Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E b รายงานการวิเคราะห์ตามประเด็

E b รายงานการวิเคราะห์ตามประเด็

Published by 4/5 อรุณี มีสัจ, 2022-05-08 05:47:30

Description: รายงานเดี่ยว รายงานการวิเคราะห์ตามประเด็

Search

Read the Text Version

รายงานการศกึ ษาดูงานสถานศึกษาตน้ แบบและวิเคราะหบ์ ริบทในสถานศึกษา หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กอ่ นแตง่ ตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2565 สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา โดย นายแสงอาทิตย์ เจง้ วัฒนพงศ์ กลุ่ม 4 เลขที่ 4 สถานศกึ ษาต้นแบบ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ระแก้ว สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

รายงานการวเิ คราะห์บริบทของสถานศึกษา วทิ ยากรพี่เล้ียง ผ้อู ำนวยการ เอนก สุขสว่าง ชือ่ – สกุล นายแสงอาทติ ย์ เจง้ วฒั นพงศ์ กลุม่ ที่ 4 เลขที่ 4 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยสี ระแกว้ 1. ขอ้ มูลพื้นฐานสถานศกึ ษา ประวตั สิ ถานศกึ ษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว ตั้งอยู่เลขที่ 109 หมู่ 10 ตำบลผ่านศึก อำเภออรัญ ประเทศ จังหวัดสระแก้ว 27120 เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2505 ใช้ชื่อว่า “โรงเรียนเกษตรกรรม สงเคราะห์ปราจีนบุร”ี เป็นการจดั การศึกษาด้านเกษตรกรรมให้กับนักเรียน ทีจ่ บการศกึ ษาชั้นประถมปีท่ี 7 เข้ามาเรียน เมื่อจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 นักเรียนจะได้รับจัดสรรที่ดินคนละ 25 ไร่ เพื่อประกอบ อาชพี ด้านการเกษตร พ.ศ. 2519 จดั การศกึ ษาในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชพี เกษตรกรรม และเปลีย่ นชือ่ เปน็ “โรงเรียนเกษตรกรรมปราจนี บุร”ี พ.ศ. 2524 จัดการศกึ ษาในระดบั ปวช. และ ปวส. และเปลี่ยนชือ่ เป็น “วิทยาลัยเกษตรกรรม ปราจีนบุร”ี พ.ศ. 2536 เปลี่ยนช่ือเปน็ “วทิ ยาลยั เกษตรกรรมสระแกว้ ” ตามช่ือจังหวดั และเปลีย่ นชอ่ื เปน็ “วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว” ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ในปี พ.ศ.2539 การจดั การศกึ ษา วิทยาลัยเกษตรและเทคโลยีสระแก้ว ได้จัดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชั้นสูง (ปวส.) โดยแบ่งดงั ตอ่ ไปนี้ 1. หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) ประเภทวชิ าเกษตรกรรม สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ - สาขาเกษตรศาสตร์ ประเภทวิชาพาณชยิ กรรม สาขาวชิ าพณิชยการ - สาขางานคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ 2. หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้ันสงู (ปวส.) ประเภทวิชาเกษตรกรรม - สาขางานพืชศาสตร์ - สาขางานสัตวศาสตร์ - สาขางานช่างเกษตร - สาขางานประมง - สาขางานอตุ สาหกรรมเกษตร ประเภทวิชาบริหารธรุ กจิ - สาขาการบัญชี - สาขาคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ

2. ขอ้ มลู ค่านยิ ม วัฒนธรรมท้องถ่นิ สภาพชมุ ชน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว ตั้งอยู่ในชุมชนชนบท ซึ่งอยู่ในองค์การบริหาร ส่วนตำบล ผ่านศึก อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระแก้วมีพื้นที่ประมาณ 7,195,436 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,496,962 ไร่ สภาพเศรษฐกิจ สว่ นใหญ่เปน็ พื้นที่การเกษตรประมาณร้อยละ 47 มีสภาพเป็นปา่ ประมาณร้อยละ 16 มี ประชากรประมาณ 539,100 คน สว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพการเกษตร พืชเศรษฐกิจทีส่ ำคัญ ไดแ้ ก่ มนั สำปะหลงั ข้าวนาปี อ้อย ขา้ วโพด และแตงแคนตาลูป สตั ว์เศรษฐกจิ ทีส่ ำคญั โคเน้ือ โคนม มสี ถาน ประกอบการทข่ี นึ้ ทะเบยี นประมาณ 969 แห่ง สภาพสังคม การท่องเที่ยวชายแดนทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และประวัติศาสตร์ ทำเลที่ตั้งเอื้อประโยชน์ทุกด้าน มีเส้นทางคมนาคมติดต่อกับจังหวดั ใกล้เคียงในภาคกลาง และจังหวัดชายฝัง่ ทะเลเชื่อมโยงไทย-กัมพูชา เส้นทางเข้าสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และสนามบินของกองทัพอากาศ 206 วัฒนานคร ทมี่ ีศกั ยภาพสามารถพัฒนาเป็นสนามบนิ พาณิชย์ วทิ ยาลยั เทคนิคปราจีนบรุ ี 1. ขอ้ มูลพืน้ ฐานสถานศึกษา o ปรัชญาของวิทยาลัย : “ทักษะดี มีวินัย รว่ มใจสามคั คี ทำดเี พื่อส่วนรวม” o เอกลกั ษณ์ (Uniqueness) : จิตบรกิ าร (Service Mind) o อัตลักษณ์ (Identity) : คนดี (A Good Person) o วิสยั ทศั น์ (Vision) : วทิ ยาลยั เทคนิคปราจีนบุรี ม่งุ ผลิตบคุ ลากรด้านอาชวี ศกึ ษา ทีม่ ี ความรคู้ ่คู ุณธรรม ตามมาตรฐานวชิ าชพี และพัฒนาชมุ ชนสังคม ใหม้ ีคณุ ภาพอย่างยั่งยืน o พันธกิจ (Mission) : o พฒั นาบคุ ลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญตรงตามวิชาชพี o สง่ เสรมิ ลักษณะผู้เรยี นด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม สอดคล้องกับความต้องการชมุ ชนและสังคม o พัฒนาความร้ดู า้ นการวจิ ยั นวตั กรรมเทคโนโลยีและส่งิ ประดษิ ฐ์ o สรา้ งความร่วมมือกบั สถานประกอบการ ใหบ้ ริการชุมชน และสังคม o เป้าประสงค์ : o ผเู้ รียนมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะอาชีพ และบคุ ลากรในสถานศึกษา มคี วามเช่ียวชาญ ด้านสาขาวิชาชพี มรี ะบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษาท่มี ปี ระสิทธิภาพ o เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม โดยสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสงั คม o เป็นแหล่งเรียนรทู้ ี่มีศักยภาพ สามารถตอบสนองการเรียนรู้ของนักศึกษาและชมุ ชนด้านการ วจิ ยั นวัตกรรมและสิ่งประดษิ ฐ์ o ชมุ ชน สงั คมและสถานประกอบการ ได้รับการบริการและพฒั นาอย่างทวั่ ถึงและมี ประสทิ ธิภาพ

o จดุ เนน้ ในการพัฒนาของสถานศึกษา ขอ้ 1 จดั การเรียนการสอนให้นกั เรียนนกั ศึกษามีทักษะวชิ าชพี และคุณธรรมตรงตามความ ต้องการของสถานประกอบการ ขอ้ 2 ลดการลดอัตราการ Drop Out ของนกั เรยี นนักศึกษาใหม้ ีปริมาณลดลง ข้อ 3 เปิดการเรยี นการสอนในระดบั ปริญญาตรีใหม้ จี ำนวนสาขาท่ีเพ่ิมขน้ึ ขอ้ 4 ส่งเสรมิ การทำวิทยฐานะใหก้ บั ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหม้ ีจำนวนเพิ่มมากขึ้น o อัตรากำลัง ปีงบประมาณ 2565 มีทงั้ ส้ิน 217 คน ประกอบด้วย 3. การวเิ คราะห์บริบทสถานศกึ ษา จดุ เด่น จดุ ดอ้ ยและข้อพจิ ารณา 4 ประเดน็ จากการฝึกประสบการณต์ ามหลักสูตรพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ณ วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีสระแก้ว ในระหว่างวันที่ 2 – 6 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕6๕ ได้ศึกษาและวิเคราะห์ องคก์ ร ปรากฏ ดงั นี้ 3.1 การวิเคราะห์ SWOT ระดับสถานศึกษา ๑ จดุ แขง็ (Strengths) o บคุ ลากรมีความพร้อมความสามารถ o สถานที่ต้งั การคมนาคมสะดวก o มีพน้ื ท่ีในการบรหิ ารจัดการ มาก o มงี บประมาณเพยี งพอ o มีหลกั สูตรทหี่ ลากหลาย o ไดร้ บั การยอมรับจากชุมชนในการจัดการศึกษาสาขาวิชาชพี o มีอาคารและฟารม์ รองรับการจดั การเรยี นการสอน o มสี ถานประกอบการเข้มแข็ง o สภาพแวดลอ้ มภายในวิทยาลัยสวยงาม ๒ จดุ ออ่ น (Weaknesses) o การบริหารจดั การขาดมาตรฐานในการประเมินบุคลากร o หลักสตู รมกี ารพัฒนาไมค่ รอบคลมุ ไม่ทันสมยั o ขาดระบบการบริหารจัดการ o อาคารเรียนขาดการดแู ล o นกั เรียนซ่ึงเป็นตวั ป้อนเขา้ เรียนขาดคณุ ภาพ o นกั เรียน นกั ศึกษาน้อย o ขาดการประชาสัมพนั ธ์เชิงรกุ o นกั เรยี น นักศึกษาไม่สามารถสอื่ สารด้านภาษาองั กฤษได้ o ออกกลางคันมาก o กระบวนการจดั ซ้ือมีความลา่ ชา้ o ปัญหาท่ีตงั้ ของสถานศึกษา ในเมือง และนอกเมือง มผี ลตอ่ จติ ใจของผูเ้ รียน o ปญั หาการบรหิ ารจดั การสาธารณูปโภคภายใน o ขาดความชดั เจนในการบริหารงานโครงการ

๓ โอกาส (Opportunities) o สถานประกอบการให้การสนับสนุนการฝึกอาชีพ o มีโอกาสในการจดั การศึกษาให้ชาวต่างด้าว o สามารถระดมทนุ การศึกษาจากภายนอก o มีอาชีพท่ีหลากหลาย เกษตร ประมง และธรุ กจิ บริการ o สภาพเศรษฐกิจดี o มีการเพ่มิ ประชากรจากถ่นิ อื่น ๔ อุปสรรค (Threats) o ท่ตี ง้ั ของสถานศกึ ษาอยนู่ อกเมอื ง o หลักสูตรอาชีวศึกษาไม่เอื้อตอ่ การศึกษาต่อ o การยา้ ยถิน่ ฐานของผ้ปู กครองทำให้มีอุปสรรคต่อการ o ตดิ ต่อสือ่ สาร o ผู้ปกครองมคี า่ นยิ มในการเลือกสาขาวชิ าใหน้ ักเรียนในบาง o สาขาวชิ า ทำให้บางสาขาวชิ ามีผเู้ รยี นจำนวนน้อย o การสอ่ื สารกับคนต่างด้าว จากการวิเคราะห์องค์การ มีแนวทางการพฒั นา 4 ประเด็น ดงั นี้ ประเดน็ ท่ี 1 กลยุทธในการขบั เคล่อื น Future Skill ของสถานศึกษา การขับเคล่ือนทักษะในอนาคต (Future Skill) ของสถานศึกษาเพือ่ ให้ผู้เรยี นไดท้ ักษะ ดังต่อไปน้ี ทักษะด้านสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี - ความรพู้ ้ืนฐานด้านขอ้ มูลสารสนเทศ - ความรู้พืน้ ฐานดา้ นการใช้สอื่ - ความรพู้ ืน้ ฐาน ด้านสารสนเทศ การสือ่ สาร และเทคโนโลยี ทักษะการเรยี นรู้และนวัตกรรม - ความคิดสรา้ งสรรค์และการสร้างนวตั กรรม - การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและการแกป้ ัญหา ทักษะชีวิตและการทำงาน - ความยืดหย่นุ และความสามารถในการปรบั ตัว - การริเริม่ และนำตนเอง - ทกั ษะทางสังคม และทักษะข้ามวฒั นธรรม - ความสารถในการผลติ และความรบั ผิดชอบ - ความเป็นผนู้ ำ และความรับผดิ ชอบ

กลยทุ ธ์ในการขับเคล่อื น Future Skill ของสถานศกึ ษา ประกอบด้วย กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาระบบการกำกับติดตามดูแล และการบริหารจัดการสถานศึกษาให้เอื้อต่อการ บรหิ ารจัดการและสนองต่อการพฒั นาและการเปล่ียนแปลง กลยุทธท์ ่ี 2 พัฒนาหลักสูตรและการจดั การเรียนการสอนสูค่ วามเปน็ สากล กลยุทธท์ ่ี 3 พัฒนาระบบการบรหิ ารงานบคุ คลสูค่ วามเปน็ สากล กลยุทธ์ท่ี 4 พฒั นาสมรรถนะด้านการวจิ ัยและพฒั นาของบคุ ลากร กลยทุ ธ์ท่ี 5 ยกระดับโครงการบริการวิชาการและโครงการพัฒนาวิชาชีพ กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษาตามความจำเป็นและการสรา้ งนวัตกรรมการ เรียนรู้ กลยุทธท์ ่ี 7 พัฒนาระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั ศกึ ษาทม่ี ีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 8 พัฒนาทักษะและคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาโดยใช้ ICT Model และบูรณาการชุมชน และทีม (Integrated Community and Team) ประเดน็ ที่ 2 การสรา้ งความเขม้ แขง็ ของระบบความร่วมมอื กับสถานประกอบการ การสร้างความเขม้ แข็งของระบบความรว่ มมือกับสถานประกอบการโดยการสร้างความรว่ มมือในการ จัดการศกึ ษาทวภิ าคเี ชิงรุก สรา้ งเครอื ขา่ ยของการศึกษาท่เี ข้มแขง็ และขยายโอกาสทางการศึกษาสำหรับทุก กลุม่ ยกระดับมาตรฐานสถานศึกษาของอาชวี ศึกษาในด้านการจดั การเรยี น สอนในระดับ ปวช. ปวส. และ ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ และเพ่ิมศักยภาพให้เป็น แหล่งเรียนรู้วิชาชีพและฝึกอบรม วิชาชีพของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ ระหว่าง หน่วยงาน สถานศกึ ษาทั้งภายในและต่างประเทศ และสรา้ งโอกาสและความรว่ มมือในการสร้างเสริมคุณภาพ ครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศกึ ษาดา้ นอาชีวศึกษา มี ๕ กลยทุ ธ์ ไดแ้ ก่ กลยุทธท์ ี่ ๑ พัฒนาโครงสร้างและเครือขา่ ยการเรียนรู้ จากทกุ ภาคส่วนเข้ามามีบทบาทในการจัดการ อาชวี ศกึ ษาเชิงพ้นื ทต่ี ามบรบิ ท กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาระบบการบริหารจัดการร่วมกับหน่วยงานต่างๆในรูปแบบบูรณาการ เพื่อให้เกิด เครอื ขา่ ยการทำงานเพอื่ การสร้างคุณภาพผู้เรยี นอาชวี ศึกษา กลยุทธ์ที่ ๓ สร้างความร่วมมือกับสถานประกอบการในการเปิดสอนระดับปวช. ปวส. และปริญญา ตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการดว้ ยการเจรจาแสวงหาความร่วมมือจากเครือข่ายสถาบันการศึกษา ทุก ระดบั และหน่วยงานองคก์ รปกครองท้องถิน่ กลยุทธ์ที่ ๔ การรับรู้เรื่องมาตรการทางด้านภาษีอากรเพื่อการจูงใจให้สถานประกอบการให้ความ รว่ มมือ ในการจดั การอาชวี ศึกษา กลยทุ ธ์ท่ี ๕ เจรจาแสวงหาความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานในประเทศ และ ต่างประเทศ แผนงาน/โครงการ : ๑) การดำเนินงานศนู ย์อาชวี ศึกษาทวิภาคีเขตพืน้ ท่ี ๒) ลงนามความร่วมมือจากหนว่ ยงานในประเทศ และ ตา่ งประเทศ ๓) การรับรูเ้ รอ่ื งมาตรการทางด้านภาษีอากรเพ่ือการจงู ใจให้สถานประกอบการ

๔) พัฒนาโครงสร้างและเครือข่ายการเรียนรู้ จากทุกภาคส่วนในพื้นท่ี ทั้งในระดับอุดมศึกษา และ การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ประเด็นท่ี 3 ระบบการบรหิ ารจัดการสคู่ ุณภาพ การดำเนนิ การนำประสบการณ์ท่ีได้จากการฝึกประสบการณ์ไปประยกุ ต์ใช้ให้สำเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ นั้น รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ต้องศึกษาระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กฎหมายท่ี เกี่ยวข้อง นโยบายรัฐบาล ความต้องการของสังคม ชุมชน และบริบทของสถานศึกษาให้เข้าใจ และ ดำเนินการจัดระบบการบรหิ ารจดั การสู่คุณภาพ โดยมีกรอบแนวคิดดังนี้ สถานศกึ ษา - ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการ การ (คณะกรรมการบริหาร) อาชวี ศกึ ษาว่าด้วยการบริหารสถานศกึ ษา - กฎหมายว่าดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาติ จดั ทำแผนพัฒนาสถานศึกษา - กฎหมายวา่ ดว้ ยการอาชีวศกึ ษา (แผนระยะยาว และแผนระยะสนั้ ) - กฎหมายอ่นื ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง - นโยบายรฐั บาล ดำเนนิ การตามแผน - แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (P-D-C-A) - ความต้องการของชมุ ชน ฯลฯ - การขับเคลื่อน Future Skill ของสถานศกึ ษา - การสร้างความเข้มแข็งของระบบความ ร่วมมือกบั สถานประกอบการ ผลสัมฤทธ์ิ ประเมินผล และสรุปผล (ประสิทธิภาพ และประสทิ ธผิ ล) (ตัวบ่งชี้ เกณฑ์) กรอบแนวคดิ ระบบการบริหารจดั การสูค่ ณุ ภาพ และมแี นวทางการบริหารจดั การ ดงั น้ี ๑ จดั การศึกษาให้มีความทนั สมัย ยืดหยนุ่ สอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน สถาน ประกอบการ และการประกอบอาชีพอสิ ระ เพื่อการดำรงชวี ิตตามสภาพเศรษฐกจิ สังคม ทอ้ งถน่ิ วฒั นธรรม เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม มุง่ เนน้ การปฏิบัตงิ านจริง ตามความพรอ้ มและศักยภาพของ นักศกึ ษา ๒ จดั การศกึ ษาโดยประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาและหน่วยงานอืน่ ทั้งในด้านการจดั การทาง วิชาการ การใชบ้ คุ ลากรและทรัพยากรรว่ มกัน ๓ จัดการศกึ ษาโดยการระดมทรัพยากรด้านการเงิน ทรัพย์สนิ และบุคลากรทง้ั จากรัฐ องคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน บุคคล ครอบครัว ชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบันการศกึ ษา สถานประกอบการ สถาบันสงั คมอน่ื รวมทง้ั ความรว่ มมือในการจดั กิจกรรม และการจัดหาทุนเพื่อ พฒั นาการอาชวี ศึกษา

๔ จดั การศึกษาให้ผ้เู รยี นเปน็ ผมู้ ีสมรรถนะทางวชิ าชพี สามารถประกอบอาชีพเปน็ พลเมืองดีของ สงั คม มีความสามารถในการคิด เรียนรู้ วางแผนและพัฒนาตนเอง ๕ ดำเนนิ การใหส้ ถานศึกษาเปน็ ศูนย์การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองและการให้บริการวิชาชพี แก่ชุมชน และ ท้องถ่ิน ๖ ส่งเสรมิ ให้ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผูเ้ รียนวิจยั เพ่ือพัฒนาองค์ความรู้เทคโนโลยแี ละ นวตั กรรม ๗ ทำนุบำรงุ ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี สง่ เสรมิ กีฬา พลานามยั และอนุรักษส์ งิ่ แวดล้อม ๘ สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาเชงิ ธรุ กจิ การรับงานการค้า และการรบั จัดทำ รบั บรกิ าร รับจ้าง ผลติ เพอ่ื จำหนา่ ยที่สอดคล้องกบั การเรียนการสอน ในการบริหารงานในสถานศึกษาเพ่ือความเปน็ เลิศนนั้ มแี นวทางในการดำเนนิ งานดังน้ี ๑ กำหนดปรชั ญาวทิ ยาลยั ดงั น้ี “เก่ง ดี มงี านทำ นำชวี ิตสคู่ วามสำเร็จ” ๒ กำหนดอตั ลักษณด์ งั น้ี “ผ้สู ำเรจ็ การศึกษามีทกั ษะวิชาชีพเปน็ ที่ยอมรบั ของสงั คม” ๓ กำหนดเอกลักษณ์ ดงั น้ี “สร้างคนดี มีงานทำ” ๔ กำหนดคำขวญั วิทยาลยั ดงั นี้ “หมน่ั ฝกึ ฝมี ือ ยึดถอื คุณธรรม สมั พนั ธช์ ุมชน คดิ คน้ เทคโนโลยี” ๕ กำหนดจดุ เน้น จุดเด่น ดังน้ี “บริการวชิ าชพี วชิ าการ สูส่ ังคม” ๖ กำหนดวสิ ัยทัศน์ ดังนี้ “มงุ่ ม่ันจดั การศึกษาด้านวิชาชีพใหไ้ ดม้ าตรฐานสากลและตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” ๗ กำหนดพนั ธกิจ ดังนี้ ก พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีความรู้ ความสามารถ มีทกั ษะความชำนาญในวิชาชีพนำไปใชใ้ นการ ประกอบ อาชีพอย่างมีมาตรฐานสากล ข ประสานความรว่ มมือ หน่วยงานทางการศกึ ษา ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ และสถานประกอบการ เพื่อรว่ มพฒั นากำลังคน ทรัพยากร เทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอนด้านวชิ าชพี ค เสริมสรา้ งโอกาสทางการศึกษาดา้ นวชิ าชพี อย่างทวั่ ถึง เทา่ เทียม และต่อเน่ือง ง พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การการเรียน การสอน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จ ส่งเสริม งานวจิ ัย สง่ิ ประดษิ ฐ์ นวตั กรรม เพอื่ ประโยชน์ต่อชมุ ชน และสังคม ฉ พฒั นาผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นคนดี มีคุณภาพ และทนั ต่อการ เปลี่ยนแปลง ช พฒั นาระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนื่อง

การนำนโยบายและแผนไปสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษา จากการมุ่งสู่ความเปน็ เลิศทางดา้ นการวิจยั เพื่อพฒั นาองค์ความรู้เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เพ่อื ประโยชน์ตอ่ ชุมชน และสงั คม ในฐานะรองผู้อำนวยการนำนโยบายและแผนไปสู่การปฏิบตั ิในสถานศึกษา ดังนี้ ๑ จดั สรรงบประมาณเพื่อสนับสนนุ และสง่ เสรมิ งานวิจัยและสิ่งประดิษฐข์ องสถานศึกษาจำนวนไม่ เกนิ ร้อยละ ๒ งบดำเนินการของสถานศกึ ษา หรือยดึ ตามตวั บง่ ชี้ และมาตรฐานการอาชวี ศึกษา ๒ แตง่ ตั้งคณะกรรมการสง่ เสริมการวิจยั พฒั นานวัตกรรมและส่งิ ประดิษฐ์ของวิทยาลยั ๓ กำหนดหลักเกณฑ์และวธิ ีการสง่ เสริมการวิจยั พัฒนานวัตกรรมและส่งิ ประดษิ ฐ์ จดั ทำเปน็ คู่มือ เผยแพร่ภายในสถานศกึ ษา ๔ รับสมัครผูส้ นใจเสนอโครงการวิจัยเพอื่ รบั ทุนสนับสนุน ๕ พฒั นานกั วจิ ัยพี่เล้ยี งเพ่ือเปน็ พีเ่ ล้ียงให้กบั นกั วจิ ยั ร่นุ ใหม่ และมีระบบนิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล อยา่ งเปน็ รูปธรรม ๖ มีชอ่ งทางเผยแพรผ่ ลงาน และมีการประกวดผลงานมรี างวลั สนับสนนุ ๗ รว่ มมือกับชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นและหนว่ ยงานต่าง ๆ ในการนำผลงานวจิ ยั นวตั กรรมและสง่ิ ประดษิ ฐ์ไปใชง้ านใหเ้ กดิ ประโยชน์ ๘ รว่ มมือกับชุมชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินและหน่วยงานตา่ ง ๆ ในการสนบั ทุนวิจัยใหก้ ับ สถานศึกษาเพ่ือนำไปส่งเสรมิ ครบู คุ ลากร และนักศึกษาของสถานศึกษา ประเด็นที่ 4 การขับเคลอ่ื นระบบงานวิชาการ มิตกิ ารขบั เคล่อื น ๑. การขับเคลอ่ื นการจัดการศกึ ษาเพอ่ื ปวงชน (Education for All) เปน็ การจดั การศึกษาเพื่อให้ ทุกคน ทุกช่วงวัย มีโอกาสในการศึกษาของ อาชีวศึกษา เพื่อให้แต่ละบุคคลได้พัฒนา ตามความพร้อมและ ความสามารถใหบ้ รรลุขีดสงู สดุ มีความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในการดำรงชีวิต และการอยู่ ร่วมกับผู้อื่นในสังคม รวมทั้งมีสมรรถนะในการทำงานเพื่อการประกอบอาชีพตามความถนัดและความสนใจ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอันจะนำไปพัฒนา ตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ ๒. การขับเคลื่อนคุณภาพที่เป็นเลิศ (Quality) มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสได้รับ การศึกษาท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน เพื่อพฒั นาคุณลักษณะ ทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของ แต่ละบุคคลตามศักยภาพและความสามารถของแต่ละบุคคล ภายใต้ระบบเศรษฐกิจลังคมฐานความรู้ สังคม แห่งปัญญา และการสรา้ งสภาพแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ท่ีประซาซนสามารถเรียนร้ไู ด้อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอด ชีวิต มีคณุ ธรรม จริยธรรมและสามารถดำรงชีวิตไดอ้ ย่างเปน็ สขุ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓. การขับเคล่ือนด้านความเท่าเทียม เสมอภาค (Equality) สร้างโอกาสในการเข้าถึงระบบ การศกึ ษา พฒั นาแหลง่ เรียนรใู้ นสถานศึกษาด้วยระบบดิจิทัล รวมทัง้ ผู้เรียนทุกกล่มุ เป้าหมาย ทั้งกลุ่มปกติ ผู้ มีความสามารถพิเศษ ผู้มีความบกพร่องด้านตา่ ง ๆ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีภูมิหลงั ทางสงั คมหรือฐานะ ทางเศรษฐกิจทแี่ ตกต่างกนั ได้รับโอกาสและการบรกิ ารทางการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาคและเท่าเทยี ม

๔. การขับเคลื่อนด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) พัฒนานวัตกรรมทางการบรหิ าร นวัตกรรมการ จัดการเรียนการสอนของอาชีวศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล จัดให้มี ระบบการจัดสรรและใช้ทรัพยากรทางการศึกษาที่ก่อประโยชน์สูงสุดในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนให้บรรลุ ศักยภาพและขีดความสามารถของตน และส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมที่มีศักยภาพและความ พร้อมเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยเฉพาะสถานประกอบการ สถาบันและองค์กรต่าง ๆ ในสังคม และผูเ้ รียน ๕. การขับเคลื่อนเพื่อตอบโจทย์บริบทการเปลี่ยนแปลง (Relevancy) สร้างความปลอดภัยใน สถานศึกษา พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษา เพื่อสร้างการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สนองตอบและก้าวทันการเปล่ียนแปลงของ โลกศตวรรษที่ ๒๑ สามารถพัฒนาทักษะ คุณลักษณะและ สมรรถนะในการทำงานของกำลังคนใน ประเทศให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงาน สังคม และ ประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์จังหวัด ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี และยุทธศาสตร์ประเทศไทย ๔.๐ ด้วย การศกึ ษาทสี่ ร้างความม่นั คงในชีวิตของประซาซน สังคมและประเทศชาติ และการสร้างเสรมิ การเติบโตที่เป็น มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม จากทีก่ ลา่ วมาขา้ งตน้ ทัง้ หมด การนำสถานศกึ ษาภายใตต้ ำแหนง่ รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา ถือเป็น บทบาทและภารกิจหน้าที่ที่สำคัญมาก เพราะเป็นส่วนที่สำคัญในการสร้างและพัฒนากำลังอาชีวศึกษาให้มี คุณภาพ ให้มีทักษะ และการพัฒนาชุมชน สังคม ให้เกิดความเข้มแข็ง มีคุณภาพที่ดีในทุกมิติด้วยการจัด การศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อการสร้างและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพสูงไปสู่การพัฒนาประเทศใน อนาคตดงั คำกล่าวทวี่ า่ “อาชีวศกึ ษา. ฝีมือชน คนสร้างชาติ”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook