็นชนิ้ แล้วนําไปตัดเย็บ เป็นเส้อื ผา้ หรอื ของใชต้ า่ งๆ นอกจากน้อี าจมีการทอเป็นของใช้ เชน่ ทอผ้าขาวมา้ ผ้าปโู ตะ๊ ผา้ ปูที่นอน 4. อาชีพซ่อมแซมและตกแตง่ ดัดแปลงเสอ้ื ผา้ เปน็ อาชีพบริการรบั จา้ งซ่อมแซม เสอ้ื ผ้าที่ชํารุด เช่น การ ปะ การชนุ การกนุ๊ การดาม เปน็ อาชพี หน่งึ ท่ที าํ รายไดด้ ี ลงทนุ ไมส่ งู นกั มคี วามรูค้ วามสามารถในการปะชุน กุ๊น ดาม ตามท่ลี กู คา้ ตอ้ งการ 5. อาชีพตกแตง่ ดดั แปลงเสื้อผา้ เคร่อื งแตง่ กาย เป็นการตกแตา่ งดดั แปลงใหท้ ันสมัย หรอื ตามตอ้ งการให้ ดสู วยงามกว่าของเดิม หรอื ตกแตง่ ดัดแปลงเพ่อื ใช้ออกงาน ไดห้ ลายแหง่ ทาํ ใหป้ ระหยดั ค่าใช้จ่าย วัตถุประสงค์ในการดดั แปลง มดี งั นี้ 5.1 ตกแตง่ เพิ่มเติมหรอื ปิดบังรอยชาํ รดุ โดยใช้ลกู ไม้ กระดมุ ลกู ป๎ก สต๊ิกเกอร์ มาติด ดดั แปลงเสอ้ื กระโปรง กางเกง เชน่ ทําให้สน้ั ลง ยาวข้นึ 5.3 ดดั แปลงใหม่ทง้ั หมด เชน่ นาํ ชุดของคนอ้วนมาดดั แปลงสําหรับคนผอมกวา่

การจัดการงานอาชีพ 1. การเลอื กทาเลที่ต้ัง ถ้าเป็นอาชพี บรกิ าร เช่น ร้านตดั เส้ือผ้า หรือรบั ตกแตง่ ดัดแปลง กค็ วรต้องอยใู่ น ยา่ นชมุ ชน การคมนาคมเดินทางสะดวก แต่ถ้าเป็น อาชพี ทอผา้ กอ็ าจทอท่บี ้านได้ แล้วนาํ ไปสง่ ยังรา้ นคา้ อกี ตอ่ หน่ง 2. การออกแบบเพือ่ แนะนาลูกคา้ การมคี วามรู้เกยี่ วกับศิลปะการออกแบบดว้ ยจะ ชว่ ยให้ลูกคา้ พอใจ ย่งิ ขนึ้ นอกจากนั้นควรมคี วามรเู้ กีย่ วกับการออกแบบเสื้อผ้า ใสไ่ ปงานในลักษณะต่างๆ ความนิยมของวัยต่าง ๆ รปู รา่ งทรวดทรงของผู้ สวมใส่ ชนิดของผ้า ทง้ั หมดจะต้องใหเ้ หมาะสมกบั การออกแบบ โดยการ ออกแบบลงใน กระดาษก่อน แลว้ จงึ ไปวางทาบกับผ้าที่จะใช้ตัด 3. การตดั เยบ็ เป็นการตดั เยบ็ ตามแบบทกี่ าํ หนด ซง่ึ ตอ้ งอาศัยทกั ษะในการตัดเย็บเส้อื ผา้ ทอี่ อกแบบจึงดู เรียบรอ้ ย สวยงาม 4. การเกบ็ งานและการตกแตง่ เมื่อเยบ็ เป็นตัวแล้วกม็ ีการเกบ็ งานให้เรียบรอ้ ย และตกแตง่ ให้สวยงาม เชน่ การทาํ โบวผ์ กู 5. การรดี ผา้ ต้องศกึ ษาลกั ษณะของผา้ กบั ความแรงของเตารดี ไฟฟาู สว่ นใหญจ่ ะพรมนาํ้ กอ่ นรีดเส้ือผ้า เพื่อใหด้ ูสวยงาม 6. การหาลกู คา้ นอกจากจะอยู่ที่การเลือกทาํ เลแล้ว ถา้ มีฝมี ือลูกค้าก็จะมาหาเอง จากการบอกเล่าของ ลูกคา้ คนอ่นื ๆ อาชพี การทอผา้ งานออกแบบ มีความสําคญั การกาํ หนดสที ี่ใช้ การนาํ ไปใช้ ซึง่ เปน็ ความรูข้ องภมู ิ ป๎ญญามากอ่ น แต่ปจ๎ จุบนั มีการพยายามท่ีจะนาํ ความรสู้ มัยใหมเ่ ข้าไปดัดแปลง เช่น การเลือกลาย การใช้สีทีย่ อม พยายามใช้สีเคมบี ้าง เพ่ือมใิ หผ้ ้าสีตกจะทาํ ให้ผา้ เก่าช้า สภาพปัญหา 1. สภาพป๎ญหาท่ีพบผ้ปู ระกอบการขาดคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เช่น สนิ ค้าเสรจ็ ไม่ตรตามนดั ไม่มีความ รับผดิ ชอบต่อคุณภาพสินค้า เชน่ เยบ็ ไมเ่ รยี บร้อย ไม่ตรงกบั แบบทตี่ ้องการ ไมอ่ ดทนต่อการตําหนิของลกู ค้า ควร ให้ความสาํ คัญตอ่ ลกู ค้า 2. ผูป้ ระกอบอาชีพขาดทักษะในการออกแบบงานผ้า เชน่ การออกแบบงานตัดเยบ็ เส้ือผา้ การออกแบบ ลวดลายเก่ียวกับการทอผา้ 3. การบริการ ขาดการมมี นษุ ยสัมพันธ์ตอ่ ลูกค้า การอนรุ กั ษพ์ ลังงานและสง่ิ แวดล้อม 1. เศษผ้าทเี่ หลอื อาจดดั แปลงเป็นผลติ ภัณฑ์อ่นื ๆ ท่ีเหมาะสมกบั ขนาดของเศษผา้ เช่น งานประดิษฐ์ การ ทําดอกไม้ เยบ็ เปน็ ผา้ ห่มโดยเอาเศษผ้ามาต่อกัน หรือทาํ พรมเช็ดเทา้ 2. สที ี่ใช้ในการยอ้ มผ้า ในปจ๎ จุบันมีการนาํ สีวิทยาศาสตรม์ าใช้ เน่ืองจากคงทนกว่า สีธรรมชาติ ดังนน้ั ควร เน้นการใช้สีธรรมชาติ เพอื่ ไม่ใหเ้ ปน็ อันตรายต่อ ส่งิ แวดลอ้ ม

อาหารและโภชนาการ ความหมายของอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งท่คี นรบั ประทานหรือกินเขา้ ไปแลว้ มีผลทาํ ใหร้ ่างกายเจรญิ เติบโต แขง็ แรง และ ทําให้ รา่ งกายดาํ เนนิ ชวี ิตอย่ไู ด้ ซง่ึ อาหารน้ันรวมไปถึงนาํ้ ด้วย ความสาคญั ของอาหาร 1. ทาให้รา่ งกายมีการเจริญเติบโต เปน็ สงิ่ ท่ีสําคัญสําหรับการเจรญิ เติบโตของเดก็ หากรับประทาน อาหารไมเ่ พยี งพอกับความต้องการของรา่ งกาย อาจทาํ ให้เกดิ โรคต่าง ๆ ได้ และมสี ภาพรา่ งกาย ไม่สมบูรณ์ 2. ทาให้ร่างกายมภี มู ติ ้านทานโรค เมื่อไดร้ ับอาหารทเี่ หมาะสมตามหลกั โภชนาการแลว้ รา่ งกายสามารถ ที่จะต่อสกู้ ับเชื้อโรคตา่ งๆ ได้ 3. มอี ายุยืน เมื่อรบั ประทานอาหารครบถว้ น รา่ งกายแข็งแรง ทําใหส้ ุขภาพดี และมีผลทําใหอ้ ายยุ ืนยาว อาหารหลกั 5 หมู่ หมทู่ ่ี 1 ได้แก่ อาหารประเภทเน้อื สตั วต์ ่างๆ ไข่ ปลา นม ถ่วั เมลด็ แหง้ เปน็ แหล่งของสารอาหารประเภท โปรตนี หมู่ที่ 2 ได้แก่ อาหารประเภทขา้ ว แปงู น้าํ ตาล เผือก มัน ข้าวโพด เปน็ แหลง่ ของสารอาหารประเภท คารโ์ บไฮเดรต หมู่ท่ี 3 ได้แก่ อาหารประเภทผกั ใบเขยี ว พชื ผกั ต่างๆ เป็นแหล่งของสารอาหาร ประเภทแร่ธาตุต่าง ๆ และวติ ามิน หมู่ที่ 4 ได้แก่ อาหารประเภทผลไมต้ ่างๆ เป็นแหล่งของสารอาหารประเภท คารโ์ บไฮเดรต เพราะมี นํา้ ตาลมากจึงทําใหไ้ ด้พลงั งานมากกวา่ ผกั และเป็นแหล่งของแรธ่ าตุ และวิตามินตา่ งๆ หมู่ท่ี 5 ไดแ้ ก่ อาหารประเภทไขมนั ท่ีไดจ้ ากสตั ว์และพชื เชน่ นา้ํ มนั หมู นํ้ามัน ถัว่ น้ํามันงา นํ้ามันราํ ขา้ ว เป็นแหลง่ ของสารอาหารประเภทไขมนั อาหารหลัก 5 หมู่ ที่กําหนดขนึ้ อย่กู บั ผ้บู รโิ ภค ควรรับประทานให้ครบประจําทุกวัน และได้สดั ส่วนทีเ่ หมาะสมกับ ความตอ้ งการของรา่ งกาย เพอ่ื ร่างกายมีสขุ ภาพที่ดี ไม่เปน็ โรค ขาดสารอาหาร

1. ซ้อื อาหารเพือ่ คณุ ภาพของอาหาร หลกั เกณฑ์และเปาู หมายสาํ คัญของการเลอื ก ซื้ออาหาร ไม่ใช่ เพื่อใหไ้ ด้อาหารปริมาณมากทีส่ ุด หรือจ่ายเงนิ นอ้ ยท่ีสุด แต่ต้องคํานึงถงึ เพ่อื ให้ได้อาหารมปี ระโยชน์สูงสุด ทั้งใน ด้านคุณภาพอาหารและปริมาณ 2. ซอ้ื อาหารจากแหลง่ ผลติ ขายสง่ อาหารทกุ ชนิดท่ีจาํ หนา่ ยตามแหล่งผลติ หรือขายส่ง จะมีราคาตํ่ากว่า แหลง่ ทซี่ ื้อมาขายต่อหรอื ขายปลกี 3. การซื้ออาหารตามฤดูกาล จะไดร้ าคาถกู และคุณภาพสงู การซ้ือต้องเปลีย่ นแปลงและเน้นการใช้ ผลติ ผลตามฤดกู าล 4. รู้จกั ใชอ้ าหารแทนกนั ได้ หากไม่มีผลผลติ ทีต่ ้องการก็ใหเ้ ลอื กซ้อื สง่ิ ทท่ี ดแทนกันได้ โดยไม่ ทาํ ให้ผล ผลิตมีคุณภาพต่ําลง 5. การเลือกซื้ออาหาร ควรมคี วามรู้เก่ยี วกบั คณุ ภาพอาหาร จะไดอ้ าหารทมี่ ีคุณภาพสูงคุ้มค่ากบั เงนิ ท่ีเสยี ไป หลกั การในการเตรียมอาหาร ประกอบ และปรุงอาหาร

หลักในการปรุงอาหาร ยึดหลัก 3 ส ดงั น้ี 1. สงวนคณุ ค่า ด้วยวิธกี ารปรงุ ท่ชี ่วยสงวน คณุ ค่าของอาหารให้ผู้บรโิ ภคไดร้ บั ประโยชน์ เตม็ ที่ 2. สกุ เสมอ คือ ใชค้ วามร้อนในการปรุงอาหาร เพื่อทําลายเชือ้ โรคและสารเคมที ่ีอาจปนเปอื้ นติด มากบั อาหาร 3. ควรคาํ นึงถงึ ความสะอาด ปลอดภยั ของ อาหาร และการปรุงอาหาร การเกบ็ ถนอมอาหาร การถนอมอาหาร เป็นวธิ ีการเก็บอาหารให้มอี ายุยืนนาน สามารถนํามารับประทานได้ โดยมีหลายวิธี คือ 1. การตากแหง้ เปน็ วธิ ที างธรรมชาติโดยใช้แสงแดดทําใหอ้ าหารแห้ง อาหารท่นี าํ มาตากแหง้ ตอ้ งเป็น อาหารทีม่ คี ุณภาพและเป็นอาหารสด 2. การรมควนั เปน็ การถนอมอาหารทแ่ี ตกต่างจากการทาํ ใหอ้ าหารแห้งดว้ ยความร้อน เพราะนอกจาก เปน็ การทําใหอ้ าหารแหง้ แล้วยงั มคี วนั ของไม้ช่วย รกั ษาอาหารให้เกบ็ ไวไ้ ดน้ าน 3. การดอง การดองผกั ผลไม้ มหี ลายรูปแบบ เชน่ การดองเคม็ ดองเปร้ียว ดอง หวาน เปน็ ตน้ 4. การทาเค็ม เป็นวิธกี ารถนอมอาหารโดยใช้เกลือเปน็ วัตถุกันเสยี สาํ หรับเกบ็ รักษาอาหารใหอ้ ยไู่ ด้นาน 5. การใชน้ า้ ตาล เปน็ วิธกี ารใช้ความหวานของน้ําตาลเก็บรักษาอาหารใหอ้ ย่ไู ด้นาน เชน่ การเชื่อม การ กวน การฉาบ การแช่อิ่ม การเก็บอาหารสดและอาหารแหง้ 1. การเกบ็ เนือ้ สตั ว์ มีวิธีการเกบ็ ดงั น้ี - เน้ือหมู เน้ือวัว ควรล้างแลว้ เก็บไว้ในตู้เยน็ ก่อนเกบ็ ตอ้ งเอาออกจากวสั ดุทห่ี ่อหุ้มอยู่ ล้าง แล้ว ซบั ใหแ้ หง้ จงึ ใส่กล่องหรอื ถงึ พลาสตกิ ปิดใหแ้ นน่ แช่ในชอ่ งเย็นจัด - เน้อื สตั วจ์ ําพวกปลา เปด็ ไก่ อาจใช้วธิ รี วน ตม้ น่งึ ย่าง กไ็ ด้ จะเกบ็ ไดน้ านข้ึน 2. การเก็บผัก ถ้ายังไมน่ ําผักมาประกอบอาหาร ควรพรมนํา้ หอ่ พนั ดว้ ยใบตอง เกบ็ ไว้ในท่รี ม่ หรอื บรรจุ ถงุ พลาสตกิ เกบ็ ไวใ้ นตู้เย็นชอ่ งธรรมดา 3. การเก็บไข่ มวี ธิ กี ารเกบ็ ดังนี้ 3.1 เลือกไขท่ ใี่ หม่และสะอาด ไมค่ วรเก็บไข่ไว้หลายวัน 3.2 ไมค่ วรล้างไขก่ อ่ นเกบ็ นอกจากสกปรก เพราะเชื้อโรคจะผา่ นเขา้ ไปไดง้ า่ ย 3.3 ควรเก็บไข่แยกใส่ช่องที่เกบ็ ไขใ่ นตเู้ ยน็ โดยวางส่วนปูานข้นึ จะทาํ ให้เก็บไดน้ าน อาชพี ที่เกี่ยวข้องกบั อาหารและโภชนาการ 1. อาชีพเปดิ ร้านขายอาหาร เช่น ขายขา้ วแกง ขายอาหารตามสง่ั ขายก๋วยเตีย๋ ว ขายขนมจนี บางร้าน อาจจะขายเฉพาะอยา่ งหรอื หลายอย่างอยใู่ นร้านเดียวกนั ขนาดของร้านขน้ึ อยกู่ บั การลงทนุ และจํานวนลูกคา้ ดงั นนั้ การต้ังรา้ นอาหาร จะต้องเลือกทาํ เล สํารวจลกั ษณะของลูกค้า เชน่ รายได้ ของลูกคา้ ความชอบ ชนดิ และ รสชาตขิ องอาหาร การเปิดร้านอาหารต้องควบคู่ไปกบั การขาย เคร่อื งดืม่

2. อาชีพขายเคร่ืองดืม่ ร้านประเภทน้ีจะเน้นเครอื่ งดม่ื เปน็ หลัก ถ้าเครือ่ งด่ืมขนาด เล็กอาจจะขายเฉพาะ เครื่องด่ืมประเภทกาแฟซึ่งมหี ลากหลายชนดิ อาจขายตามข้างทางหรือห้างกไ็ ด้ ถ้าขายเครื่องด่มื ทม่ี ีแอลกฮอลก์ ็ อาจจะมอี าหารประเภทของว่างให้แกลม้ ด้วย ส่วนใหญ่ก็จะมีดนตรี และอาจมสี ถานท่ีสําหรับเต้นราํ ได้ ท่ีเรียกกนั วา่ Pub (ผบั ) 3. อาชพี ขายขนม อาจมบี างคนท่ตี อ้ งการเปิดรา้ นขายขนมอย่างเดียว เช่น ขายขนม ท่มี ีความเย็น ขาย ขนมประเภทไข่ ขายขนมไทย เช่น บวั ลอยเผอื ก เตา้ สว่ น ขายประเภทเบเกอรี่ ซ่ึงอาจควบกับการขายเครื่องด่มื ด้วย การเรียกช่ืออาจแตกต่างกัน เชน่ รา้ นขายข้าวแกงอาจจะอย่ขู ้างถนน ในตึกแถว ภัตตาคาร บางรา้ นกม็ ดี นตรี ด้วย 4. อาชพี ขายอาหารปนิ่ โต อาชีพนไี้ ม่จาํ เปน็ ตอ้ งเปิดร้านขายอาหาร แตใ่ ชว้ ิธี ประชาสัมพันธใ์ หท้ ราบว่ามี ธุรกจิ ประเภทน้เี พอื่ ใหล้ ูกคา้ ส่ังจอง ราคาและชนิด ของอาหารขน้ึ อยู่กับการตกลงกัน บางคนรับอาหารเฉพาะวัน ทํางาน และสามารถเลอื กอาหารได้ อาชพี นตี้ ้องอาศยั รสชาตขิ องอาหารเป็นหลกั การสง่ ตรงตอ่ เวลา การเลือก สถานทกี่ ไ็ มจ่ าํ เป็น อาจจะใชส้ ถานท่ีในบ้านได้ 5. อาชีพถนอมอาหาร การถนอมอาหารเหมือนการเกบ็ อาหารใหม้ อี ายุยนื คงทน เช่น การตากแหง้ การ รมควนั การดอง การทาํ เคม็ การใช้นาํ้ ตาล อาชีพนข้ี นึ้ อยู่ กบั วสั ดุ ทรพั ยากรที่มีอยู่ในทอ้ งถ่ิน เช่น อยู่ใกล้ทะเลก็ อาจจะทาํ ปลาเคม็ ปลา แดดเดียว หอยดอง หรือในท้องถ่ินทม่ี ีพืชผกั มากก็จะถนอมผกั โดยการดองผกั หรือมี ผลไมม้ ากกใ็ ช้วธิ เี ชื่อม เชน่ ทาํ มะตมู เช่ือม 6. อาชีพบรกิ ารจดั เลยี้ ง เปน็ อาชพี ท่มี ีบริการจัดเลีย้ งอาหารนอกสถานท่ี เช่น จดั แบบบฟุ เฟุต์ โต๊ะจนี รายละเอยี ดเก่ียวกับราคาและชนดิ ของอาหารขนึ้ อยกู่ ับ การตกลง การจดั การงานอาชีพ 1. ทาเลทต่ี งั้ อาชพี ทเ่ี ก่ียวกับอาหาร เชน่ การเปดิ รา้ นขายอาหาร ขายเคร่อื งด่มื ขาย ขนม นอกจาก รสชาติอาหารยงั จะต้องอาศัยทาํ เลท่ีตง้ั รา้ น จงึ จําเป็นต้องเลือก สถานที่ท่อี ยูใ่ นยา่ นชมุ ชน 2. การจัดสถานที่ ควรออกแบบรา้ นให้ดโู ล่ง จัดโต๊ะและเก้าอ้ี รวมทง้ั ของใช้ภายใน ร้านตอ้ งมคี วาม สะอาดและถูกอนามยั 3. ควรเลอื กซอื้ อาหารท่มี ีคณุ ภาพ มคี วามสดใหม่ ถ้าเป็นอาหารแห้งควรหลกี เลยี่ ง ทเี่ กบ็ ไวน้ าน ตรวจสอบวา่ มีเชื้อราหรอื ไม่ มีสารอ่นื ปนเปอ้ื นหรือไม่ 4. การปรุงอาหาร ควรคํานงึ ถงึ คณุ คา่ อาหาร เชน่ การใชค้ วามร้อน การรักษา ความ สะอาด การใช้ผงชู รส การคงคณุ คา่ ของอาหารทง้ั 5 หมู่ การจดั อาหารให้ เหมาะสมกบั วยั เช่น วยั ผู้ใหญ่เปน็ วยั ทีต่ ้องการเสริมสรา้ ง เซลลต์ า่ งๆ เพ่ือรกั ษาสมรรถภาพการทํางานในรา่ งกายใหค้ งที่ จงึ ควรไดร้ ับอาหารทงั้ 5 หมู่ ใน สดั สว่ นทเ่ี หมาะสม 5. การบริการในธรุ กิจขายอาหาร มีความสําคัญยิง่ ผู้บรกิ ารตอ้ งใสใ่ จกับการมี มารยาทในการบริการ มี ความรเู้ ก่ียวกบั การเสริ ์ฟอาหารและเครอื่ งด่มื 6. การมีคุณธรรม จริยธรรม ตอ่ ลูกคา้ เช่น การคิดราคาอาหารท่ีเปน็ ธรรม รบั ผดิ ชอบในกรณที ่อี าหาร ต้องมคี วามสดหรือมคี ุณค่าทางอาหาร

กิจวตั รประจาํ วนั ของอาชีพขายอาหารอาจไม่เหมือนอาชพี อนื่ ๆ เช่น ตนื่ เช้าไปซือ้ ของ ทต่ี ลาดแล้วเตรียมอาหาร เพอื่ ใหท้ ันขาย ชว่ งทีเ่ หนอื่ ยในการบรกิ ารลกู ค้าก็คอื ช่วงเชา้ ชว่ ง กลางวัน ช่วงเยน็ ซง่ึ เป็นช่วงท่ีลกู ค้าสว่ นใหญ่มา รับประทานอาหาร ช่วงเวลาอ่นื ๆ อาจจะเปน็ งานเบา เชน่ ชว่ งทเ่ี ตรยี มอาหาร มีการหั่นผัก หัน่ เนื้อ สภาพปัญหา 1. ขาดการบรกิ ารที่ดี ไมม่ มี นุษยสัมพนั ธ์ ไมส่ นใจลูกคา้ เม่อื มาใช้บรกิ าร ดังน้นั จงึ ควรปรบั ปรงุ ดา้ นการ บรกิ ารท่ดี ตี อ่ ลูกค้า เชน่ เมอื่ ลูกคา้ เข้าร้านควรย้ิมแยม้ แจม่ ใส พร้อมจดั หาโตะ๊ ใหน้ ่งั บริการตามลําดับที่ลกู ค้าเข้า มาใชบ้ ริหาร 2. เจา้ ของรา้ นมกั ขาดทนุ เนื่องจากการขายอาหารสามารถถูกคดโกงไดห้ ลายทาง ถา้ เจา้ ของหรือ ผู้ไวใ้ จ ได้ไม่ไดด้ แู ลอยา่ งใกล้ชิด เชน่ คนเก็บเงนิ ไม่ซื่อสัตย์ ลูกจ้างมกั หยิบฉวยส่งิ ของไปใช้ในบ้าน 3. คุณภาพสนิ ค้าไม่คงท่ี เช่น ไม่สุก ไม่สะอาด เส่ือมคุณภาพ ทาํ ให้ลกู ค้าไมม่ า ใช้บริการ การอนุรกั ษพ์ ลงั งานและสงิ่ แวดล้อม การอนุรักษพ์ ลังงานและสิง่ แวดล้อมในครองครัว ทาได้ดังนี้ 1. การเลอื กซื้อเครื่องใชไ้ ฟฟาู มาใช้ประกอบอาหาร เชน่ กะทะไฟฟูา ควรเป็นเคร่อื งใชไ้ ฟฟาู ทีร่ ะบุฉลาก ประหยัดไฟ 2. เมอ่ื เปิดกอ๊ กน้ําประปาควรใช้น้ําในปริมาณพอเพยี ง แลว้ ปิดก๊อกนา้ํ ทนั ที อย่าปลอ่ ยใหน้ า้ํ ไหลจนลน้ ภาชนะ 3. น้ําใช้แล้ว เช่น นํา้ ซาวข้าว นํ้าลา้ งผกั ผลไม้ น้ําซกั ผา้ ครั้งสดุ ท้ายกน็ ําไปรด ต้นไมไ้ ด้ 4. ถงุ ขยะในบ้านต้องมฝี าปดิ ให้มิดชดิ เพราะเปน็ จุดรวมของสตั วท์ ่เี ปน็ พาหะนําโรค เช่น หนู แมลงสาบ

งานเกษตร งานเกษตร หมายถงึ งานทเ่ี กย่ี วกับการปลูกพชื เลยี้ งสตั ว์ และอาชพี ทเ่ี กีย่ วข้องตาม กระบวนการผลิตและ การจดั การผลผลิต มีการใชเ้ ทคโนโลยเี พ่อื การเพมิ่ ผลผลิต ปลูกฝ๎งความ รับผิดชอบ ขยัน อดทน การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน และสงิ่ แวดลอ้ มงานเกษตรส่วนใหญ่เกีย่ วขอ้ งกบั การปลกู พชื จะเหน็ วา่ ในอดตี เรามพี ชื หลายชนิดที่สามารถสง่ ออกไป ขายต่างประเทศได้ เชน่ ขา้ ว ยางพารา ขา้ วโพด มันสาํ ปะหลงั ส่วนสัตว์และการประมงยงั นอ้ ยโดยเฉพาะการประมง ตอ้ งอาศยั สภาพพื้นที่ที่ตดิ ชายทะเล การประกอบอาชพี เกษตรจะก้าวหนา้ อย่างไร ตอ้ ง เข้าใจพ้นื ฐาน เกษตร โดยเฉพาะเรื่องดนิ และปุ๋ยจงึ เป็นสง่ิ สาํ คัญในการเจริญเตบิ โตของพชื ดนิ 1. ความหมายของดิน ดนิ เกิดจากการผพุ งั สลายตวั ของหินและแรผ่ สมกับซากพชื ซากสตั วท์ ต่ี ายทบั ถม เปน็ เวลาหลาย ลา้ นปี หลงั จากเปดิ ปุาใหม่ ๆ ดนิ ยงั อดุ มสมบรู ณ์ ปลูกพืชลงไปกจ็ ะงามและให้ผลผลติ สูง แต่ถ้าปลูกพชื ตดิ ตอ่ กนั หลาย ๆ ปี ไมม่ ีการปรบั ปรงุ ดนิ ดนิ จะเสอื่ มโทรมเพราะอนิ ทรียวัตถแุ ละธาตุอาหารพชื เปรยี บเสมอื นรากฐานของ ชีวิตเกษตรกร หรือกลา่ วอีกนยั หนงึ่ คณุ ภาพของดนิ เทา่ กบั คุณภาพชวี ิตของเกษตรกร 2. สว่ นประกอบดนิ (1) อนนิ ทรยี วัตถุ เปน็ สว่ นท่ไี ด้จากการผุพังสลายตวั ของแรแ่ ละหนิ เปน็ แหล่งธาตุอาหารพืชที่ สําคัญที่สดุ ดินส่วนใหญ่ทใ่ี ช้ปลูกพชื ในประเทศไทย มีอนนิ ทรยี วัตถเุ ป็นสว่ นประกอบถึงร้อยละ 97-99 ของ น้ําหนกั แหง้ ของดิน (2) อินทรียวตั ถุ เปน็ สว่ นที่ได้จากการเนา่ เปื่อยผุพังสลายตวั ของเศษซากพชื และสัตว์ที่ ทับถม กนั อยใู่ นดิน อินทรียวตั ถมุ ีปริมาณธาตุอาหารพืชอยู่น้อย แต่มคี วามสําคัญในการทําดินใหโ้ ปรง่ รว่ นซุย ระบายน้ํา และถา่ ยเทอากาศไดด้ ี ทง้ั ยังเปน็ แหล่งพลังงานของ จลุ ินทรยี ใ์ นดนิ ดินสว่ นใหญ่ทใ่ี ชเ้ พาะปลกู พชื ในประเทศไทย มี อนิ ทรียวัตถุอยเู่ พยี งร้อยละ 1-3 ของนํ้าหนกั แหง้ ของดนิ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในภาคอสี านดนิ ส่วนใหญ่อินทรียวัตถุ ต่ํามาก (นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 1) จงึ ควรใหค้ วามสาํ คัญต่อการเพ่มิ อินทรยี วตั ถุ ให้แก่ดนิ (3) น้าในดนิ ทาํ หน้าทช่ี ว่ ยละลายธาตอุ าหารพชื ในดิน และจาํ เปน็ สําหรบั ใช้ในการเคลื่อนย้าย ธาตอุ าหารและสารประกอบตา่ งๆ เข้าไปในต้นพชื (4) อากาศในดนิ ทําหน้าท่ใี ห้ออกซเิ จนแกร่ ากพชื และจุลนิ ทรยี ์ในดิน สําหรบั ใช้ในการหายใจ 3. หนา้ ตัดดนิ ดนิ มคี วามลกึ หรอื ความหนา ถา้ มองลึกลงไปในแนวด่ิง จะพบว่า ดนิ มีลักษณะ เป็นช้ันๆ เรียก ส่วนน้ีว่า หนา้ ตัดดนิ ดนิ ทวั่ ๆไปมักมอี นิ ทรยี วัตถุสะสมอยู่ที่ดินบนและปริมาณ อินทรียวตั ถุจะลดนอ้ ยลงใน ดนิ ลา่ ง ระดบั ที่ลึกลงไปตามแนวหน้าตดั ดนิ จะพบหินทก่ี ําลงั ผพุ ัง สลายตวั ในช้ันลา่ ง เรียกว่า วัตถตุ ้นกาํ เนิดดนิ ช้นั ทอ่ี ยู่ ลึกลงไปถดั จากวัตถุต้นกาํ เนิดดนิ เรยี กวา่ พ้ืนหิน ซง่ึ เป็นช้ันหนิ ที่ยงั ไมไ่ ดผ้ ่านกระบวนการผพุ งั สลายตวั รากพชื เจรญิ เติบโตและดดู ธาตุอาหารเฉพาะในส่วนที่เป็นดินบนและดินลา่ ง ซ่ึง ดนิ แตล่ ะชนดิ มคี วามลึก ไม่เท่ากนั ดินทีล่ กึ จะมพี นื้ ทใ่ี ห้พชื หยั่งราก และดดู ธาตอุ าหารได้มาก กวา่ ดินท่ตี นื้ การปลกู พืชให้ไดผ้ ลดี จึงควร พจิ ารณาความลกึ ของดินดว้ ย

4.การเจริญเตบิ โตของพชื ทกุ สรรพส่งิ (สิ่งมชี ีวติ และสงิ่ ไมม่ ีชวี ิต) ในระบบนิเวศล้วนเชือ่ มโยงสมั พันธก์ ัน เป็นเหตปุ ๎จจยั ซึง่ กนั และกัน สาํ หรบั ป๎จจัยหลกั ทมี่ ีผลต่อการเจริญเตบิ โตของพืช มดี ังต่อไปนี้ (1) แสงแดดเปน็ แหล่งพลังงานที่พืชใช้ในการสงั เคราะหแ์ สง (2) อุณหภมู ิของดินและบรรยากาศ มผี ลต่อกระบวนการต่าง ๆ ภายในตน้ พืช เชน่ การ สงั เคราะห์แสง การ หายใจ เปน็ ต้น (3) ความชื้น/นํ้า เปน็ วัตถดุ บิ ในการสังเคราะห์แสง ทาํ ให้เซลลเ์ ตง่ ตัว เป็นตวั กลางขนย้าย ธาตุ อาหารและอินทรยี สาร ในสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช (4) สภาพกรด-ดา่ งของดนิ นยิ ม บอกเปน็ คา่ พเี อช (pH) โดย ท่ัวไปพชื เจริญเตบิ โตไดด้ ใี น ดนิ ทมี่ ี พีเอชใกลเ้ ป็นกลาง (pH 6.0-6.5) (5) ชนิดและปรมิ าณของก๊าซตา่ งๆ ในดิน อากาศ สว่ นใหญ่ในดนิ ประกอบ ด้วยก๊าซออกซเิ จน ไนโตรเจน และคารบ์ อนไดออกไซต์ รากพชื ใชก้ ๊าซ ออกซเิ จนในการหายใจ ถา้ ก๊าซออกซเิ จนไม่พอระบบรากของ พืชจะ อ่อนแอ (6) โรคและแมลงศัตรพู ืช ถ้าพชื มโี รคและแมลงศัตรพู ชื รบกวนมาก ย่อมกําจดั การเจริญเตบิ โต และการให้ผลผลติ ของพชื (7) ปริมาณธาตอุ าหารพืชในดนิ และสมบัตขิ องดิน สมบัติทางเคมี โดยเฉพาะ ความเปน็ กรด-ดา่ ง ของดนิ สมบตั ิทางกายภาพ เช่น ความรว่ นซุยของ ดนิ การระบายน้าํ การถ่ายเทอากาศ ฯลฯ และสมบัติทาง ชวี ภาพ ได้แก่ จลุ นิ ทรียแ์ ละสัตวเ์ ล็ก ๆ ในดิน มี ผลต่อการเจริญเติบโตของพืช (8) ความรู้ความสามารถในการจัดการไร่นาของเกษตรกร ซ่ึงนบั วนั จะยง่ิ สําคญั มากขน้ึ เน่อื งจาก

การแขง่ ขนั ทีร่ ุนแรงข้นึ ทงั้ ดา้ นประสทิ ธภิ าพ คุณภาพ และต้นทุนการผลิต 5. ความต้องการธาตอุ าหารของพืช ในจํานวน 17 ธาตทุ ีพ่ ืชต้องการใช้ในการเจรญิ เตบิ โตและใหผ้ ล ผลติ ได้ 3 ธาตุ จากน้าํ และอากาศ คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซเิ จน สว่ นอีก 14 ธาตไุ ด้จากดิน ใน 14 ธาตุ นั้น มี 6 ธาตุทพี่ ืชตอ้ งการในปรมิ าณมาก คอื ไนโตรเจน (เอน็ ) ฟอสฟอรสั (พี) โพแทสเซยี ม (เค) แคลเซียม แมกนเี ซยี ม และกาํ มะถนั แต่การใส่ปุ๋ยจะเนน้ เฉพาะ เอ็น-พ-ี เค จงึ เรียกว่า ธาตอุ าหารหลัก ส่วนแคลเซียม แมกนีเซยี ม และกํามะถนั น้นั ดนิ สว่ นใหญท่ ่ใี ช้ปลกู พืชในป๎จจุบันมกั ไมข่ าด และเมื่อใส่ป๋ยุ เอน็ -พ-ี เค ลงไปในดิน มกั มี 3 ธาตนุ ป้ี นลงไปดว้ ยเสมอ ซึง่ เรยี กว่า ธาตุอาหารรอง สว่ นธาตอุ าหารเสริม (จุลธาตุ) ไดแ้ ก่ เหลก็ สงั กะสี โบรอน เป็นต้น ถ้าพชื ขาดธาตุหนึ่งธาตใุ ดธาตุนน้ั จะเป็นตวั จํากัดการเจริญเตบิ โตและการให้ผลผลติ ของพืช 6. การสญู เสยี ธาตุอาหารพชื ในดนิ ธาตอุ าหารพชื ในดินสญู เสยี ออกไปไดห้ ลายทาง ดังนี้ (1) สูญเสยี ไปกับผลผลิตพืชท่ีเกบ็ เก่ยี วออกไป (2) ถูกชะล้างออกไปจากบริเวณรากพืช โดยเฉพาะไนโตรเจน เชน่ ถา้ เกดิ ฝนตกหนกั หลงั จากใส่ ปยุ๋ ไนโตรเจน โดยเฉพาะในดินทราย เกษตรกรอาจได้รับประโยชนจ์ ากการใสป่ ุ๋ยเพียงรอ้ ยละ 10 เท่านน้ั เพราะ ไนโตรเจน ละลายไปกบั นํ้าง่ายมาก (3) สูญหายไปในรปู กา๊ ซ เชน่ กรณขี องไนโตรเจน (4) การตรงึ โดยเฉพาะฟอสฟอรัส การตรึงหมายถึงธาตุอาหารพืชถกู ดินหรือ สารประกอบในดนิ จับไว้ พืชจงึ ไม่สามารถดดู ธาตอุ าหารเหล่านั้นไปใช้ประโยชนไ์ ดท้ ง้ั หมด ซ่งึ ความเปน็ กรด-ด่างของดิน เป็นปจ๎ จยั สาํ คญั ท่ีสุด ทม่ี ผี ลตอ่ การตรงึ ธาตุอาหารพชื ในดนิ (5) สญู เสยี ไปกับการชะล้างและพงั ทลายของดนิ พ้นื ทีท่ ่ีมคี วามลาดและมีสภาพโลง่ เตียน ปราศจากพชื พนั ธหุ์ รอื ส่ิงปกคลุมหน้าดนิ หรอื มกี ารไถ พรวนดินเพอื่ เตรียมปลกู พชื ถา้ ฝนตกหนักจะเกดิ การกดั เซาะผวิ ดิน ธาตุอาหารพืชในดนิ ย่อมสญู หายออกไปจากพนื้ ทดี่ ้วย เมือ่ มกี ารเพาะปลูกพืช ธาตุอาหารจุถกู ดดู ไปใช้ในการเจริญเตบิ โตและถูกเก็บสะสมไว้ ในส่วนตา่ ง ๆของ พชื ไดแ้ ก่ ใบ ลําต้น ดอก ผล ฯลฯ เม่อื เก็บเก่ยี วผลผลิตออกจากพน้ื ที่ ธาตุ อาหารพชื ย่อมถูกนําออกไปจากพืน้ ท่ี ดว้ ย

ในพ้ืนที่การเกษตร ธาตุอาหารพชื ในดินสญู เสียไปกับผลผลิตมากที่สุด การปลกู พืชตดิ ตอ่ กนั ยาวนานโดย ไม่มีการเพ่มิ เติมธาตอุ าหารลงไปในดนิ ความอุดมสมบรู ณข์ องดินจะลดลง และในท้ายที่สุดดนิ จะไมส่ ามารถให้ ผลผลิตพชื สูงได้ ดังนนั้ ควรเพิม่ เตมิ ธาตอุ าหารพืช ลงไปในดินใหเ้ พียงพอ ซง่ึ การใส่ปยุ๋ เปน็ วธิ ีการหนึง่ เพราะการฟนื้ ฟูดนิ ใหก้ ลับมาอุดมสมบรู ณอ์ ีกคร้งั หน่ึง ต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายสงู มาก จึงควรดูแลรกั ษาความอุดมสมบรู ณ์ของดนิ ให้ ดีอยูเ่ สมอ สารฆา่ ศัตรูพืชและสัตว์ สารฆา่ ศัตรพู ชื และสัตว์ สว่ นใหญ่เป็นสารประกอบอนนิ ทรยี ์ เปน็ พษิ กบั แมลงและ ศตั รพู ืช หากใช้อย่างไมร่ ะมดั ระวังย่อมเปน็ โทษ ต่อสุขภาพของทั้งผู้ใชแ้ ละผบู้ รโิ ภค ท้งั ยงั มีสารพิษตกคา้ งในสิ่งแวดล้อมอกี ด้วย จงึ มกั มคี ําเตอื นบนฉลาก ตัวอยา่ งเช่น ควรเก็บเกีย่ วผลผลิตหลงั จากฉีดพ่นยา 20 วัน เปน็ ตน้ มิฉะน้ันสารพษิ ตกค้างจะเปน็ อนั ตรายตอ่ ผ้บู รโิ ภค ปยุ๋ และประโยชนข์ องปุ๋ย ป๋ยุ คอื วสั ดทุ ี่มธี าตุอาหารพชื เปน็ องค์ประกอบหรอื ส่งิ มชี วี ิตที่ก่อให้เกดิ ธาตอุ าหารพืช เมอ่ื ใสล่ งไปในดิน แล้วจะปลดปลอ่ ย หรือสังเคราะหธ์ าตุอาหารท่ีจาํ เปน็ ใหแ้ ก่พืช การเพาะปลกู พชื ในดนิ ท่มี คี วามอุดมสมบรู ณ์สูง จงึ ต้องการธาตอุ าหารเพิ่มเติมจากปยุ๋ น้อยกวา่ ดินท่ีมี ความอุดมสมบูรณต์ าํ่ ป๋ยุ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี (1) ปุ๋ยเคมี คอื สารประกอบอนนิ ทรยี ์ทีใ่ ห้ธาตุอาหารพชื เปน็ สารประกอบทผ่ี ่าน กระบวนการผลิตทาง เคมี เมอื่ ใสล่ งไปในดนิ ทมี่ ีความชื้นท่ีเหมาะสม ป๋ยุ เคมจี ะละลายใหพ้ ชื ดูดไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อยา่ งรวดเรว็ (2) ปุย๋ อนิ ทรยี ์ คอื สารประกอบทไ่ี ด้จากสงิ่ มีชวี ิต ไดแ้ ก่ พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ ผา่ นกระบวนการผลติ ทางธรรมชาติ ปยุ๋ อนิ ทรยี ส์ ว่ นใหญใ่ ชใ้ นการปรบั ปรุง สมบตั ทิ างกายภาพของดนิ ทําใหด้ ินโปร่ง รว่ นซยุ ระบายน้ํา และถ่ายเทอากาศไดด้ ี รากพชื จึงชอนไชหาธาตอุ าหารได้ง่ายขึ้น ปุย๋ อินทรีย์มี 3 ประเภท คือ ปยุ๋ หมัก ปยุ๋ คอก และป๋ยุ พืชสด ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ มปี ริมาณธาตุอาหารพชื อยู่น้อย เมอื่ เปรียบเทียบกับป๋ยุ เคมีและธาตอุ าหารพืช ส่วนใหญอ่ ยใู่ นรูปของสารประกอบอนิ ทรยี ์ เช่น ไนโตรเจน อยใู่ น สารประกอบ จําพวกโปรตีน เมื่อใส่ลงไปในดนิ พชื จะไม่สามารถดูดไปใชป้ ระโยชน์ได้ทนั ที แต่ต้องผ่าน กระบวนการย่อยสลายของจลุ ินทรีย์ในดิน แลว้ ปลดปลอ่ ยธาตุ อาหารเหล่าน้ันออกมาในรปู สารประกอบอินทรยี ์ เชน่ เดียวกันกบั ปยุ๋ เคมี จากน้ัน พชื จึงดดู ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ (3) ปุย๋ ชวี ภาพ คือ ปุ๋ยที่ประกอบด้วยจลุ นิ ทรยี ท์ ่ียังมีชวี ิตอยู่ และคณุ สมบตั ิพิเศษสามารถสังเคราะห์ สารประกอบธาตอุ าหารพืชได้เอง หรือสามารถเปลีย่ นธาตอุ าหารพืชท่อี ยู่ในรูปที่ไม่เปน็ ประโยชนต์ ่อศัตรพู ชื ใหม้ า อยใู่ นรปู ท่ีพืชสามารถ ดดู ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ และยังมีประโยชน์อน่ื ๆอกี เช่น

1. ทาํ ให้ศตั รพู ืชลดลงชวั่ คราว เพราะไมช่ อบกล่ิน หรือความเปน็ กรดของ ป๋ยุ ชวี ภาพ แต่เมอื่ ศตั รพู ืชปรบั ตวั ได้ กจ็ ะทาํ ลายพชื เหมือนเดิม 2. ในกรณที ีเ่ กษตรกรใชป้ ุย๋ เคมีสตู รเดมิ ๆ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ทาํ ใหม้ ีการสะสมธาตอุ าหารพชื บางตวั ในดนิ มากเกินไป โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งฟอสฟอรสั และโพแทสเซยี ม เมอื่ หยุดใชป้ ุย๋ เคมแี ลว้ ใชป้ ๋ยุ ชีวภาพแทน พชื จะคงเจริญ เตบิ โตได้ดี 3. ในบางกรณี ดินมคี วามเป็นดา่ งหรือธาตุอาหารพชื บางตวั ไม่ละลาย เมื่อใชป้ ุ๋ยชวี ภาพที่มีความ เปน็ กรดใสล่ งไป จะทําใหส้ ภาพดนิ ดีข้นึ ช่ัวคราว และปลดปล่อยธาตุอาหารพืชออกมามากขน้ึ 4. ในกรณที ดี่ ินน้นั ขาดธาตุอาหารรองบางตวั ปุย๋ ชวี ภาพทม่ี ีธาตอุ าหาร ดังกล่าวจะเข้าไปทดแทน ทาํ ให้เกิดผลดตี อ่ พืช 5. มฮี อรโ์ มนพชื บางอย่างที่ถกู สงั เคราะห์ข้นึ ในกระบวนการหมกั และมปี รมิ าณเหมาะสมกบั พืช น้ันๆ จงึ ทาํ ให้พืชเจริญเตบิ โตดีข้ึน ปรมิ าณธาตอุ าหารพชื ในปุ๋ยเคมี ฉลากของปุย๋ เคมีทกุ ชนิดมีตวั เลข 3 จํานวนเรียงกนั ตัวเลขแต่ละจํานวนแสดงปรมิ าณ ธาตไุ นโตรเจน ฟอสฟอรสั และโพแทสเซียม (เอน็ -พี-เค) ตามลาํ ดับ เรียกว่า สตู รปุย๋ ซ่งึ มี หน่วยเปน็ เปอร์เซนต์ (%) โดยนาํ้ หนัก ทงั้ หมดของป๋ยุ เคมี ตัวอยา่ งเชน่ ปุ๋ยสูตร 13-0-46 แสดงวา่ ปยุ๋ เคมีหนกั 100 กิโลกรมั มไี นโตรเจน 13 กโิ ลกรัม ไมม่ ี ฟอสฟอรสั และมีโพแทสเซยี ม 46 กโิ ลกรัม ส่วนธาตุอาหารพืชตัวอื่นๆ ในปุ๋ย เคมี ผู้ผลิตจะระบหุ รอื ไม่กไ็ ด้ แต่ถ้า ระบุจะใส่ขอ้ มลู วา่ มธี าตุอาหารรองและจลุ ธาตอุ ะไรบ้าง? ในปรมิ าณ (%) เทา่ ไหร่? ถา้ เกษตรกรตอ้ งการผสมป๋ยุ เคมีใชเ้ อง เพราะปยุ๋ สตู รทม่ี จี ําหนา่ ยในท้องตลาดไม่ตรงกับความตอ้ งการ แนะนําให้ใช้แมป่ ๋ยุ ดงั ต่อไปน้ี (1) ปุ๋ยไนโตรเจน (ปุ๋ยเอน็ ) เช่น ปยุ๋ ยูเรีย (46-0-0) ปยุ๋ แอมโมเนียซลั เฟส (21-0-0) (2) ปุ๋ยฟอสฟอรสั (ป๋ยุ พี) เชน่ ปุย๋ ทริปเปลิ ซปุ เปอรฟ์ อสเฟส (0-46-0) ปยุ๋ ไดแอมโมเนียมฟอสเฟส (18- 46-0) 26 (3) ปุ๋ยโพแทสเซยี ม (ป๋ยุ เค) เช่น ปุย๋ โพแทสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) ป๋ยุ โพแทสเซยี ม ซัลเฟส (0-0-50) การพจิ ารณาเลือกซ้ือปุ๋ยเคมี ตามพระราชบัญญัติปุ๋ย 2518 ได้กําหนดให้ผู้ขายปุ๋ยเขียนข้อความท่ีสําคัญต่างๆ เป็น ภาษาไทยหรือที่ เรียกว่า ฉลากปุ๋ยไว้ทกี่ ระสอบปุ๋ยให้เดน่ ชัด คือ (1) ช่ือทางการค้าและมีคําว่า ปุ๋ยเคมี (2) สูตรปุ๋ย (3) น้ําหนักสุทธิ ของปุ๋ย (4) ปริมาณธาตุอาหารรอง (5) เครื่องหมายการค้า (6) ผู้ผลิตและสถานที่ผลิตหรือสถานท่ีตั้งของผู้แทน จําหน่ายท่ีชัดเจน (7) ทะเบียนเลขท่ี ยกเว้น ปุ๋ยเคมีมาตรฐาน 7 ชนิด เช่น ยูเรีย (46-0-0) ซุปเปอร์ฟอสเฟส (0- 20-0) โพแทสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) เป็นตน้ ทไี่ มต่ ้องข้ึนทะเบียน

อาชีพท่ีเกี่ยวข้องกบั งานเกษตร 1. อาชีพปลกู พืช อาจจะปลกู พชื ชนิดเดียวหรือปลูกพืชหลายชนดิ ผสมกัน เชน่ ปลกู พชื ผัก แต่มีหลาย ชนิด หรอื ปลูกพืชประเภทตา่ งๆ เชน่ ปลูกผัก ปลูกผลไม้ และทํานาด้วย 2. อาชีพเลย้ี งสัตว์ เป็นอาชีพทีท่ ําได้ทวั่ ประเทศ การเลย้ี งสตั ว์บางชนดิ ข้ึนอยกู่ ับสภาพพ้ืนที่ ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม เชน่ อย่ตู ดิ ทะเลกป็ ระกอบอาชีพประมง จับปลา จับหอย 3. อาชพี เกษตรผสมผสาน เปน็ อาชพี เกษตรประกอบด้วยหลายประเภทท่มี กี าร เก้อื กูลกัน เช่น มีการ ปลูกพืชรวมกบั การเลย้ี งสตั วโ์ ดยเอาเศษพืชมาให้สัตว์กิน เอามลู สตั วไ์ ปใสพ่ ืช หรอื ผสมผสานกันระหวา่ งพืช เชน่ เกอื้ กลู กนั โดยอาศัย ร่มเงาจากตน้ ไม้ทใี่ หญก่ ว่า 4. อาชีพแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร โดยเอาผลผลติ ทางการเกษตรทเี่ หลือจาก การขาย หรอื เป็นช่วง ทีม่ รี าคาตกต่าํ ก็นาํ มาแปรรปู ได้ เชน่ การตากแห้ง การ ดอง การรมควัน การเช่อื ม 5. อาชีพพอ่ ค้าคนกลาง เปน็ อาชพี ที่รบั ซอ้ื สินค้าจากอีกท่หี น่ึงไปยงั อกี ทห่ี น่งึ ซึง่ ไม่ต้องเป็นผู้ผลติ เอง เชน่ มกี ารรับซอ้ื สินคา้ หลากหลายจากผู้ผลิตไปขายตลาด 1. การปลูกพืช 1.1 ประเภทของการปลกู พืช สามารถแบ่งพืชออกตามลกั ษณะการใช้ ดังนี้ (1) พชื ไร่ คอื พืชที่ปลูกโดยอาศัยสภาพดินฟาู อากาศในพืน้ ที่ สว่ นใหญ่อาศัย นํ้าฝน เช่น การ ปลกู ขา้ วโพด อ้อย ข้าว มันสําปะหลัง (2) พชื สวน เช่น ปลกู ผัก ผลไม้ ไม้ดอกไม้ประดบั ต้องมีการดูแลรกั ษาอย่างใกล้ชิด มนุษยต์ อ้ ง ดูแลมากกวา่ พชื ไร่ เช่น ใหน้ า้ํ การปูองกนั กําจัด ศัตรพู ชื (3) พชื ปาุ เปน็ พชื ทไ่ี ม่ตอ้ งการดูแลรกั ษา หรือมนษุ ย์ปลูกข้นึ โดยอาศยั ธรรมชาติที่สอดคล้องกบั พชื ชนดิ ทีเ่ กดิ ข้นึ เองในปุา เชน่ การปลกู สัก ปลูกไผ่ (4) พืชสมุนไพร หมายถึง พชื ท่ีมีสรรพคณุ ในการรักษาโรคไดท้ ้งั หมด พืชและสตั วบ์ างชนิดยัง นํามาสกัดเป็นเครื่องสําอาง เชน่ วา่ นหางจระเข้ อัญชญั ขมนิ้ เป็นอาหารเสริม เช่น กระชาย กระเทียม เปน็ เครือ่ งดมื่ เช่น บวั บก คําฝอย ตะไคร้ ใช้ปรุงแต่งอาหาร เชน่ หอมแดง มะนาว 1.2 กระบวนการผลิตพืช การปลกู พืชชนดิ ใดก็ตาม ควรมขี ้นั ตอนการเตรียม ดังนี้ (1) การจดั เตรียมกอ่ นเพาะปลูก 1. จัดเตรียมสภาพพ้ืนท่ี เตรยี มดินให้เหมาะสมกับพืชท่ีจะปลูกจัดหานา้ํ ใช้อย่างเพียงพอ 2. เตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์ เชน่ เตรยี มพันธุพ์ ืช วสั ดใุ นการปลูกพชื นํ้ามัน เครื่องมือทจ่ี าํ เปน็ อาจมี การเตรียมตรวจสอบเครอ่ื งจกั รท่ีจะใช้ เชน่ เครื่องสบู น้าํ อาจต้องมกี ารเปลยี่ นอะหล่ัยบางชิน้ ก็ไดใ้ หจ้ ัดหา ไว้ ล่วงหน้า

3. เตรียมทุน ในทน่ี ้หี มายถงึ เงนิ ทุนทีจ่ ะเตรยี มซ้อื วสั ดอุ ุปกรณ์ จา้ ง แรงงาน 4. เตรยี มแรงงาน แรงงานท่ีใชอ้ าจจะเป็นแรงงานในครอบครัว หรือแรงงานจา้ งขา้ งนอก ต้อง วางแผนการใช้แรงงานวา่ ช่วงใดต้องใชม้ ากน้อยเพยี งใด 5. ศกึ ษาราคาของตลาดพืชในชว่ งน้ันๆ เพอื่ วางแผนการปลูกให้ตรงกับชว่ งท่ีมรี าคาแพง 6. เตรียมพนั ธุ์พืช อาจได้พันธุ์มาจากการเพาะเมล็ด ก่ิงตอน ก่งิ ทาบ การแยกหน่อ การเสียบยอด ซึ่งตอ้ งพจิ ารณาข้อดีขอ้ เสยี ของแตล่ ะวิธี และความเหมาะสมของพชื ทจ่ี ะใช้ปลูก (2) การปลกู พชื เมื่อเตรียมสถานทแี่ ลว้ ก็ลงมือปลูก การปลกู มหี ลายวธิ ี เชน่ หวานเมลด็ การขุด หลมุ ปลกู ขึน้ อยูก่ ับชนิดของพชื ดว้ ย (3) การดูแลรกั ษา เมอ่ื ปลูกแล้วต้องมกี ารดแู ลรกั ษา มีการใหน้ ํ้า ให้ปยุ๋ บํารุง ดนิ ปูองกันกาํ จดั ศตั รูพชื ท้ังนี้ขึน้ อยู่กบั ชนดิ อายุ ของต้นพืชดว้ ย (4) อายุการเก็บเก่ียว มีความแตกต่างตามชนดิ ของพืชขึ้นอยกู่ ับระยะเวลา หรอื ใชว้ ิธกี ารสงั เกต พชื อาจเกบ็ เกย่ี วด้วยแรงคน เครือ่ งทุน่ แรง หรอื เก็บเกีย่ ว ไดท้ ัง้ แรงคนและเครื่องจักรก็ต้องขนึ้ อย่กู ับขนาด ของธรุ กจิ ด้วย (5) การขาย พชื มวี ิธีการขายได้หลายวิธี เชน่ มีพอ่ ค้าคนกลางมาซื้อถึงบ้าน ไปขายเองทต่ี ลาด ส่ง รา้ นค้าประจาํ เชน่ ส่งตามหา้ งสรรพสนิ ค้า สง่ กลุ่ม สหกรณ์ การอนรุ กั ษ์พลงั งานและสง่ิ แวดลอ้ ม 1. ใชพ้ ลงั งานไฟฟาู ทางการเกษตรอยา่ งประหยัด เช่น เครื่องป่๎นไฟฟูา 2. ประหยดั นาํ้ มันเชอื้ เพลงิ ในการดาํ เนินงานควรวางแผนการดาํ เนนิ งานกอ่ นเพอ่ื ประหยดั ใน การใช้น้าํ มนั เชน่ วางแผนซอ้ื วัสดอุ ุปกรณ์ให้น้อยลง 3. ไมค่ วรเผาตอซงั ในพน้ื ท่ีนา ไร่ สวน นอกจากจะทําให้เกิดมลพิษทางอากาศแล้ว ยังทาํ ใหห้ นา้ ดินซ่งึ ประกอบด้วยแร่ธาตอุ าหารสูญเสียไปดว้ ย โดยการถูกความร้อน 4. การใช้ผลผลิตให้เกดิ ประโยชน์ ผลผลิตท่เี หลือจากการจําหนา่ ยควรนํามาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ ตอ่ ไป เชน่ มูลสตั วใ์ ห้นํามาใช้ หมกั ปุ๋ย เศษพชื นาํ มาให้สัตว์กิน หรือทําปยุ๋ หมกั

2. การเลี้ยงสัตว์ 2.1 ประเภทของการเลี้ยงสัตว์ แบง่ ตามลักษณะของสตั ว์ได้ ดังนี้ (1) สัตวใ์ หญ่ นยิ มเลีย้ งกันแพร่หลาย เป็นสัตวท์ ี่เล้ียงไวเ้ พื่อใช้งาน ใช้เป็นพาหนะ เล้ยี งเป็นอาชีพ เชน่ โคเน้อื โคกระบือ (2) สตั ว์เลก็ นิยมเล้ยี งในครวั เรือนเป็นอาชีพ เปน็ อาหารหรอื เพื่อความเพลิดเพลนิ เชน่ สกุ ร แพะ กระตา่ ย (3) สตั ว์ปีก เปน็ สตั ว์ประเภทมปี กี เชน่ ไก่ เป็ด หา่ น นก (4) สตั ว์นาํ้ เป็นสตั ว์ท่ีอาศัยในนาํ้ หรือครึ่งบกครึง่ นาํ้ เชน่ ปลา กุ้ง กบ และตะพาบนาํ้ 2.2 กระบวนการผลติ สตั ว์ (1) การเตรียมการก่อนการเลี้ยงสตั ว์ คล้ายกับการเตรยี มการปลกู พืช มกี ารเตรยี มสถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์ เตรยี มทนุ แรงงาน ศึกษาราคาตลาด เตรียมพนั ธ์ุ ซง่ึ สง่ิ ของเคร่อื งใช้อาจแตกต่างกัน การเตรียม สถานท่ตี อ้ งมกี ารเตรียมเพ่ิมเติม เช่น เตรยี มโรงเรือน เตรยี มบอ่ นา้ํ สาํ หรบั การเลี้ยงสัตว์ บางชนดิ (2) การเลี้ยงสัตว์ ตอ้ งจดั สถานท่ีใหเ้ หมาะสมกบั สัตวช์ นิดนัน้ ศึกษาความชอบ ชนดิ และปรมิ าณ อาหารทีต่ ้องการตามวยั ของสัตว์ (3) การดูแลรักษา อาจตอ้ งมกี ารใหอ้ าหารเสริม หรอื บางชนิดต้องใหอ้ อกกําลงั กาย มกี ารสังเกต เพือ่ ปูองกนั โรคต่างๆ (4) การขาย ขายเมื่อสัตวเ์ จริญเติบโตเต็มที่ ถา้ เล้ียงต่อไปจะทาํ ใหต้ น้ ทนุ สูง ต้องเสยี คา่ อาหาร คา่ แรงงานเลยี้ ง และอื่น ๆ อีก การขายก็เชน่ เดียวกนั กบั การจาํ หน่ายผลผลิตท่เี ก่ียวกบั พชื เชน่ มพี ่อคา้ คนกลางมาซื้อ หรอื สง่ ตาม ห้างสรรพสนิ ค้า สภาพปัญหา 1. พ้นื ฐานความรขู้ องเกษตรกรรายย่อยสว่ นใหญ่มีการศึกษานอ้ ย เช่น จบ ป.4 ป.6 หรอื ลืม หนงั สือไปแลว้ ทําใหม้ ีปญ๎ หาในการศึกษาหาความรู้ โดยเฉพาะการ ศึกษาข้อมูลการผลติ กบั ข้อมูลทาง การตลาด จึงเป็นสาเหตทุ ่ีทาํ ใหก้ ารผลิตยัง คงเดมิ หรอื ตาม ๆ กนั ไป 2. ราคาพชื ผลไม่แน่นอน ไมม่ ีหลักประกันในการรบั ซอื้ ผลผลติ ทางการเกษตร เม่อื ผลผลิตเก็บ เกีย่ วไดแ้ ลว้ จึงหาตลาด ไม่มกี ารหาตลาดไว้ล่วงหน้า ดงั น้ัน ผลผลิตทางการเกษตรจึงถูกกาํ หนดราคาโดย พอ่ ค้าคนกลาง เน่อื งจากผลผลิตทาง การเกษตรมีอายุ

3. ระบบชลประทาน การวางระบบชลประทานของภาครัฐบาลไมท่ ัว่ ถึง บางแห่งมีน้าํ ใชท้ างการเกษตร ตลอดปี บางแห่งต้องอาศยั นา้ํ ตามธรรมชาติ 4. การช่วยเหลือในการสรา้ งถนนเขา้ ไปในพน้ื ทขี่ องเกษตรกรยังไม่ทวั่ ถึง ทําให้ไมส่ ะดวกในการขนส่ง ผลผลติ ทางการเกษตรออกมาจากฟาร์ม 5. การจดั การของเกษตรกรยังไม่คมุ้ คา่ กบั การลงทุน มีการใชท้ ุนมากกวา่ ผลท่ไี ด้ ทําใหข้ าดทุนทุกปี จน เกิดเป็นหนสี้ ินเพม่ิ ข้นึ ๆ 6. ราคาผลผลิตตกต่า เมอ่ื ผลผลิตออกมากจะทาํ ให้ราคาผลผลติ ตกตํ่า อาจแก้ป๎ญหาโดยการทําให้ออก นอกฤดกู าล หรอื เพ่มิ มูลค่าผลผลิต โดยการแปรรปู อาหาร หรือถนอมผลผลติ การอนรุ ักษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อม 1. ใช้พลังงานไฟฟา้ ทางการเกษตรอยา่ งประหยดั เช่น เครือ่ งปน่๎ ไฟฟูา 2. ประหยัดน้ามนั เชื้อเพลิง ในการดาํ เนนิ งานควรวางแผนการดําเนินงานก่อนเพ่อื ประหยัดในการใช้ น้ํามนั เชน่ วางแผนซ้ือวสั ดอุ ปุ กรณ์ให้น้อยครั้ง 3. ไมค่ วรเผาตอซงั ในพ้นื ทีน่ า ไร่ สวน นอกจากจะทําใหเ้ กิดมลพิษทางอากาศแลว้ ยงั ทาํ ใหห้ น้าดินซึ่ง ประกอบด้วยแร่ธาตุอาหารสูญเสียไปด้วย โดยการถกู ความร้อน 4. การใช้ผลผลติ ให้เกิดประโยชน์ ผลผลิตที่เหลือจากการจําหน่ายควรนํามาใช้ให้ เกดิ ประโยชนต์ ่อไป เชน่ มูลสัตว์ ใหน้ าํ มาใช้หมกั ปุย๋ เศษพืชนาํ มาให้สัตวก์ ิน หรอื ทาํ ปุ๋ยหมกั 2. การเล้ยี งสตั ว์ 2.1 ประเภทของการเลยี้ งสัตว์ แบง่ ตามลักษณะของสตั วไ์ ด้ ดังนี้ (1) สตั วใ์ หญ่ นยิ มเลีย้ งกันแพรห่ ลาย เปน็ สัตว์ทเี่ ลี้ยงไวเ้ พื่อใชง้ าน ใชเ้ ปน็ พาหนะ เลย้ี ง เป็นอาชพี เชน่ โคเนอื้ โคกระบือ (2) สัตวเ์ ลก็ นิยมเลย้ี งในครวั เรือนเป็นอาชีพ เปน็ อาหารหรือเพื่อความเพลิดเพลิน เชน่ สกุ ร แพะ กระต่าย (3) สตั ว์ปกี เปน็ สัตว์ประเภทมปี กี เช่น ไก่ เปด็ หา่ น นก (4) สัตว์น้าํ เปน็ สัตว์ท่ีอาศัยในนํา้ หรือครงึ่ บกครึ่งนํา้ เช่น ปลา กงุ้ กบ และตะพาบนํา้ 2.2 กระบวนการผลิตสัตว์ (1) การเตรียมการกอ่ นการเลยี้ งสัตว์ คลา้ ยกับการเตรยี มการปลูกพืช มกี ารเตรียม สถานที่ วสั ดุอุปกรณ์ เตรยี มทนุ แรงงาน ศึกษาราคาตลาด เตรยี มพันธ์ุ ซึ่งส่งิ ของเคร่ืองใช้อาจ แตกตา่ งกนั การเตรยี มสถานที่ต้องมกี ารเตรยี มเพม่ิ เตมิ เช่น เตรียมโรงเรือน เตรยี มบอ่ นา้ํ สาํ หรบั การเล้ียงสตั ว์ บางชนิด (2) การเล้ียงสตั ว์ ตอ้ งจดั สถานท่ีให้เหมาะสมกบั สตั วช์ นดิ นน้ั ศกึ ษาความชอบ ชนิด และปรมิ าณอาหารทตี่ ้องการตามวยั ของสตั ว์

(3) การดแู ลรักษา อาจต้องมกี ารให้อาหารเสรมิ หรือบางชนิดตอ้ งให้ออกกาํ ลังกาย มี การสังเกตเพือ่ ปอู งกันโรคตา่ งๆ (4) การขาย ขายเมอื่ สัตวเ์ จรญิ เติบโตเตม็ ท่ี ถา้ เลี้ยงตอ่ ไปจะทาํ ให้ตน้ ทนุ สงู ต้องเสีย คา่ อาหาร ค่าแรงงานเล้ยี ง และอนื่ ๆ อีก การขายก็เช่นเดียวกนั กบั การจําหนา่ ยผลผลิตท่ี เกย่ี วกับพืช เช่น มีพ่อค้าคนกลางมาซื้อ หรอื ส่งตาม ห้างสรรพสินคา้ สภาพปญั หา 1. พนื้ ฐานความรูข้ องเกษตรกรรายยอ่ ยส่วนใหญม่ ีการศึกษาน้อย เชน่ จบ ป.4 ป.6 หรอื ลืม หนังสอื ไปแล้ว ทําให้มีป๎ญหาในการศึกษาหาความรู้ โดยเฉพาะการ ศกึ ษาข้อมูลการผลติ กบั ขอ้ มูลทาง การตลาด จึงเป็นสาเหตุท่ีทาํ ให้การผลิตยงั คงเดิมหรือตาม ๆ กันไป 2. ราคาพชื ผลไม่แนน่ อน ไม่มีหลกั ประกันในการรับซอื้ ผลผลติ ทางการเกษตร เมอ่ื ผลผลติ เกบ็ เก่ียวไดแ้ ล้วจงึ หาตลาด ไม่มีการหาตลาดไว้ล่วงหน้า ดงั นน้ั ผลผลิตทางการเกษตรจึงถูกกําหนดราคาโดย พ่อคา้ คนกลาง เนื่องจากผลผลติ ทาง การเกษตรมีอายสุ ัน้ ทาํ ใหเ้ กษตรกรตอ้ งรบี ขาย ถา้ ไม่ขายทันที ต้อง เตรียมย้งุ ฉางสาํ หรับเกบ็ เช่น ขา้ ว 3. ระบบชลประทาน การวางระบบชลประทานของภาครัฐบาลไม่ทั่วถงึ บางแหง่ มีนํา้ ใชท้ าง การเกษตรตลอดปี บางแห่งตอ้ งอาศยั นาํ้ ตามธรรมชาติ 4. การช่วยเหลอื ในการสรา้ งถนนเข้าไปในพ้ืนทขี่ องเกษตรกรยังไมท่ ่วั ถึง ทาํ ให้ไมส่ ะดวกใน การขนส่งผลผลิตทางการเกษตรออกมาจากฟาร์ม 5. การจัดการของเกษตรกรยงั ไมค่ ุม้ คา่ กบั การลงทนุ มีการใช้ทุนมากกวา่ ผลที่ได้ ทาํ ให้ขาดทุน ทุกปี จนเกดิ เปน็ หนี้สินเพ่มิ ขึน้ ๆ 6. ราคาผลผลิตตกต่า เมอ่ื ผลผลิตออกมากจะทาํ ให้ราคาผลผลิตตกตํา่ อาจแก้ปญ๎ หาโดยการทาํ ใหอ้ อกนอกฤดูกาล หรอื เพมิ่ มลู ค่าผลผลิต โดยการแปรรูปอาหาร หรือถนอมผลผลิต การอนุรักษ์พลงั งานและสง่ิ แวดล้อม 1. ใชพ้ ลังงานไฟฟ้าทางการเกษตรอยา่ งประหยดั เช่น เคร่อื งปน่๎ ไฟฟาู 2. ประหยัดนา้ มันเช้อื เพลิง ในการดาํ เนนิ งานควรวางแผนการดาํ เนินงานกอ่ นเพื่อประหยัดใน การใชน้ าํ้ มนั เชน่ วางแผนซ้อื วัสดุอุปกรณใ์ ห้น้อยครั้ง 3. ไมค่ วรเผาตอซังในพืน้ ท่ีนา ไร่ สวน นอกจากจะทาํ ใหเ้ กิดมลพษิ ทางอากาศแลว้ ยงั ทําให้ หนา้ ดินซ่งึ ประกอบด้วยแรธ่ าตุอาหารสญู เสยี ไปดว้ ย โดยการถูก ความร้อน 4. การใชผ้ ลผลติ ใหเ้ กิดประโยชน์ ผลผลติ ที่เหลือจากการจําหน่ายควรนํามาใชใ้ ห้ เกดิ ประโยชน์ ต่อไป เชน่ มูลสัตว์ ใหน้ ํามาใชห้ มกั ปุย๋ เศษพชื นาํ มาให้สัตวก์ ิน หรอื ทําป๋ยุ หมัก

งานช่าง งานช่าง หมายถงึ งานหรอื สงิ่ ทเ่ี กิดขน้ึ จากการทาํ งานของชา่ งทม่ี ีความรู้ ความชํานาญ ในงานนั้นๆ ทกั ษะเป็นสง่ิ จําเป็นในการเป็นชา่ ง เพราะเป็นการสรา้ งความรู้ ความชาํ นาญในการ ทาํ งานสิง่ ใด สง่ิ หน่งึ โดยมีขนั้ ตอน ดงั น้ี 1. การศึกษาหาความรกู้ บั งานชา่ งน้นั ๆ กอ่ นท่ีจะลงมือปฏิบัติงานน้ันๆ เพ่ือให้ทราบธรรมชาตขิ องงาน เชน่ งานไฟฟูาตอ้ งเขา้ ใจเกี่ยวกบั ธรรมชาตขิ องกระแส ไฟฟูา การทํางานของอุปกรณ์ต่างๆ จากค่มู ือประกอบของ อุปกรณ์นัน้ ๆ 2. การวิเคราะห์สาเหตุของการชารุดเสียหายของช้นิ ส่วนอปุ กรณห์ รอื ส่ิงกอ่ สร้าง ศกึ ษาชนิดของวัสดุ และหน้าที่ของช้นิ ส่วนอปุ กรณใ์ นแตล่ ะสว่ น ก่อนทําการ ถอดหรอื แก้ไขซอ่ มแซม 3. การจัดเตรยี มอปุ กรณ์ในการถอดประกอบช้ินสว่ นในแตล่ ะอปุ กรณ์ เครื่องมอื ใน การซ่อม เช่น ค้อน คีม ไขควง ตลบั เมตร ฯลฯ ใหเ้ หมาะสมกบั ลักษณะงาน นนั้ 4. การวางแผนและกาหนดขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานในแต่ละสว่ นให้เหมาะสม และการใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ อะไรบ้าง งบประมาณที่ใช้ ความคมุ้ ค่ากบั การซอ่ มบาํ รงุ 5. การปฏบิ ัติงาน คอื การทํางานทลี ะข้นั ตอนตามท่ไี ด้ศกึ ษาวเิ คราะหแ์ ละวางแผนไว้ เปน็ การฝึกใหม้ ี การสงั เกต ตรวจสอบ และค้นควา้ เพ่ือทาํ การทดลองและแกไ้ ขขอ้ บกพร่องหรือจุดเสียให้ดีข้ึนหรืออยใู่ นสภาพ เดิมทีส่ ามารถใช้ได้ตอ่ ไป 6. เมอ่ื ทาการซ่อมแซมเรยี บรอ้ ยแล้ว ใหต้ รวจสภาพความเรียบร้อย อปุ กรณ์ใส่ ครบถ้วนถูกตอ้ ง หรอื ไม่ แล้วจงึ ทําการทดลองวา่ สามารถใช้ไดห้ รือไม่ หรอื ต้องทาํ การปรับปรงุ แกไ้ ขใหด้ ีต่อไป ประเภทของงานชา่ ง 1. ชา่ งไฟฟ้า เป็นผมู้ ีความชํานาญเกยี่ วกบั ธรรมชาติและการทาํ งานของระบบไฟฟาู ประโยชน์และโทษ ของไฟฟูา เชน่ เดินสายไฟในอาคาร ช่างวิทยุ โทรทัศน์ 2. ชา่ งไม้ เปน็ ผมู้ ีความชาํ นาญเกี่ยวกบั งานไม้ เช่น การทาํ เฟอร์นิเจอร์จากไม้ ทําโตะ๊ เกา้ อ้ี หรอื งาน ก่อสร้างจากไม้ 3. ชา่ งยนต์ เป็นผมู้ คี วามชํานาญเกย่ี วกบั เคร่ืองยนต์ กลไก การทาํ งานของเครือ่ งยนต์ เชน่ เป็นชา่ งซ่อม รถยนต์ รถจกั รยานยนต์ 4. ช่างประปา เป็นผู้มคี วามชํานาญเก่ียวกับการวางทอ่ ประปา ธรรมชาตกิ ารไหลของน้ํา การเชือ่ มต่อ ทอ่ ในลกั ษณะตา่ งๆ 5. ชา่ งปนู เปน็ ผ้มู คี วามชาํ นาญเก่ียวกับการกอ่ อฐิ ถือปูน การฉาบ การเทพ้ืนคอนกรตี 6. ช่างทาสี เปน็ ผู้มีความชํานาญเกีย่ วกบั การทาสีกับวัสดตุ ่างๆแล้ว ยงั มคี วามชาํ นาญเกี่ยวกับการ เลือกใช้สีกบั วสั ดุตา่ งๆ 7. ชา่ งเช่ือม เปน็ ผู้มีความชํานาญเกี่ยวกบั งานเช่ือม การใชเ้ ครอ่ื งมอื เครือ่ งจักร ในการเช่ือม อาชีพที่ เกยี่ วขอ้ ง เช่น อาชีพทําเหลก็ ดัดประตู หน้าตา่ ง

อาชพี ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั งานช่าง 1. เปน็ อาชีพตามความชานาญ เช่น ช่างไฟฟูา ช่างไม้ ชา่ งยนต์ ชา่ งประปา ชา่ ง ปนู ชา่ งทาสี ช่าง เช่อื ม โดยอาจใช้ความรคู้ วามสามารถรับงานเอง มกี ารบรหิ าร จัดการ คดิ ราคาได้เอง ติดตามการทํางานเอง จัดการหาลกู คา้ เอง หรือบางคนใช้ความชํานาญเป็นลูกจ้างงานกอ่ สรา้ ง 2. เปิดรา้ นซอ่ ม เชน่ ซ่อมเครอ่ื งไฟฟาู ซ่อมเคร่ืองรถยนต์ ขน้ึ อยูก่ บั ความชํานาญ ของแตล่ ะคน กระบวนการงานของชา่ ง 1. ออกแบบ งานชา่ งตอ้ งมีการออกแบบมากอ่ น เพื่อให้ชา่ งตา่ งๆทาํ ตามและเปน็ การคิดงานมาทง้ั ระบบแลว้ มกี ารกาํ หนดชนดิ ของวัสดทุ ต่ี ้องใช้อยา่ งละเท่าใด สงั เกตวา่ เมือ่ เราซ้ืออุปกรณ์งานช่างก็มีคมู่ อื การติต ตั้งมากับชดุ อปุ กรณด์ ว้ ย 2. อา่ นแบบ ช่างจะต้องอ่านแบบให้เข้าใจ สามารถแยกวัสดุอุปกรณ์ทใ่ี ชไ้ ด้ ทําให้คดิ ค่าใชจ้ ่ายได้ และ เรยี นรรู้ ะบบ/ข้นั ตอน การติดตง้ั หรือประกอบงานนั้น 3. จัดเตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์ตามทก่ี าหนด ใช้วสั ดุอุปกรณ์ชนดิ ใดบ้าง จํานวนก่ชี นิ้ ชนดิ ของเคร่อื งมือทใี่ ช้ จดั เตรียมใหพ้ ร้อมกอ่ นลงมอื ปฏิบตั ิ 4. ลงมือปฏบิ ตั ิ นาํ วสั ดุอปุ กรณม์ าให้พรอ้ ม แลว้ ปฏิบัติตามขั้นตอนท่กี ําหนดอย่าง เคร่งครดั 5. ทดลองใช้ ควรตรวจสอบกับแบบอกี ครัง้ ก่อนทดลองใช้ เพอื่ ไมใ่ ห้เกิดการ ผดิ พลาด งานประดษิ ฐ์ งานประดษิ ฐ์ หมายถงึ สง่ิ ทท่ี ําข้นึ ใหม่ โดยใชว้ ัสดุตา่ งๆ ทง้ั ทีเ่ ป็นวัสดเุ หลือใช้หรือ วสั ดทุ ั่ว ๆ ไป แล้ว นาํ ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ เช่น 1. เป็นกิจกรรมทช่ี ว่ ยให้เกดิ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2. เป็นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ 3. เปน็ การฝึกใหร้ จู้ กั สังเกตส่งิ รอบ ๆ ตวั และนํามาใช้ประโยชนไ์ ด้ 4. สร้างความภาคภมู ิใจกับผปู้ ระดิษฐ์ 5. สามารถสร้างงานและสร้างรายได้เพ่ือเป็นพื้นฐานการประกอบอาชพี ได้ ขอบข่ายของงานประดษิ ฐ์ งานประดิษฐต์ า่ งๆ สามารถเลอื กทาํ ได้ตามความต้องการและประโยชนใ์ ช้สอย ซงึ่ แบ่งเป็น 4 ประเภท ไดด้ งั นี้ 1. ประเภทของเล่น เปน็ ของเล่นเพอ่ื ความเพลิดเพลิน ของเล่นเพอ่ื การคิด เชน่ งานป๎้น งานจักสาน วสั ดุท่ใี ช้ เช่น กระดาษ ผ้า เชอื ก พลาสตกิ 2. ประเภทของใช้ อาจทําข้ึนเพอ่ื ใชใ้ นชวี ิตประจาํ วนั เชน่ ตะกร้า กระบุง งาน ไมไ้ ผ่ ผา้ เช็ดเท้า ผา้ ปู โตะ๊ วัสดุทีใ่ ช้ เช่น กระดาษ ไมไ้ ผ่ ดนิ ผ้า เหลก็ ใบตอง 3. ประเภทของตกแต่ง ใชต้ กแตง่ สถานท่ี บา้ นเรอื นให้มีความสวยงาม เช่น การประดษิ ฐ์ดอกไม้ แจกนั ภาพวาด งานแกะสลัก

4. การวางแผนและกาหนดขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานในแต่ละสว่ นให้เหมาะสม และการใชว้ สั ดุอปุ กรณ์ อะไรบา้ ง งบประมาณทใ่ี ช้ ความคมุ้ ค่ากบั การซ่อมบํารงุ 5. การปฏบิ ตั งิ าน คือ การทํางานทลี ะขนั้ ตอนตามที่ไดศ้ ึกษาวเิ คราะห์และวางแผนไว้ เปน็ การฝึกให้มี การสังเกต ตรวจสอบ และค้นควา้ เพื่อทําการทดลองและแกไ้ ขข้อบกพร่องหรือจุดเสยี ให้ดีขึ้นหรืออยใู่ นสภาพ เดิมทสี่ ามารถใช้ไดต้ ่อไป 6. เมอ่ื ทาการซ่อมแซมเรยี บร้อยแลว้ ให้ตรวจสภาพความเรยี บรอ้ ย อุปกรณ์ใส่ ครบถว้ นถกู ตอ้ ง หรือไม่ แลว้ จึงทาํ การทดลองว่าสามารถใชไ้ ด้หรือไม่ หรอื ต้องทาํ การปรับปรงุ แกไ้ ขใหด้ ีตอ่ ไป ประเภทของงานช่าง 1. ช่างไฟฟ้า เปน็ ผมู้ ีความชํานาญเกยี่ วกับธรรมชาตแิ ละการทาํ งานของระบบไฟฟูา ประโยชนแ์ ละโทษ ของไฟฟูา เชน่ เดนิ สายไฟในอาคาร ชา่ งวทิ ยุ โทรทัศน์ 2. ช่างไม้ เป็นผู้มีความชํานาญเกยี่ วกับงานไม้ เชน่ การทาํ เฟอร์นเิ จอรจ์ ากไม้ ทําโต๊ะ เกา้ อี้ หรืองาน ก่อสรา้ งจากไม้ 3. ช่างยนต์ เป็นผ้มู ีความชํานาญเกี่ยวกับเครอ่ื งยนต์ กลไก การทาํ งานของเครือ่ งยนต์ เชน่ เป็นช่างซอ่ ม รถยนต์ รถจกั รยานยนต์ 4. ช่างประปา เปน็ ผู้มีความชาํ นาญเกี่ยวกับการวางทอ่ ประปา ธรรมชาตกิ ารไหลของนา้ํ การเช่ือมตอ่ ทอ่ ในลักษณะตา่ งๆ 5. ชา่ งปูน เปน็ ผู้มคี วามชํานาญเกยี่ วกบั การก่ออฐิ ถือปูน การฉาบ การเทพื้นคอนกรีต 6. ช่างทาสี เปน็ ผูม้ ีความชาํ นาญเกย่ี วกบั การทาสีกบั วัสดตุ า่ งๆแลว้ ยังมีความชํานาญเก่ียวกบั การ เลือกใช้สกี บั วสั ดุต่างๆ 7. ช่างเชือ่ ม เป็นผ้มู ีความชํานาญเกี่ยวกบั งานเชื่อม การใชเ้ ครอ่ื งมือ เครื่องจกั ร ในการเชือ่ ม อาชีพที่ เก่ยี วข้อง เชน่ อาชีพทําเหลก็ ดัดประตู หน้าต่าง อาชพี ที่เกย่ี วข้องกบั งานชา่ ง 1. เปน็ อาชพี ตามความชานาญ เช่น ชา่ งไฟฟาู ชา่ งไม้ ชา่ งยนต์ ชา่ งประปา ช่าง ปนู ชา่ งทาสี ชา่ ง เช่อื ม โดยอาจใช้ความรคู้ วามสามารถรบั งานเอง มีการบริหาร จดั การ คิดราคาได้เอง ตดิ ตามการทํางานเอง จัดการหาลูกค้าเอง หรอื บางคนใช้ความชาํ นาญเป็นลูกจา้ งงานกอ่ สร้าง 2. เปดิ รา้ นซ่อม เช่น ซอ่ มเคร่อื งไฟฟูา ซอ่ มเคร่ืองรถยนต์ ขึ้นอยู่กับความชํานาญ ของแตล่ ะคน

กระบวนการงานของช่าง 1. ออกแบบ งานช่างต้องมีการออกแบบมากอ่ น เพื่อให้ช่างต่างๆทาํ ตามและเป็น การคดิ งานมาทัง้ ระบบแลว้ มีการกําหนดชนดิ ของวสั ดทุ ีต่ อ้ งใช้อยา่ งละเท่าใด สังเกตวา่ เมื่อเราซื้ออปุ กรณง์ านชา่ งกม็ ีคูม่ ือการตติ ตง้ั มากบั ชดุ อุปกรณด์ ว้ ย 2. อา่ นแบบ ช่างจะตอ้ งอา่ นแบบให้เข้าใจ สามารถแยกวัสดุอปุ กรณ์ทีใ่ ช้ได้ ทําให้คิดค่าใช้จ่ายได้ และ เรียนรูร้ ะบบ/ขั้นตอน การตดิ ตั้ง หรอื ประกอบงานนน้ั 3. จัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ตามทีก่ าหนด ใช้วัสดอุ ุปกรณช์ นดิ ใดบ้าง จาํ นวนกีช่ ้ิน ชนดิ ของเครื่องมอื ทใี่ ช้ จดั เตรียมให้พรอ้ มก่อนลงมือปฏิบัติ 4. ลงมือปฏบิ ตั ิ นําวัสดุอปุ กรณ์มาใหพ้ ร้อม แล้วปฏบิ ตั ติ ามขั้นตอนที่กําหนดอยา่ ง เคร่งครัด 5. ทดลองใช้ ควรตรวจสอบกับแบบอีกครั้งก่อนทดลองใช้ เพือ่ ไมใ่ หเ้ กดิ การ ผดิ พลาด งานประดษิ ฐ์ งานประดิษฐ์ หมายถึง สิ่งท่ีทาํ ข้ึนใหม่ โดยใชว้ ัสดุต่างๆ ทัง้ ท่เี ปน็ วสั ดเุ หลอื ใช้หรือ วสั ดทุ ว่ั ๆ ไป แล้วนาํ ไปใชใ้ ห้ เกิดประโยชน์ เชน่ 1. เปน็ กิจกรรมท่ีช่วยให้เกดิ ความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ 2. เป็นการใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ 3. เปน็ การฝึกใหร้ ู้จกั สังเกตสงิ่ รอบ ๆ ตัว และนํามาใช้ประโยชน์ได้ 4. สรา้ งความภาคภูมิใจกบั ผู้ประดษิ ฐ์ 5. สามารถสร้างงานและสร้างรายได้เพ่อื เปน็ พนื้ ฐานการประกอบอาชพี ได้ ขอบข่ายของงานประดษิ ฐ์ งานประดิษฐ์ต่างๆ สามารถเลอื กทําได้ตามความต้องการและประโยชน์ใช้สอย ซึ่ง แบ่งเป็น 4 ประเภท ได้ดังน้ี 1. ประเภทของเลน่ เป็นของเล่นเพอื่ ความเพลิดเพลิน ของเลน่ เพื่อการคิด เช่น งานป้น๎ งานจักสาน วัสดทุ ี่ใช้ เชน่ กระดาษ ผา้ เชือก พลาสตกิ 2. ประเภทของใช้ อาจทาํ ขนึ้ เพือ่ ใช้ในชีวติ ประจาํ วนั เช่น ตะกร้า กระบงุ งาน ไม้ไผ่ ผา้ เช็ดเท้า ผา้ ปู โตะ๊ วสั ดุทใี่ ช้ เช่น กระดาษ ไมไ้ ผ่ ดิน ผ้า เหล็ก ใบตอง 3. ประเภทของตกแตง่ ใชต้ กแต่งสถานท่ี บา้ นเรอื นให้มีความสวยงาม เชน่ การประดิษฐด์ อกไม้ แจกนั ภาพวาด งานแกะสลัก 4. ประเภทเครอื่ งใชง้ านพธิ ี ทําข้นึ เพื่อใช้ในพิธที างศาสนาในชว่ งโอกาสต่างๆ และงานประเพณี เช่น ลอยกระทง งานเขา้ พรรษา งานออกพรรษา งานศพ เครื่องใช้ ในงานพธิ ีทางศาสนา เชน่ พานพุ่ม มาลัย เครือ่ ง แขวน บายศรี การจดั ดอกไม้ ในงานศพ วสั ดุอปุ กรณ์ที่ใชใ้ นงานประดิษฐจ์ ะเป็นของใช้เล็กๆ เช่น กรรไกร เขม็ ดา้ ย กาว มีด ตะปู คอ้ น แปรง สี เลอื่ ย จักรเยบ็ ผ้า กระดาษ

อาชีพที่เก่ียวขอ้ งกบั งานประดษิ ฐ์ อาชพี นักประดิษฐ์ เป็นอาชพี ท่ีผลติ ส่ิงของเครอ่ื งใช้ ซ่งึ จะตอ้ งเป็นผู้ที่มคี วามคิด สรา้ งสรรค์ ทันตอ่ ความ ตอ้ งการของตลาด ลกั ษณะการประกอบอาชีพไดแ้ ก่ผลิตเสรจ็ แลว้ ขายความคดิ ใหก้ ับบริษทั หรอื คิดแล้ว ผลิตเองสง่ ขายให้ รา้ นคา้ หรือผลติ เองแลว้ ขายเองโดยตรง กระบวนการผลติ งานประดิษฐ์ งานประดิษฐ์ มขี ้นั ตอน ดงั นี้ 1. ออกแบบงานประดษิ ฐ์ เช่น ประดิษฐ์ดอกไม้ จะตอ้ งออกแบบขนาดของใบ ขนาดของกลีบดอก เกสร ดอกไม้ ก้านดอก 2. จดั เตรียมวสั ดอุ ุปกรณใ์ หพ้ ร้อม เช่น กระดาษ กรรไกร มดี กาว วสั ดุทจ่ี ะใช้ ทําสงิ่ ประดิษฐ์ 3. ปฏบิ ัติ เมื่อออกแบบและเตรยี มวัสดแุ ล้วให้นาํ มาประกอบตามตอ้ งการ 4. การตกตา่ ง อาจมกี ารตกแตง่ ให้สวยงามดว้ ยการหาวัสดมุ าตกแต่งเพม่ิ เตมิ เพื่อเพ่มิ มลู ค่าใหผ้ ลิตภณั พ์ เช่น ตกแต่งดว้ ยการทาสี 5. ตรวจสอบชิ้นงาน โดยตรวจสอบกับแบบที่กาํ หนดไว้อกี คร้ังหนงึ่ วา่ มกี ารตดิ วสั ดุครบถว้ นหรอื ไม่ หรอื ทดสอบกับผู้ชํานาญใหแ้ สดงความคดิ เห็น ปญั หาในการผลิตช้ินงาน 1. วตั ถุดิบ ปจ๎ จบุ ันวสั ดธุ รรมชาติโดยการหาจากพชื ในทอ้ งถิ่น ถกู ใช้อย่างฟุมเฟือย ไมม่ กี ารปลูกทดแทน วัสดุมรี าคาแพงข้ึน เช่น กระดาษ 2. การสง่ เสรมิ และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ผผู้ ลติ สว่ นใหญ่ไมม่ ีความรู้เรอื่ งการออกแบบ ทาํ ใหบ้ รรจภุ ณั ฑไ์ ม่ ทนั สมยั และไม่มีคุณคา่ 3. กระบวนการผลิต ส่วนใหญข่ น้ั ตอนการผลิตยังใชว้ ิธีเกา่ มีการนําเทคโนโลยเี ข้า มาใช้น้อย ตน้ ทนุ สูง 2. การเล้ยี งสตั ว์ 2.1 ประเภทของการเลี้ยงสัตว์ แบ่งตามลักษณะของสตั ว์ได้ ดังน้ี (1) สตั วใ์ หญ่ นิยมเล้ียงกนั แพรห่ ลาย เป็นสัตว์ที่เล้ียงไวเ้ พ่อื ใชง้ าน ใชเ้ ป็นพาหนะ เลีย้ งเปน็ อาชีพ เช่น โคเนื้อ โคกระบือ (2) สตั วเ์ ลก็ นยิ มเลีย้ งในครัวเรอื นเปน็ อาชีพ เป็นอาหารหรอื เพื่อความเพลิดเพลิน เชน่ สกุ ร แพะ กระตา่ ย (3) สัตวป์ กี เปน็ สตั วป์ ระเภทมีปีก เช่น ไก่ เป็ด หา่ น นก (4) สตั วน์ า้ํ เป็นสัตวท์ ่อี าศยั ในน้าํ หรอื ครึง่ บกคร่ึงนา้ํ เช่น ปลา ก้งุ กบ และตะพาบนํ้า 2.2 กระบวนการผลิตสัตว์

(1) การเตรียมการก่อนการเล้ียงสัตว์ คลา้ ยกับการเตรียมการปลกู พืช มกี ารเตรียมสถานท่ี วสั ดอุ ุปกรณ์ เตรียมทุน แรงงาน ศึกษาราคาตลาด เตรียมพนั ธ์ุ ซึง่ ส่ิงของเคร่ืองใชอ้ าจแตกต่างกัน การเตรยี มสถานท่ีตอ้ งมีการ เตรยี มเพมิ่ เตมิ เชน่ เตรียมโรงเรือน เตรยี มบ่อนํ้าสําหรบั การเล้ียงสตั ว์ บางชนิด (2) การเลย้ี งสัตว์ ตอ้ งจัดสถานทใี่ ห้เหมาะสมกบั สตั วช์ นดิ น้ัน ศึกษาความชอบ ชนดิ และปรมิ าณอาหาร ทต่ี อ้ งการตามวยั ของสัตว์ (3) การดแู ลรักษา อาจต้องมกี ารใหอ้ าหารเสรมิ หรือบางชนดิ ต้องใหอ้ อกกําลังกาย มกี ารสงั เกตเพอ่ื ปอู งกนั โรคตา่ งๆ (4) การขาย ขายเมอื่ สัตว์เจริญเติบโตเตม็ ที่ ถ้าเล้ียงตอ่ ไปจะทําใหต้ ้นทุนสงู ตอ้ งเสยี คา่ อาหาร คา่ แรงงานเลย้ี ง และอืน่ ๆ อีก การขายก็เช่นเดียวกนั กับการจําหน่ายผลผลิตทเ่ี กีย่ วกบั พืช เชน่ มีพ่อค้าคนกลาง มาซื้อ หรอื ส่งตาม หา้ งสรรพสินคา้ สภาพปัญหา 1. พ้นื ฐานความรขู้ องเกษตรกรรายยอ่ ยสว่ นใหญ่มีการศึกษานอ้ ย เช่น จบ ป.4 ป.6 หรอื ลืมหนงั สือไปแล้ว ทาํ ให้มปี ๎ญหาในการศึกษาหาความรู้ โดยเฉพาะการ ศกึ ษาข้อมูลการผลติ กับข้อมลู ทางการตลาด จึงเป็นสาเหตุท่ีทําให้การ ผลิตยัง คงเดิมหรือตาม ๆ กนั ไป 2. ราคาพชื ผลไม่แนน่ อน ไม่มีหลกั ประกนั ในการรับซือ้ ผลผลิตทางการเกษตร เมือ่ ผลผลติ เก็บเกยี่ วไดแ้ ล้วจึงหา ตลาด ไม่มีการหาตลาดไวล้ ่วงหน้า ดังน้นั ผลผลิตทางการเกษตรจึงถกู กําหนดราคาโดยพ่อค้าคนกลาง เนือ่ งจากผลผลิต ทาง การเกษตรมอี ายุสนั้ ทําให้เกษตรกรตอ้ งรีบขาย ถ้าไม่ขายทนั ที ต้องเตรียมยงุ้ ฉางสําหรบั เก็บ เชน่ ขา้ ว 3. ระบบชลประทาน การวางระบบชลประทานของภาครัฐบาลไมท่ ่วั ถงึ บางแห่งมีน้าํ ใชท้ างการเกษตรตลอดปี บางแห่งตอ้ งอาศัยนํ้าตามธรรมชาติ 4. การชว่ ยเหลือในการสรา้ งถนนเข้าไปในพื้นทข่ี องเกษตรกรยังไม่ทัว่ ถึง ทาํ ให้ไมส่ ะดวกในการขนสง่ ผลผลิต ทางการเกษตรออกมาจากฟาร์ม 5. การจดั การของเกษตรกรยงั ไมค่ ุ้มค่ากับการลงทุน มีการใช้ทนุ มากกวา่ ผลท่ีได้ ทําใหข้ าดทนุ ทกุ ปี จนเกดิ เป็น หนี้สนิ เพิ่มขน้ึ ๆ 6. ราคาผลผลติ ตกต่า เมอื่ ผลผลิตออกมากจะทาํ ใหร้ าคาผลผลิตตกตํ่า อาจแก้ปญ๎ หาโดยการทาํ ให้ออกนอก ฤดกู าล หรือเพม่ิ มลู ค่าผลผลิต โดยการแปรรูปอาหาร หรอื ถนอมผลผลติ การอนรุ ักษ์พลงั งานและส่งิ แวดล้อม 1. ใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ทางการเกษตรอย่างประหยดั เช่น เคร่อื งป๎น่ ไฟฟาู 2. ประหยัดน้ามนั เชอื้ เพลงิ ในการดําเนินงานควรวางแผนการดําเนนิ งานก่อนเพ่ือประหยัดในการใช้น้าํ มัน เช่น วางแผนซือ้ วสั ดอุ ุปกรณ์ให้น้อยครั้ง

3. ไม่ควรเผาตอซงั ในพ้ืนทน่ี า ไร่ สวน นอกจากจะทําใหเ้ กิดมลพิษทางอากาศแล้ว ยังทําให้หนา้ ดินซง่ึ ประกอบดว้ ยแรธ่ าตุอาหารสูญเสียไปดว้ ย โดยการถกู ความรอ้ น 4. การใช้ผลผลิตใหเ้ กดิ ประโยชน์ ผลผลติ ท่ีเหลือจากการจาํ หนา่ ยควรนาํ มาใชใ้ ห้ เกิดประโยชน์ตอ่ ไป เชน่ มลู สตั ว์ ใหน้ าํ มาใชห้ มักปยุ๋ เศษพชื นาํ มาให้สตั วก์ ิน หรอื ทําปยุ๋ หมัก

ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง อาชพี ในชุมชน 1. ใหผ้ ู้เรียนศกึ ษางานอาชีพในชุมชนท่ตี นอาศัยอยู่ อย่างน้อย 10 อาชีพพร้อมอธบิ ายรายละเอียด (ใชแ้ บบสาํ รวจในการสาํ รวจ) 1. อาชีพ ……………………………………………………………………………. 2. อาชีพ ……………………………………………………………………………. 3. อาชีพ ……………………………………………………………………………. 4. อาชีพ ……………………………………………………………………………. 5. อาชีพ ……………………………………………………………………………. 6. อาชพี ……………………………………………………………………………. 7. อาชพี ……………………………………………………………………………. 8. อาชพี ……………………………………………………………………………. 9. อาชีพ ……………………………………………………………………………. 10. อาชีพ ……………………………………………………………………………. 2. คาํ ส่ัง ให้นกั ศกึ ษาเลือกอาชีพท่ีตนชอบและคิดวา่ จะทําอาชีพน้ีไดด้ ที ี่สดุ 1 อาชีพ พรอ้ มเขยี น รายละเอียดของอาชีพทุกขน้ั ตอน อาชพี ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. รายละเอยี ดของอาชพี ทุกขั้นตอน ……………………………………………………………………………………………………………….……………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบสารวจ อาชพี ในชุมชน ให้ผเู้ รียนสํารวจอาชีพในชมุ ชน ภมู ิภาคและในโลกมา 10 อาชีพ กรอกในแบบสํารวจตามน้ี แบบสารวจอาชพี ในชมุ ชน 1.ชือ่ ผู้เรยี น ………………………………………………….......... ศรช. … …………………........................………………. 2.สถานศึกษา…………………………..……………………….........ชอ่ื ครูประจํากลุ่ม………………………….……………… 3.ทาํ เลท่ตี งั้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การประกอบอาชพี ใหม้ รี ายละเอยี ดเกย่ี วกับระยะเวลาการประกอบอาชพี ตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ จนถึงปจ๎ จุบัน จดุ เรม่ิ ตน้ หรอื เหตจุ งู ใจในการประกอบอาชีพ วัสดุ อุปกรณ์ (หลกั ) ที่ใชก้ ระบวนการผลิต กระบวนการตลาด ปญ๎ หา อุปสรรค การสร้างความมั่นคงในอาชพี จดุ เริ่มตน้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วัสดอุ ปุ กรณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………..………….. กระบวนการผลติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กระบวนการตลาด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หาอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… การสร้างความม่นั คงนาอาชีพ ………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ 3 เรอ่ื งงานอาชีพในชุมชน สงั คม ประเทศและภมู ิภาค 5 ทวปี คาช้ีแจง ให้ผู้เรยี นอธบิ ายและตอบคําถามบันทกึ ลงในช่องว่างทก่ี าํ หนดให้ดังตอไปน้ี 1. กลุ่มอาชพี ใหม่ 5 กลุม่ อาชพี มอี ะไรบา้ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. อธบิ ายอาชพี ของผเู้ รยี นจัดว่าอยู่ในการประกอบอาชีพแบบใหม่ 5 ประเภทเป็นแบบใด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

เฉลยใบงานที่ 3 เรือ่ งงานอาชพี ในชุมชน สังคม ประเทศและภูมิภาค 5 ทวปี กลุม่ อาชีพใหม่ จากการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกทั้งในสว่ นการรวมกล่มุ ทางการเงนิ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่าง รวดเร็ว การเปล่ยี นแปลงของธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมของผูบ้ ริโภค การรวมกลุม่ ทาง เศรษฐกิจ และประการสําคัญคอื การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งประชากรทางสงั คม ดังนัน้ อาชีพในป๎จจุบนั จะต้องมี การพัฒนาวธิ ีการและศักยภาพในการแข่งขนั ได้ในระดับโลก ซ่ึงจะต้องคํานงึ ถงึ บริบทภูมิภาคหลักของโลก หรอื “รู้ ศักยภาพเขา” หมายถงึ ทวีปเอเซีย ทวีปอเมริกา ทวปี ยโุ รป ทวปี ออสเตเลีย และทวีปแอฟริกา และจะต้อง “รู้ ศกั ยภาพเรา” หมายถึงรู้ศกั ยภาพหลักของพื้นทป่ี ระเทศไทย คือศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพน้ื ที่ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถชี วี ิตของแตล่ ะพน้ื ท่ี และศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษย์ในแตล่ ะ พนื้ ที่ ดังนั้นเพื่อใหก้ ารประกอบอาชีพสอดคลอ้ งกับศักยภาพหลักของพืน้ ท่ีและสามารถแข่งขันในเวทีโลก จงึ ได้ กาํ หนดกลุม่ อาชีพใหม่ 5 กลมุ่ อาชีพ คอื กลมุ่ อาชีพใหมด่ ้านการเกษตร กลมุ่ อาชีพใหม่ดา้ นพาณิชยกรรม กลุม่ อาชพี ใหม่ด้านอุตสาหกรรม กลุม่ อาชพี ใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ และกลุ่มอาชพี ใหม่ด้านบริหารจดั การและ บริการ 1. กลุ่มอาชีพใหมด่ า้ นการเกษตร คือการพฒั นาอาชพี ในด้านการเกษตรเกยี่ วกบั การปลูกพชื เล้ยี งสตั ว์ การประมง โดยนาํ องค์ความรู้ใหม่ เทคโนโลยี/นวตั กรรม มาพฒั นาให้สอดคล้องกบั ศกั ยภาพหลักของพ้นื ท่ี คือ ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาตใิ นแต่ละพืน้ ท่ี ตามลักษณะภมู อิ ากาศ ศักยภาพของภมู ปิ ระเทศ และทําเลที่ตั้ง ของแต่ละพ้นื ท่ี ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ขี องแตล่ ะพน้ื ทแ่ี ละศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ย์ ในแตล่ ะพืน้ ที่ อาชพี ใหม่ดา้ นการเกษตร เช่น เกษตรอนิ ทรีย์ เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ วนเกษตร ธรุ กิจ การเกษตร เป็นตน้ 2. กลุ่มอาชพี ใหมด่ า้ นพาณชิ ยกรรม คือการพฒั นาหรือขยายขอบขา่ ยอาชีพด้านพาณชิ ยกรรม เช่น ผู้ ให้บรกิ ารจําหน่ายสนิ ค้าท้งั แบบคา้ ปลกี และค้าสง่ ใหแ้ ก่ผู้บรโิ ภคทั้งมีหน้ารา้ นเปน็ สถานทจ่ี ดั จาํ หน่าย เชน่ ห้างรา้ น หา้ งสรรพสินค้า ซปุ เปอร์สโตร์ ร้านสะดวกซื้อ และการขายทีไ่ มม่ หี นา้ รา้ น เชน่ การขายผ่านสือ่ อิเลคทรอนิกส์ 3. กลมุ่ อาชพี ใหมด่ ้านอุตสาหกรรม คอื การพฒั นาอาชีพทีอ่ าศัยองค์ความรู้ เทคโนโลยี/นวตั กรรม อาชีพ เกี่ยวกบั งานช่าง ซ่งึ ไดแ้ กช่ า่ งไฟฟาู ชา่ งไม้ ช่างยนต์ ชา่ งประปา ชา่ งปนู และชา่ งเช่ือมให้สอดคล้องกบั ความ ต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศและศกั ยภาพหลกั ของพืน้ ที่ เช่น ผผู้ ลิตชิน้ ส่วนอเิ ลคทรอนิกส์ เครือ่ งใชไ้ ฟฟาู หรอื อปุ กรณอ์ เิ ลคทรอนิกส์โดยทั่วไป เชน่ IC PCB ผู้ประกอบรถยนต์

และยานยนต์ประเภทตา่ ง ๆ ผผู้ ลิต ตัวแทนจาํ หนา่ ยหรอื ผ้ปู ระกอบชิ้นสว่ นหรืออะไหลร่ ถยนต์ ผู้ให้บรกิ ารซอ่ ม บาํ รุงรถยนต์ ผู้จดั จาํ หนา่ ยและศูนยจ์ ําหนา่ ยรถยนต์ทัง้ มือหน่งึ มอื สอง ผ้ผู ลิตและจําหน่ายเครือ่ งจักรและเครอื่ งมอื ทุกชนิด เชน่ เครอื่ งจักรกลหนกั เครือ่ งจักรกลเบา ผลติ อุปกรณห์ รอื ส่วนประกอบพนื้ ฐานของเครือ่ งใชไ้ ฟฟูาตา่ ง ๆ เชน่ สายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟาู มอร์เตอรต์ า่ ง ๆ การผลติ อลูมิเนี่ยม ผลติ และตวั แทนจาํ หนา่ ยผลิตภัณฑเ์ หล็ก สเตนเลส ผผู้ ลิตจาํ หน่ายวสั ดุกอ่ สร้าง วัสดุตกแต่ง สขุ ภัณฑ์ การกอ่ สรา้ ง อาคาร หรอื ทีอ่ ยอู่ าศัย 4. กลมุ่ อาชีพใหม่ด้านความคิดสรา้ งสรรค์ ทา่ มกลางกระแสการแข่งขนั ของโลกธรุ กจิ ทีไ่ รพ้ รมแดนและ การพัฒนาอยา่ งกา้ วกระโดดของเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคม การแลกเปลยี่ นสินค้าจากท่หี นงึ่ ไปยังอกี สถานท่ที อ่ี ยู่ห่างไกลน้ันเปน็ เร่ืองง่ายในปจ๎ จุบนั เม่ือข้อจํากดั ของการขา้ มพรมแดนมิใชอ่ ุปสรรคทางการค้าต่อไปจึง ทาํ ให้ผู้บรโิ ภคหรือผู้ซอื้ มีสิทธเิ ลือกสนิ ค้าใหม่ไดอ้ ยา่ งเสรที ้งั ในดา้ นคณุ ภาพและราคา ซ่ึงการเรยี นรแู้ ละพฒั นา สินค้าและบรกิ ารตา่ ง ๆที่มีอยใู่ นตลาดอยแู่ ลว้ ในยุคโลกไร้พรมแดนกระทําได้งา่ ย ประเทศท่มี ตี ้นทนุ การผลิตต่าํ เชน่ ประเทศจีน อนิ เดยี เวียดนาม และประเทศในกลุ่มยุโรปตะวันออก จะมคี วามได้เปรยี บในการแขง่ ขันดา้ นราคา ดว้ ยเหตนุ ปี้ ระเทศผู้นาํ ทางเศรษฐกิจหลายประเทศจงึ หนั มาส่งเสริมการดาํ เนินนโยบายเศรษฐกจิ สร้างสรรค์เพ่อื พฒั นาสินคา้ และบรกิ ารใหม่ ๆ และหลกี เลย่ี งการผลติ สินคา้ ทต่ี อ้ งต่อสู้ดา้ นราคา โดยหลักการของเศรษฐกิจ สร้างสรรค์คือแนวคิดหรอื แนวปฏิบตั ิที่สร้าง/เพม่ิ มูลค่าของสนิ ค้าและบริการไดโ้ ดยไมต่ ้องใชท้ รพั ยากรมากนกั แต่ ใชค้ วามคดิ สตปิ ญ๎ ญา และความสร้างสรรคใ์ ห้มากข้นึ ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ได้กําหนด ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเจริญเติบโตอย่างคุณภาพและย่ังยืน ให้ความสําคัญกับการปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์และภูมิป๎ญญา ภายใต้ป๎จจัยสนับสนุนท่ีเอ้ืออํานวยและ ระบบการแข่งขันที่เป็นธรรมเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับประเทศ มุ่งปรับโครงสร้างและการลงทุนให้สอดคล้องกับ ความตอ้ งการของตลาดท้ังภายในและต่างประเทศ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสาขาบริการท่ีมีศักยภาพบนพ้ืนฐานของ นวตั กรรมและความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์และเมืองสร้างสรรค์ เพ่ิมผลิตภาพของภาคเกษตรและ สร้างมูลค่าเพิ่มด้วยเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู่ อตุ สาหกรรมฐานความรู้เชิงสร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโรจิสติกส์ สรา้ งความมน่ั คงด้านพลังงานควบคูไ่ ปกับการปฏิรูปกฎหมายและกฎระเบียบต่าง ๆทางเศรษฐกิจและการบริหาร จดั การเศรษฐกจิ สว่ นรวมอย่างมปี ระสทิ ธิภาพเพื่อให้เป็นฐานเศรษฐกิจของประเทศท่ีเข้มแข็งและขยายตัวอย่างมี คุณภาพ กลุ่มอาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นอาชีพท่ีอยู่บนพ้ืนฐานของการใช้องค์ความรู้ (Knowledge)การศึกษา(Education) การสร้างสรรค์งาน (Creativity) และการใช้ทรัพย์สินทางป๎ญญา (Intellectual Property) ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม(culture) การส่ังสมความรู้ของสังคม(Wisdom) และเทคโลโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ (Technology and Innovation) (อาคม เติมพิทยาไพสิฐ,2553) ดังนั้นกลุ่ม อาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นการต่อยอดหรือการพัฒนาอาชีพในกลุ่มอาชีพเดิม คือกลุ่มอาชีพ

เกษตรกรรม กลมุ่ อาชพี อุตสาหกรรม กลุม่ อาชีพพาณิชยกรรม กลุ่มอาชีพคหกรรม กลุ่มอาชีพหัตถกรรม และกลุ่ม อาชพี ศลิ ปกรรม กลุ่มอาชีพใหม่ด้านความคิดสรา้ งสรรค์ เช่น แฟช่ันเสอ้ื ผา้ เครื่องประดบั เคร่อื งสาํ อาง ทรงผม สปาสมนุ ไพร การออกแบบสือ่ /ภาพยนตร์/โทรทศั น์ เครื่องใช้ไฟฟาู เฟอร์นเิ จอร์ วสั ดกุ ่อสร้างแบบประหยัดพลงั งาน เซรา มิก ผ้าทอ จักสาน แกะสลกั รถยนตพ์ ลงั งานทางเลอื ก ขากลอัตโนมตั เิ พ่ือผูพ้ กิ าร การทอ่ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม ตลาดน้าํ อโยธยา เป็นต้น 5.กลุ่มอาชีพใหมด่ ้านบริหารจัดการและบรกิ าร เชน่ ธุรกิจบริการท่องเทย่ี ว ธรุ กิจบริการสุขภาพ ธรุ กจิ บริการโลจิสติกส์ ธุรกจิ ภาพยนต์ ธุรกิจการจัดประชมุ และแสดงนิทรรศการ บริการท่ีปรกึ ษาดา้ นอสงั หารมิ ทรัพย์ ท่ปี รกึ ษาทางธรุ กจิ งานอาชพี ใหมท่ งั้ 5 กลุม่ ในอนาคตจะมีการเตบิ โตทางธุรกิจมากขน้ึ จงึ มคี วามตอ้ งการ เจา้ หน้าที่ บุคคล พนักงาน เพื่อควบคมุ และปฏิบัติงานทีม่ ีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะฝมี ือเป็นจํานวนมาก และยานยนตป์ ระเภทต่าง ๆ ผู้ผลติ ตัวแทนจําหนา่ ยหรือผปู้ ระกอบชน้ิ สว่ นหรอื อะไหล่รถยนต์ ผใู้ หบ้ ริการซ่อม บาํ รุงรถยนต์ ผจู้ ัดจาํ หน่ายและศนู ย์จําหน่ายรถยนต์ทง้ั มือหนง่ึ มอื สอง ผู้ผลิตและจําหน่ายเครอ่ื งจักรและเครอ่ื งมือ ทุกชนิด เช่นเครือ่ งจกั รกลหนัก เคร่ืองจกั รกลเบา ผลิตอุปกรณ์หรือส่วนประกอบพนื้ ฐานของเครื่องใช้ไฟฟูาต่าง ๆ เช่นสายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟาู มอร์เตอร์ตา่ ง ๆ การผลิตอลมู เิ นี่ยม ผลิตและตวั แทนจําหนา่ ยผลติ ภัณฑ์เหลก็ สเตนเลส ผผู้ ลิตจาํ หน่ายวัสดกุ ่อสร้าง วัสดตุ กแต่ง สขุ ภณั ฑ์ การกอ่ สร้าง อาคาร หรอื ทอ่ี ย่อู าศยั

ใบความรู้ท่ี 4 เรือ่ งคุณธรรม จริยธรรมในการทางานอาชีพ คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงานมความดีและความถูกตอ้ งในการแสดงออกทง้ั กาย วาจา และใจของแต่ ละบคุ คลซง่ึ ยึดมั่นไวเ้ ป็นหลักในการประพฤตปิ ฏิบตั จิ นเกิดเป็นนิสยั จริยธรรม หมายถงึ กฎเกณฑท์ ีเ่ ปน็ แนวทางในการประพฤตปิ ฏบิ ัติตนในส่ิงทีด่ งี าม เหมาะสม และเปน็ ที่ นยิ มชมชอบหรือยอมรับจากสงั คม เพ่อื ความสนั ตสิ ุขแห่งตนเองและความสงบเรียบร้อยของสังคม ความสาคัญของคุณธรรมจริยธรรม 1. ชว่ ยใหช้ ีวิตดําเนินไปด้วยความราบรื่นและสงบ 2. ช่วยใหม้ ีสติสัมปชญั ญะอยตู่ ลอดเวลา 3. ชว่ ยสร้างความมรี ะเบียบวนิ ัยใหแ้ กบ่ ุคคลในชาติ 4. ชว่ ยควบคุมไม่ให้คนชว่ั มีจาํ นวนมากข้นึ 5. ชว่ ยใหม้ นษุ ยน์ ําความรู้และประสบการณม์ าสร้างสรรคแ์ ต่สิ่งทม่ี ีคณุ คา่ 6. ชว่ ยควบคมุ ความเจริญทางด้านวตั ถแุ ละจิตใจของคนใหเ้ จริญไปพรอ้ มๆ กนั คุณธรรมในการทางาน คณุ ธรรมในการทาํ งาน หมายถึง ลักษณะนสิ ยั ท่ดี ที ี่ควรประพฤตปิ ฏิบตั ิในการประกอบอาชพี คณุ ธรรม สําคัญที่ช่วยให้การทาํ งานประสบความสําเร็จมดี ังน้ี 1. ความมีสติสัมปชัญญะ หมายถงึ การควบคุมตนเองให้พร้อม มสี ภาพตน่ื ตัวฉบั ไวในการรับรทู้ างประสาท สมั ผัส การใชป้ ญ๎ ญาและเหตุผลในการตัดสนิ ใจที่จะประพฤตปิ ฏบิ ัตใิ นเรอ่ื งต่างๆได้อย่าง รอบคอบ เหมาะสม และถกู ต้อง 2. ความซือ่ สตั ย์สุจริต หมายถงึ การประพฤตปิ ฏิบตั ิอย่างตรงไปตรงมาทั้งกาย วาจา และใจ ไมค่ ดิ คด ทรยศ ไมค่ ดโกง และไม่หลอกลวงใคร 3. ความขยันหมน่ั เพยี ร หมายถงึ ความพยายามในการทํางานหรอื หน้าท่ขี องตนเองอยา่ งแข็งขนั ดว้ ยความ มงุ่ ม่ันเอาใจใสอ่ ยา่ งจรงิ จงั พยายามทําเรอ่ื ยไปจนกว่างานจะสําเรจ็ 4. ความมีระเบียบวนิ ยั หมายถึง แบบแผนท่ีวางไว้เพื่อเป็นแนวทางปฏบิ ัตแิ ละดาํ เนินการใหถ้ กู ลาํ ดับ ถกู ท่ี มีความเรยี บร้อย ถกู ต้องเหมาะสมกบั จรรยาบรรณ ข้อบังคับ ขอ้ ตกลง กฎหมาย และศีลธรรม 5. ความรบั ผิดชอบ หมายถงึ ความเอาใจใส่มงุ่ ม่นั ต้ังใจตอ่ งาน หนา้ ที่ ดว้ ยความผูกพัน ความ พากเพยี ร เพอื่ ให้งานสําเร็จตามจดุ มุ่งหมายทก่ี าํ หนดไว้ 6. ความมนี ้าํ ใจ คอื ปรารถนาดมี ไี มตรจื ติ ตอ้ งการช่วยเหลอื ให้ทุกคนประสบความสุข และชว่ ยเหลอื ผู้อ่ืน ให้พ้นทุกข์

7. ความประหยัด หมายถงึ การรูจ้ ักใช้ รู้จักออม ร้จู กั ประหยดั เวลาตามความจําเป็น เพอื่ ใหไ้ ด้ประโยชน์ อยา่ งคุม้ ค่าที่สุด 8. ความสามัคคี หมายถึง การท่ีทกุ คนมีความพรอ้ มทั้งกาย จติ ใจ และความเปน็ น้ําหนงึ่ ใจเดยี วกนั มี จุดมุ่งหมายทจ่ี ะปฏิบัตงิ านใหป้ ระสบความสาํ เรจ็ โดยไม่มีการเกี่ยงงอน จรยิ ธรรมในการทางาน จรยิ ธรรมในการทํางาน หมายถงึ กฎเกณฑ์ที่เป็นแนวทางปฏิบัติตนในการประกอบอาชพี ทถี่ ือว่าเปน็ สิ่งที่ ดีงาน เหมาะสม และยอมรบั การทาํ งานหรือการประกอบอาชีพตา่ ง ๆจะเน้นในเรอ่ื งของจรยิ ธรรมที่มีความแตกต่างกันดงั นี้ จรยิ ธรรมในการทางานทวั่ ไป จรยิ ธรรมท่นี าํ มาซึ่งความสขุ ความเจริญในการทํางานและการ ดาํ รงชีวติ เรียกวา่ มงคล 38 ประการ มงคลชวี ิตที่เก่ยี วขอ้ งกบั การทาํ งานมดี ังนี้ 1. ชํานาญในวิชาชีพของตน ( มงคลชีวิตข้อที่ 8 ) เปน็ การนําความรูท้ เี่ ล่าเรียน ฝกึ ฝน อบรม มาปฏิบตั ใิ ห้ เกิดความชํานาญจนสามารถยดึ เปน็ อาชีพได้ 2. ระเบยี บวนิ ยั ( มงคลชวี ติ ข้อท่ี 9 ) การฝกึ กาย วาจาให้อยู่ในระเบยี บวนิ ัยที่สังคมหรือสถาบนั วางไวเ้ ปน็ แบบแผน 3. กลา่ ววาจาดี( มงคลชวี ติ ขอ้ ท่ี 10 ) คือ วจีสจุ รติ 4 ประการ ได้แก่ ความจริง คาํ ประสาน สามคั คี คาํ สุภาพ คํามปี ระโยชน์ 4. ทํางานไม่คง่ั คา้ งสบั สน ( มงคลชีวิตขอ้ ท่ี 14 ) ลักษณะการทํางานของคนโดยทวั่ ไปมี 2 แบบ คือ - การทาํ งานค่ังคา้ งสับสน คอื ทาํ งานหยาบยุ่งเหยงิ ทํางานไมส่ าํ เร็จ - การทาํ งานไม่คง่ั คา้ ง คอื การทาํ งานดีมีระเบียบ ทํางานเตม็ ฝมี ือ และทาํ งานให้เสรจ็ จรรยาบรรณวิชาชพี จรรยาบรรณเกิดขึน้ เพื่อมงุ่ ให้คนในวชิ าชพี มปี ระสทิ ธิภาพ ให้เป็นคนดใี นการบรกิ ารวชิ าชพี ให้คนในวชิ าชพี มีเกยี รตศิ กั ดิศ์ รที ่มี กี ฎเกณฑ์มาตรฐานจรรยาบรรณ จรรยาบรรณ มีความสําคัญและจําเป็นต่อทุกอาชีพ ทุกสถาบนั และหนว่ ยงาน เพราะเปน็ ที่ยึดเหน่ยี ว ควบคมุ การประพฤติ ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความดีงาม

ความสาคัญของจรรยาบรรณ เพอ่ื ใหม้ นุษย์สามารถอาศัยอยู่รว่ มกนั ได้อยา่ งสงบสขุ จงึ ตอ้ งมกี ฎ กติกา มารยาท ของการอยูร่ ่วมกัน ในสงั คม ทีเ่ จริญแล้ว จรยิ ธรรมในการทางานผบู้ ริหาร 1. มีหิรโิ อตตัปปะ 2. เว้นอคติ 4 ประการ 3. มีพรหมวหิ าร 4 4. มสี ังคหวตั ถุ 4 หลักจริยธรรมแบบไทยสาหรบั บคุ ลากรในองค์กร หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนามีบทบัญญัตคิ รอบคลุมหลกั ปฏิบัตสิ ากลไว้อยา่ งสมบูรณ์ ชาวไทย ไดร้ บั การปลูกฝง๎ หลักธรรมทั้งหลายนีใ้ หถ้ อื เปน็ หลักปฏิบัตโิ ดยท่วั ไปอยแู่ ลว้ ฉะน้นั ไม่ว่าจะเปน็ องค์การใด ถา้ นําหลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนามาถือปฏบิ ัตอิ ย่างจริงจัง องคก์ รน้ันจะมีบุคลากรที่เพียบพร้อมด้วยจริยธรรมและ คณุ ธรรม หวั ข้อธรรมในพระพุทธศาสนาทค่ี วรถอื ปฏิบตั ิ มอี าทิ (1) ความสุจริตซึง่ สมควรมีพร้อมทัง้ กาย วาจา ใจ (2) ธรรมทเี่ ปน็ จุดเรมิ่ ต้นของทุกสงิ่ ทุกอย่างในชวี ิตมนุษย์ - สติ มีความระลกึ ไดใ้ นแต่ละขณะจติ - สมั ปชัญญะ มคี วามรตู้ ัวอย่เู สมอ (3) ธรรมทเี่ ปน็ เครอื่ งคมุ้ ครองโลก - หริ ิ ความละอายแก่บาป - โอตตัปปะ ความเกรงกลวั บาป (4) ธรรมทเ่ี ปน็ เคร่อื งทาใหเ้ ปน็ คนดีงาม - ขนั ติ ความอดทน - โสรัจจะ ความสงบเสงยี่ ม (5) ธรรมของผ้คู รองเรอื น มี 4 ประการ คือ - สัจจะ มคี วามซ่อื สัตย์ต่อกัน - ทมะ รู้จักขม่ จิตของตน - ขันติ มีความอดทน - จาคะ สละสง่ิ ของของตนใหแ้ ก่คนท่ีควรไดร้ บั (6) สังคหวัตถุ 4 คอื ธรรมที่สร้างเสนห่ ใ์ ห้แก่บคุ คลผปู้ ฏบิ ัติ - ทาน การใหส้ ิ่งของของตนแกผ่ อู้ ่ืนท่ีควรได้รบั

- ปยิ วาจา การใชค้ ําพูดท่ีออ่ นหวาน - อตั ถจรยิ า ประพฤติสิ่งทเี่ ป็นประโยชน์ต่อผู้อ่นื - สมานตั ตา ความเป็นคนไมถ่ ือตวั ร้จู ักใหเ้ กียรตผิ อู้ ื่นเสมอ (7) อทิ ธบิ าท 4 ธรรมที่มีผลใหผ้ ูป้ ฏิบัติบรรลุความสําเร็จสมประสงค์ - ฉนั ทะ พอใจ รกั ใคร่ในสงิ่ น้ัน - วิรยิ ะ พากเพียรทาํ ส่ิงนน้ั - จิตตะ เอาใจฝ๎กใฝุในสง่ิ นั้นไม่ละเลกิ วางมือ - วมิ ังสา หม่ันตริตรองพจิ ารณาเหตุผลในสิง่ นน้ั (8) พรหมวหิ าร 4 ธรรมสําหรับบคุ คลท่ีเป็นใหญ่ - เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะใหผ้ ู้อื่นเป็นสุข - กรณุ า ความสงสาร ปรารถนาจะชว่ ยให้ผู้อ่ืนพ้นทกุ ข์ - มุทติ า ความพลอยยินดี เมื่อเหน็ ผู้อนื่ ได้ดี รว่ มยินดีไปกับเขาด้วย - อุเบกขา ความวางเฉย ไม่ดีใจ ไมเ่ สียใจ เม่อื ผู้อืน่ ถงึ ความวิบัติ (9) อนิ ทรยี ์ ๕ ธรรมที่กอ่ ให้เกิดพลัง - ศรทั ธา ความเชอ่ื ม่นั - วิริยะ ความเพียร - สติ มีการระลกึ ไดใ้ นขณะนน้ั - สมาธิ ความต้งั ใจมนั่ - ปญ๎ ญา มคี วามรู้ ความคิด (10) สัปปุริสธรรม 7 คอื ธรรมของคนดี - ธมั มัญํตุ า รจู้ กั เหตุ - อัตถัญํุตา รู้จกั ผล - อัตตญั ํุตา รู้จักตน - มัตตัญํุตา รจู้ ักความพอดี - กาลญั ํุตา รู้จักเวลา ว่า เมอื่ ไรควรมิควร - ปรสิ ญั ํตุ า รจู้ กั สังคมและคนรอบข้าง รูว้ า่ ตนควรปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร - ปุคคลปโรปรญั ํตุ า รูจ้ กั เลอื กคบคน เลือกใชบ้ คุ คล จริยธรรมของผูป้ ระกอบอาชีพค้าขาย 1. ตาดี หมายถึง รูจ้ ักสินคา้ ดขู องเป็น สามารถคํานวณราคา กะตน้ ทนุ เก็งกาํ ไรไดแ้ มน่ ยํา 2. จดั เจนธรุ กิจ หมายถึง รู้จักแหล่งซ้ือขายสินคา้ รู้ความเคลอ่ื นไหวและความตอ้ งการของตลาด

3. พอ้ มดว้ ยแหล่งทุนเป็นทอ่ี าศัย หมายถงึ เป็นทเ่ี ชอ่ื ถือไว้วางใจในหมแู่ หลง่ ลงทุนใหญ่ ๆ จรรยาบรรณวชิ าชีพ จรรยาบรรณวิชาชพี หมายถึง กฎเกณฑ์หรอื แนวทางในการประพฤตปิ ฏิบตั ทิ ่ีผู้ประกอบอาชพี แตล่ ะอาชีพ กําหนดขึ้นเพือ่ รกั ษาและสง่ เสรมิ เกียรติ ชอื่ เสยี ง ฐานะของสมาชิกและวงการวิชาชีพนั้น ๆ ของสมาชิกท่ปี ระกอบ อาชพี นน้ั ๆ ตัวอย่างจรรยาบรรณวชิ าชีพ จรรยาบรรณของผูป้ ระกอบอาชพี ค้าขาย 2. พึงมสี จั จะ คือ ความจรงิ ในอาชพี ของตนและผ้อู ื่นที่ใชบ้ รกิ ารของตนอยา่ งเครง่ ครดั 3. พงึ มเี มตตากรุณาตอ่ ลูกคา้ เสมอหน้ากัน ไมค่ วรคดิ เอาประโยชน์ตน หรือผลกําไรลูกเดยี ว 4. พึงเฉลย่ี ผลกาํ ไรผ้รู ่วมงานทุกคนเสมอหน้ากนั 5. พึงใหเ้ กยี รตแิ ก่ลกู ค้าทกุ คนไม่คดโกง 6. พงึ หาวธิ กี ารรว่ มมอื กับนักการคา้ อ่ืนๆ เพอื่ ชว่ ยเหลือสังคม 7. พึงเสียภาษีอากรใหร้ ฐั อย่างถูกต้องเต็มเม็ดเตม็ หน่วย 8. พงึ รับผดิ ชอบตอ่ ผูร้ ่วมงานทกุ คนด้วยความเมตตาธรรม 9. พงึ พดู จาไพเราะออ่ นหวานและปฏบิ ตั ติ นเปน็ กัลยณมติ รกบั ลูกค้าทุกคน 10. พงึ บรกิ ารลูกคา้ ให้รวดเร็วทันใจเทา่ ที่จะทําได้ 11. พึงหาทางรว่ มมือ รวมแรง รว่ มใจกบั รฐั บาลในการพฒั นาสังคม จรรยาบรรณครู 1. เล่ือมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุขด้วยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ 2. ยึดมน่ั ในศาสนาท่ีตนนับถือ ไมล่ บหล่ดู ูหมิน่ ศาสนาอืน่ 3. ตง้ั ใจสัง่ สอนศษิ ยอ์ ทุ ิศเวลาของตนใหศ้ ษิ ย์ 4. รกั ษาชอ่ื เสียงของตนมิให้ขนึ้ ชอื่ ว่า เปน็ คนประพฤตชิ ั่ว 5. ถอื ปฏิบตั ติ ามระเบยี บและแบบธรรมเนียมอนั ดงี ามของสถานศกึ ษา 6. ถ่ายทอดวิชาความรโู้ ดยไมบ่ ดิ เบือนและปิดบงั อําพราง 7. ใหเ้ กียรตแิ ก่ผู้อืน่ ทางวิชาการ ไม่นําผลงานของผูใ้ ดมาแอบอา้ งเปน็ ของตน 8. ประพฤตอิ ยู่ในความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ 9. สุภาพ เรยี บรอ้ ยเปน็ แบบอย่างที่ดีใหแ้ กศ่ ิษย์ 10. รักษาความสามัคครี ะหว่างครแู ละช่วยเหลอื กันในหนา้ ท่ีการงาน

จรรยาบรรณแพทย์ 1. มีเมตตาจิตแกค่ นไขไ้ มเ่ ลือกชั้นวรรณะ 2. มีความออ่ นนอ้ มถอ่ มตนไมย่ กตนข่มท่าน 3. มคี วามละอายเกรงกลัวต่อบาป 4. มคี วามละเอียดรอบคอบสุขมุ มีสตใิ คร่ครวญเหตผุ ล 5. ไม่โลภเห็นแก่ลาภของผปู้ วุ ยแตฝ่ ุายเดียว 6. ไม่โอ้อวดวชิ าความรู้ให้ผ้อู ่นื หลงเช่อื 7. ไมเ่ ป็นคนเกยี จครา้ นเผอเรอ มกั ง่าย 8. ไมล่ ุอาํ นาจแก่อคติ 4 คอื ความลําเอียงดว้ ยความรัก ความโกรธ ความกลัว ความหลง (โง่) 9. ไม่หวัน่ ไหวต่อสิ่งทเ่ี ปน็ โลกธรรม 8 คือ ลาภ ยศ สรรเสรญิ สุขและความเสอื่ ม 10. ไม่มีสนั ดานชอบความมวั เมาในหมอู่ บายมขุ จรรยาบรรณนักกฎหมาย 1. พงึ ถือว่างานดา้ นกฎหมายเป็นอาชีพไมใ่ ช่ธรุ กจิ 2. พงึ ถอื ว่ากฎหมายเป็นเพยี งเครอื่ งมือของความยุตธิ รรม มใิ ชม่ าตราการความยตุ ิธรรม 3. พึงถือวา่ นักกฎหมายทกุ คนเปน็ ที่พงึ ของประชาชนทุกคนในดา้ นกฎหมาย 4. พึงถอื ว่าความยตุ ธิ รรมอย่เู หนอื อามิสสนิ ้จา้ งหรอื ผลประโยชน์ใดๆ 5. พงึ ถอื ว่าความยตุ ิธรรมเป็นกลางสําหรบั ทกุ คน 6. พงึ ถอื วา่ มนุษย์ทกุ คนมีสทิ ธิในเร่อื งยุติธรรมเท่าเทียมกัน 7. พงึ ขวนขวายหาความรู้ใหท้ ันเหตกุ ารณเ์ สมอ 8. พงึ งดเวน้ อบายมุขทง้ั หลายอันเป็นสิง่ บั่นทอนความยุตธิ รรม 9. พึงรักษาเกียรติยิ่งกวา่ ทรพั ยส์ ินใด 10. พงึ ถอื ว่าบคุ คลมีค่าเหนือวัตถุ จรรณยาบรรณทหาร 1. มคี วามจงรกั ภกั ดตี อ่ ชาติศาสนา พระมหากษตั ริย์ 2. ยดึ ม่นั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ 3. ยอมสละประโยชน์ส่วนตนเพอ่ื ผลประโยชนแ์ ห่งชาติ 4. รกั ษาชอ่ื เสยี ง และเกียรตศิ กั ด์ิของทหาร 5. มคี ณุ ธรรม มคี วามซื่อสตั ยส์ ุจรติ 6. ซ่อื ตรงต่อตนเอง ผู้อื่นและครอบครัว

7. มีลกั ษณะผ้นู ํา มวี ินยั ปฏบิ ัติตามคําส่งั อนั ชอบธรรมถูกตอ้ งตามกฎหมาย โดยเครง่ ครัด และปกครอง ผูใ้ ต้ บงั คบั บัญชาด้วยความเปน็ ธรรม 8. ต้องไม่ใช้ตําแหน่งหน้าทเี่ พือ่ แสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ อนั จักทําให้ เสอื่ มเสียศกั ด์ศิ รี และ เกยี รติภูมขิ องทหาร 9. ไมร่ บั ทรพั ยส์ ินหรือประโยชน์อน่ื ใดจากผ้ใู ต้บังคับบญั ชา หรือบคุ คลอืน่ อันอาจทําให้เปน็ ที่สงสัย หรือ เข้าใจว่ามีการเลอื กปฏิบัติ หรอื ไม่เปน็ ธรรม 10. ปฏบิ ตั ิต่อบคุ คลทมี่ าตดิ ต่อเกย่ี วขอ้ งอยา่ งเสมอภาคและเท่าเทียมกัน 11. รูร้ กั สามัคคี เพ่อื ประโยชน์ตอ่ การปฏบิ ตั ิราชการทหาร 12. ต้องบริหารทรพั ยากรท่มี อี ยู่อยา่ งคมุ้ ค่า และเกดิ ประโยชน์สงู สดุ ตอ่ ทางการทหาร 13. พฒั นาตนให้มคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะในการปฏิบัตงิ านเพื่อให้ เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ต่อทาง ราชการทหาร 14. รักษาความลับของทางราชการทหารโดยเคร่งครัด คา่ นยิ ม ความหมายของค่านิยมมผี ูร้ ู้หลายท่านไดใ้ หค้ วามหมายไว้ดังน้ี คา่ นิยม มาจากคําในภาษาองั กฤษวา่ “Value” และมาจากคาํ สองคาํ คอื “คา่ ” “นยิ ม”เมือ่ คําสองคํา รวมกันแปลวา่ การกําหนดคณุ คา่ คุณคา่ ท่ีเราต้องการทาํ ใหเ้ กิดคุณค่า คุณคา่ ดงั กลา่ วน้ีมที ง้ั คุณค่าแท้และคณุ ค่า เทยี ม ซง่ึ คุณค่าแท้เป็นคุณคา่ ที่สนองความต้องการในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ส่วนคณุ ค่าเทียม หมายถึงคุณค่าท่ี สนองความต้องการอยากเสพส่งิ ปรนเปรอช่ัวค่ชู ่ัวยาม ค่านิยม หมายถงึ สิง่ ท่บี ุคคลพอใจหรอื เหน็ ว่าเป็นสงิ่ ที่มีคุณค่า แล้วยอมรบั ไวเ้ ป็นความเชือ่ หรือ ความรู้สกึ นึกคิดของตนเอง คา่ นยิ มจะสงิ อย่ใู นตวั บคุ คลในรูปของความเชอ่ื ตลอดไป จนกว่าจะพบกบั ค่านยิ มใหม่ ซ่ึงตนพอใจกว่ากจ็ ะยอมรับไว้ เม่ือบุคคลประสบกับ การเลอื กหรือเผชญิ กับเหตกุ ารณ์ ละตอ้ งตดั สนิ ใจอยา่ งใด อยา่ งหนึง่ เข้าจะนาํ ค่านิยมมาประกอบการตัดสินใจทกุ คร้งั ไป ค่านิยมจงึ เป็นเสมอื นพ้นื ฐานแหง่ การประพฤติ ปฏบิ ตั ขิ องบุคคลโดยตรง “ค่านิยม” หมายถึง ความเช่อื วา่ อะไรดี ไม่ดี อะไรควร ไมค่ วร เช่น เราเชอื่ ว่าการขโมยทรัพยข์ อง ผ้อู น่ื การฆา่ สตั วต์ ัดชีวติ เป็นส่งิ ทไ่ี ม่ดี ความกล้าหาญ ความซ่ือสัตย์ เปน็ สง่ิ ที่ดี อิทธิพลของคา่ นยิ มท่ีมตี อ่ พฤติกรรมของบุคคล รองศาสตราจารย์ สุพัตรา สุภาพ ไดก้ ลา่ วถึงคา่ นยิ มสังคมเมืองและค่านยิ มสงั คมชนบทของสังคมไทย ไวค้ ่อนข้างชดั เจน โดยแบง่ ค่านยิ มออกเปน็ ค่านิยมของคนในสังคมเมืองและสงั คมชนบทซง่ึ ลกั ษณะค่านยิ มทง้ั สอง

ลักษณะ จดั ไดว้ ่าเป็นลกั ษณะของค่านิยมท่ีทําให้เกดิ มีอทิ ธพิ ลต่อค่านิยมทม่ี ีตอ่ พฤติกรรมของบุคคล ซ่ึงสามารถ แสดงให้เหน็ ชัดเจนในตาราง ค่านยิ มสังคมเมอื ง คา่ นยิ มสังคมชนบท 1. เชื่อในเรอ่ื งเหตุและผล 1. ยอมรับบญุ รับกรรมไมโ่ ต้แยง้ 2. ขนึ้ อย่กู บั เวลา 2. ข้นึ อยกู่ ับธรรมชาติ 3. แข่งขันมาก 3. เชือ่ ถอื โชคลาง 4. นิยมตะวนั ตก 4. ชอบเสี่ยงโชค 5. ชอบจดั งานพธิ ี 5. นยิ มเครอื่ งประดบั 6. ฟุมเฟอื ยหรูหรา 6. นยิ มคุณความดี 7. นิยมวตั ถุ 7. นิยมพธิ ีการและการทาํ บุญเกนิ กาํ ลงั 8. ชอบทาํ อะไรเปน็ ทางการ 8. ชอบเป็นฝุายรับมากกวา่ ฝุายรุก 9. ยกยอ่ งผมู้ อี ํานาจผมู้ ตี ําแหน่ง 9. ทํางานเป็นเลน่ ทําเลน่ เป็นงาน 10.วินยั 10. พง่ึ พาอาศยั กัน 11. ไม่รักของสว่ นรวม 11. มคี วามเป็นสว่ นตวั มากเกนิ ไป 12. พูดมากกวา่ ทํา 12. รักญาตพิ น่ี อ้ ง 13. ไม่ชอบเห็นใครเหนือกว่า 13. มคี วามสันโดษ 14. เหน็ แก่ตัวไม่เชอ่ื ใจใคร 14. หวังความสุขชัว่ หน้า อทิ ธพิ ลของค่านยิ มตอ่ ตวั บคุ คล ค่านิยมไม่วา่ จะเปน็ ของบคุ คลหรือค่านิยมของสังคม จะมีอิทธพิ ลตอ่ ตัวบุคคล ดงั น้ี คอื 1. ชว่ ยให้บคุ คลตัดสินใจวา่ สิง่ ใดผดิ สิ่งใดถูก ดีหรือไม่ดี มีคณุ ค่าหรือไมม่ คี ณุ คา่ ควรทาํ หรอื ไมค่ วรทาํ 2. ช่วยให้บุคคลในการกาํ หนดท่าทขี องตนตอ่ เหตุการณท์ ต่ี นต้องเผชญิ 3. ช่วยสรา้ งมาตรฐาน และแบบฉบับจากการประพฤติปฏิบัติของบคุ คล ชนิดอืน่ ๆ นอกจากน้ีไมม่ กี ารเผาไหม้ โรงไฟฟูาพลงั งานนวิ เคลียรไ์ มป่ ล่อยก๊าซเรือนกระจก แต่มีข้อ จํากดั ในเร่อื ง ของการจดั การกากกัมมันตรังสแี ละเชื้อเพลงิ ที่ใชแ้ ล้ว

ใบงานที่ 4 เรอื่ ง คุณธรรม จรยิ ธรรมในการทางานอาชพี 1. คุณธรรม หมายถงึ อะไร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. จริยธรรม หมายถงึ อะไร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3.ความสําคัญของคุณธรรม จรยิ ธรรม มอี ะไรบา้ ง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. 4.คณุ ธรรม ในการทาํ งาน หมายถงึ อะไร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 5.จรยิ ธรรม ในการทาํ งาน หมายถึงอะไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

เฉลยใบงานที่ 4 คุณธรรม จรยิ ธรรมในการทางานอาชพี 1. คุณธรรม หมายถงึ อะไร คุณธรรม หมายถงึ สภาพคุณงานมความดีและความถูกต้องในการแสดงออกทั้งกาย วาจา และใจของแตล่ ะ บคุ คลซ่งึ ยดึ ม่ันไวเ้ ป็นหลกั ในการประพฤตปิ ฏิบตั จิ นเกดิ เปน็ นิสัย 2. จริยธรรม หมายถึงอะไร จริยธรรม หมายถึง กฎเกณฑ์ที่เปน็ แนวทางในการประพฤตปิ ฏิบัตติ นในส่งิ ทดี่ ีงาม เหมาะสม และเปน็ ท่นี ยิ มชมชอบหรอื ยอมรบั จากสังคม เพื่อความสันติสุขแหง่ ตนเองและความสงบเรยี บร้อยของสงั คม 3. ความสาคัญของคณุ ธรรม จริยธรรม มอี ะไรบ้าง - ช่วยใหช้ ีวิตดําเนินไปดว้ ยความราบร่ืนและสงบ - ช่วยให้มีสติสมั ปชัญญะอยตู่ ลอดเวลา - ช่วยสรา้ งความมรี ะเบยี บวินัยใหแ้ กบ่ ุคคลในชาติ - ชว่ ยควบคมุ ไม่ใหค้ นชัว่ มจี ํานวนมากขนึ้ - ชว่ ยให้มนษุ ยน์ ําความรู้และประสบการณม์ าสร้างสรรคแ์ ต่ส่งิ ที่มีคุณคา่ - ชว่ ยควบคมุ ความเจริญทางดา้ นวัตถุและจติ ใจของคนให้เจริญไปพรอ้ ม ๆ กัน 4. คณุ ธรรม ในการทางาน หมายถึงอะไร คณุ ธรรมในการทํางาน หมายถงึ ลกั ษณะนิสยั ท่ีดีที่ควรประพฤตปิ ฏบิ ัติในการประกอบอาชพี คณุ ธรรม สาํ คัญที่ชว่ ยให้การทํางานประสบความสําเรจ็ มดี งั น้ี ความมสี ติสมั ปชัญญะ หมายถึง การควบคมุ ตนเองให้พร้อม มสี ภาพตนื่ ตวั ฉับไวในการรบั รู้ทาง ประสาทสัมผัสการใช้ป๎ญญาและเหตุผลในการตดั สินใจท่ีจะประพฤตปิ ฏิบัติในเรอื่ งตา่ งๆ ไดอ้ ย่างรอบคอบ เหมาะสม และถกู ต้อง ความซอ่ื สัตย์สุจริต หมายถงึ การประพฤติปฏบิ ัตอิ ย่างตรงไปตรงมาท้งั กาย วาจา และใจ ไมค่ ดิ คด ทรยศ ไม่คดโกง และไมห่ ลอกลวงใคร ความขยนั หมัน่ เพียร หมายถงึ ความพยายามในการทาํ งานหรอื หนา้ ทีข่ องตนเองอยา่ งแขง็ ขนั ด้วยความ มงุ่ มั่นเอาใจใสอ่ ยา่ งจริงจงั พยายามทาํ เร่อื ยไปจนกวา่ งานจะสาํ เร็จ ความมรี ะเบียบวนิ ัย หมายถึง แบบแผนทว่ี างไวเ้ พ่อื เป็นแนวทางปฏบิ ัตแิ ละดําเนินการให้ถูกลาํ ดบั ถูกท่ี มคี วามเรียบร้อย ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั จรรยาบรรณ ขอ้ บงั คับ ข้อตกลง กฎหมาย และศีลธรรม ความรับผดิ ชอบ หมายถึง ความเอาใจใส่มงุ่ มน่ั ตง้ั ใจตอ่ งาน หนา้ ที่ ด้วยความผกู พัน ความพากเพยี ร เพื่อให้ งานสําเร็จตามจุดมงุ่ หมายทก่ี ําหนดไว้ ความมีน้าํ ใจ คอื ปรารถนาดมี ไี มตรีจิตตอ้ งการชว่ ยเหลือใหท้ กุ คนประสบความสุขและช่วยเหลอื ผอู้ ่ืนให้ พน้ ทกุ ข์

ความประหยดั หมายถึง การร้จู กั ใช้ รู้จกั ออม รู้จักประหยัดเวลาตามความจาํ เป็น เพือ่ ให้ได้ประโยชน์ อยา่ งคมุ้ คา่ ท่ีสดุ ความสามคั คี หมายถึง การท่ีทุกคนมีความพรอ้ มทั้งกาย จิตใจ และความเปน็ นาํ้ หนงึ่ ใจเดียวกัน มี จดุ มุ่งหมายทีจ่ ะปฏิบัตงิ านให้ประสบความสาํ เรจ็ โดยไมม่ ีการเกี่ยงงอน 5. จริยธรรม ในการทางาน หมายถึงอะไร จรยิ ธรรมในการทาํ งาน หมายถงึ กฎเกณฑ์ท่เี ป็นแนวทางปฏิบตั ติ นในการประกอบอาชีพทีถ่ ือวา่ เป็นสิง่ ที่ดีงาน เหมาะสม และยอมรับ

ใบความรู้ที่ 5 เร่ือง การอนุรกั ษพ์ ลงั งานและส่งิ แวดล้อมในการทางานอาชพี ในชมุ ชน การอนรุ กั ษ์พลังงานและส่งิ แวดลอ้ ม การอนุรักษ์พลังงาน คือ การผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด การอนุรักษ์ พลงั งานนอกจากจะชว่ ยลดปริมาณการใช้พลงั งานแลว้ ยังจะช่วยลดป๎ญหาสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดจากแหล่งที่ใช้และ ผลิตพลังงานด้วย วิธกี ารอนุรักษ์พลงั งาน มดี ังน้ี 1. ดา้ นทอ่ี ยู่อาศัย เช่น การออกแบบบ้าน การปลูกต้นไม้ การเลือกซ้ืออุปกรณ์ไฟฟูา การใช้นํ้าในท่ี อยู่อาศัย การใช้พลังงานในเตาก๊าซอย่างประหยัด และการทาสีผนังบ้านหรือเลือกวัสดุพ้ืนห้องควรเป็นสี อ่อนๆ เพ่ือช่วยสะท้อนแสงสว่างภายในห้อง และการรดี เสือ้ ผ้า ควรรดี จํานวนมากในครง้ั เดยี ว 2. ด้านสถานศึกษา เช่น การปลกู ต้นไม้เพิ่มความร่มเงาแก่ตวั อาคารเรียน ผนงั ภายในห้องเรียนควรเป็นสี ขาว เลือกหลอดไฟท่ีมีวัตต์ตํ่าพัดลมติดเพดาน และมีการรณรงค์หรือจัดกิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงานใน สถานศึกษา 3. ดา้ นสถานทท่ี าํ งาน เชน่ การปอู งกันความรอ้ นเข้าสู่อาคารโดยเลือกใช้วัสดุที่เป็นฉนวนกันความร้อน ได้ดี ใช้สีออ่ นในการทาผนงั อาคาร เลือกผลติ ภัณฑท์ ่มี ีสญั ลักษณ์ช่วยรักษาส่ิงแวดล้อม ติดต้ังสวิตซ์ไฟให้สะดวก ในการเปิดปิด การลดชั่วโมงการทํางานของอุปกรณ์ไฟฟูา เครื่องปรับอากาศ ควรต้ังอุณหภูมิที่ 25oC ควรใช้ บนั ไดกรณีข้นึ ลงชัน้ เดียว และควรบาํ รงุ รกั ษาอปุ กรณอ์ ยา่ งสมา่ํ เสมอ 4. ดา้ นการขนสง่ เช่น การใชร้ ถรว่ มกนั ในเส้นทางเดียวกนั รว่ มกนั รณรงคใ์ หข้ ับรถยนตส์ ่วนตวั น้อยลง ใช้ พลังงานทดแทน จัดกิจกรรมรณรงค์เรอื่ งวธิ ปี ระหยดั พลังงาน สนบั สนุนการขนส่งสินค้าของกลุ่มอุตสาหกรรมที่ใช้ พลังงานหมนุ เวียน ปรับปรงุ ระบบการขนส่งสนิ ค้าให้มปี ระสิทธภิ าพย่ิงขนึ้ และ ตรวจสอบอปุ กรณ์สภาพเครื่องยนต์ เป็นประจําเพ่ือเป็นการลดการสิ้นเปลืองนํ้ามัน พลังงานมีความสําคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาประเทศท้ังด้าน เศรษฐกิจ สังคม อุตสาหกรรม คมนาคม เกษตรกรรม และอ่ืนๆ การใช้พลังงานเพ่ือตอบสนองการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมมีความต้องการอย่างต่อเน่ือง การอนุรักษ์พลังงานจึงมีความสําคัญอย่าง ย่งิ เพราะการอนุรกั ษ์พลงั งานนอกจากจะช่วยลดปรมิ าณการใช้พลงั งานแลว้ ยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในกิจกรรม ต่างๆ และยังจะชว่ ยลดป๎ญหาสง่ิ แวดล้อมทเ่ี กิดจากแหลง่ ท่ใี ชแ้ ละผลติ พลังงานด้วย กฎหมายดา้ นพลงั งาน กรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและอนุรักษ์พลงั งาน (พพ.) ไดย้ กร่างกฎหมายส่งเสริม การอนุรักษ์พลงั งานขึน้ มาเพ่ือกาํ หนดมาตรการในการกาํ กับดแู ลส่งเสรมิ และช่วยเหลอื เกยี่ วกับการใช้พลังงาน ความหมายของการอนุรักษ์พลังงาน\" คือการผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด การ อนรุ ักษ์พลังงานนอกจากจะช่วยลดปริมาณการใชพ้ ลงั งาน ซ่ึงเป็นการประหยัด ค่าใช้จ่ายในกิจการแล้ว ยังจะช่วย ลดป๎ญหาสง่ิ แวดลอ้ มท่ีเกดิ จากแหล่งท่ใี ช้และผลิตพลงั งานด้วย

การอนรุ ักษพ์ ลงั งานคืออะไร การอนุรักษ์พลังงาน เป็นวตั ถุประสงค์หลกั ภายใต้พระราชบญั ญัติการส่งเสรมิ การอนรุ กั ษ์พลงั งาน พ.ศ.2535 ท่ี กาํ หนดใหก้ ลุม่ เปาู หมายคอื อาคารควบคุมและโรงงานควบคมุ ต้องจดั เตรียมโครงสร้างพ้นื ฐาน เชน่ ข้อมลู บคุ ลากร แผนงาน เป็นต้น เพอื่ นําไปสู่การอนรุ กั ษ์พลงั งานตามกฎหมายและกิจกรรมการอนรุ ักษพ์ ลงั งานนี้ยงั ใช้ เป็นกรอบและแนวทางปฎบิ ัตใิ นการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานใหด้ ยี ิ่งข้ึน การดาํ เนินงานเพ่อื การอนุรกั ษ์พลงั งาน ทา่ นจะไดร้ บั ความช่วยเหลอื ตามทกี่ ฎหมายกําหนดไวใ้ นหลาย เรอื่ งด้วยกนั คือ : 1. เงินชว่ ยเหลอื เงินอดุ หนนุ สาํ หรับการกําหนดเปูาหมายและ แผนการอนรุ ักษ์พลังงานของอาคารควบคุม และโรงงานควบคมุ 2. เงินชว่ ยเหลอื ให้เปลา่ ไมเ่ กิน 100,000 บาท สาํ หรับคา่ ใชจ้ ่ายในการตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้ พลงั งานเบื้องตน้ (หากตอ้ งการ) 3. เงินอดุ หนุนจาํ นวนร้อยละ 50 ของคา่ ใช้จ่ายในการจดั ทาํ เปูาหมายและ แผนอนรุ ักษ์พลงั งาน (รวมค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบและวเิ คราะห์การใช้พลงั งานโดยละเอียด) แต่ไม่เกิน 500,000 บาท หาก ตอ้ งการ) 4. เงนิ ชว่ ยเหลือให้เปลา่ ไม่เกิน 2,000,000 บาท สาํ หรับเจา้ ของอาคารควบคุมและโรงงานควบคมุ ท่ี ประสงคจ์ ะปรับปรุงการออกแบบกอ่ สรา้ งโรงงานและอาคารทอี่ ยูร่ ะหวา่ งการออกแบบหรือก่อสรา้ ง ท้งั น้ี เพ่อื ให้มกี ารใชพ้ ลังงานอยา่ งมีประสิทธิภาพมากกว่ามาตรฐานการอนรุ กั ษพ์ ลังงานท่ีกาํ หนดไว้ 5. เงนิ อุดหนนุ สาํ หรับการลงทุนตามแผนอนรุ ักษพ์ ลงั งานของอาคารควบคมุ และโรงงานควบคุมท่ีได้รบั ความเห็นชอบจากกรมพฒั นาและส่งเสริมพลังงาน (หากตอ้ งการ) 6. สามารถเขา้ ร่วมอบรมในหลกั สูตรที่เกีย่ วขอ้ งกบั การอนุรกั ษพ์ ลังงาน โดยไมต่ อ้ งเสียคา่ ใชจ้ ่ายแต่อย่าง ใด แนวทางในการอนุรกั ษ์พลงั งานหรอื การใช้พลังงานเชิงอนุรักษ์ทีส่ ําคญั ไดแ้ ก่การใช้พลังงานอย่างประหยัด และคมุ้ คา่ โดยการสร้างค่านิยมและจิตใต้สํานึกการใช้พลังงาน การใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่าจะต้องมีการวางแผน และควบคุมการใช้อย่างเต็มประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดมีการลดการสูญเสียพลังงานทุกข้ันตอน มีการ ตรวจสอบและดูแลการใชเ้ ครอ่ื งใชไ้ ฟฟูาตลอดเวลา เพื่อลดการร่วั ไหลของพลังงาน เป็นตน้ การใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะพลังงานที่ได้จากธรรมชาติ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ํา และอ่ืน ๆ การเลือกใช้เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น เครื่องใช้ไฟฟูาเบอร์ 5 หลอดผอมประหยัด ไฟ เป็นต้น การเพิม่ ประสทิ ธิภาพเชอ้ื เพลงิ เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งทําใหเ้ ชอ้ื เพลิงให้พลังงานได้มากข้ึน การหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ โดยการนําวัสดุท่ีชํารุดนํามาซ่อมใช้ใหม่ การลดการท้ิงขยะท่ีไม่จําเป็นหรือการ หมนุ เวยี นกลับมาผลิตใหม่ (Recycle)

นโยบายพลังงาน พฒั นาพลงั งานให้ประเทศไทยสามารถพง่ึ ตนเองได้มากขึน้ โดยจดั หาพลงั งานใหเ้ พยี งพอ มีเสถยี รภาพด้วย การเรง่ สาํ รวจและพฒั นาแหลง่ พลงั งานประเภทตา่ ง ๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ และเร่งใหม้ ีการเจรจา กับประเทศเพอ่ื นบา้ นในระดับรฐั บาลเพอ่ื รว่ มพฒั นาแหล่งพลังงาน วางแผนพัฒนาไฟฟาู ใหม้ ีการกระจายชนิดของ เชื้อเพลิงทใ่ี ช้ เพื่อลดความเสย่ี งดา้ นการจัดหา ความผนั ผวนทางด้านราคา และลดตน้ ทนุ การผลิต ส่งเสรมิ การผลิต ไฟฟูาจากพลงั งานหมุนเวียนท่ีมีศักยภาพ โดยเฉพาะโครงการผลติ ไฟฟูาขนาดเลก็ และโครงการผลติ ไฟฟาู ขนาด เลก็ มาก รวมทง้ั ศึกษาความเหมาะสมในการพฒั นาพลังงานทางเลอื กอ่ืน ๆ มาใช้ประโยชนใ์ นการผลิตไฟฟูา ดาํ เนนิ การใหน้ โยบายด้านพลังงานทดแทนเปน็ วาระแห่งชาติ โดยสนับสนุนการผลิตและการใช้พลงั งานทดแทน โดยเฉพาะการพัฒนาเชือ้ เพลิงชวี ภาพและชีวมวล เชน่ แกส๊ โซฮอล์ (อี 10 อี 20 และอี 85) ไบโอดเี ซล ขยะ และ มูลสัตว์ เป็นตน้ เพ่ือเสรมิ สรา้ งความมัน่ คงดา้ นพลังงาน ลดภาวะมลพิษ และเพอ่ื ประโยชนข์ องเกษตรกร โดย สนับสนนุ ให้มกี ารผลิตและใช้พลงั งานหมุนเวยี นในระดับชมุ ชน หมู่บา้ น ภายใต้มาตรการสร้างแรงจูงใจทีเ่ หมาะสม รวมทงั้ สนบั สนนุ การใชก้ ๊าซธรรมชาติในภาคขนส่งให้มากขน้ึ โดยขยายระบบขนส่งก๊าซธรรมชาตใิ ห้ครอบคลุมพืน้ ที่ ท่วั ประเทศ ตลอดจนสง่ เสริมและวจิ ัยพัฒนาพลังงานทดแทนทุกรปู แบบอยา่ งจรงิ จังและต่อเนือ่ ง กํากบั ดูแลราคา พลงั งานให้อยใู่ นระดับท่ีเหมาะสม มเี สถยี รภาพ และเปน็ ธรรมต่อประชาชน โดยกาํ หนดโครงสร้างราคาเชือ้ เพลงิ ท่ี เหมาะสม และเออ้ื ตอ่ การพฒั นาพชื พลังงาน รวมทัง้ สะทอ้ นต้นทุนท่ีแท้จริงมากทีส่ ุด และบริหารจัดการผ่านกลไก ตลาดและกองทนุ น้ํามัน เพือ่ ให้มีการใช้พลังงานอยา่ งประหยัด และสง่ เสริมการแขง่ ขัน และการลงทนุ ในธุรกิจ พลังงาน รวมทัง้ พฒั นาคุณภาพการให้บริการและความปลอดภัย การอนุรักษ์พลงั งาน คือ การผลิตและการใชพ้ ลังงานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและประหยัดการอนรุ ักษ์ พลังงานนอกจากจะชว่ ยลดปรมิ าณการใชพ้ ลงั งาน ซึ่งเปน็ การประหยดั ค่าใช้จา่ ยในกจิ การแล้ว ยังจะช่วยลด ปญ๎ หาส่งิ แวดล้อมท่ีเกดิ จากแหล่งทใ่ี ช้และผลิตพลังงานดว้ ย การสร้างนโยบายดา้ นพลงั งานของรฐั บาลเปน็ อีก แนวทางหนึ่งในการใช้พลังงานอยา่ งคุ้มคา่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook