Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่-21-106217

การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่-21-106217

Published by Guset User, 2022-01-05 13:59:58

Description: การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่-21-106217

Search

Read the Text Version

การจัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 แบบฝึกทักษะโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบ ร่วมมือแบบ LT

ก คำนำ หนังสือเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา คณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วม มือ LT และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียนรู้ ผู้จัดทำขอขอบพระคุณอาจารย์ ผศ.ดร.ชวนพิศ รักษาพวก ที่ คอยให้คำแนะนำในการจัดทำหนังสือเล่มนี้ จนสำเร็จไปได้ด้วยดี ผู้จัดทำหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือ นักเรียน นักศึกษา ที่กำลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะนำหรือ ข้อมูลผิดพลาดประการใดผู้จัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

สารบัญ ข เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ความหมายของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ 1 2 เทคนิค LT แบบฝึกทักษะชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 บทที่ 1 เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000 3

เรื่อง หน้า การเปรียบเทียบจำนวนที่มีจำนวนหลักไม่เท่ากัน/เท่ากัน 4 การเชื่อมโยงจากภาพเป็นสัญลักษณ์คณิตศาสตร์ 5 กิจกรรมบทที่ 1 เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000 6 เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวนหลักไม่เท่ากัน 8 แบบทดสอบท้ายบทที่ 1 11

รูปแบบการจัดการเรียนรู้การเรียนแบบร่วมมือ 1 เทคนิค LT (Learning Together) ความหมาย การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือนับว่าเป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ โดยใช้กระบวนการกลุ่มให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทำงานร่วมกันเพื่อผล ประโยชน์และเกิดความสำเร็จร่วมกันของกลุ่ม ซึ่งการเรียนแบบร่วมมือไม่ใช่เป็น เพียงจัดให้ผู้เรียนทำงานเป็นกลุ่ม ผู้สอนทำหน้าที่สรุปความรู้ด้วยตนเองเท่านั้น แต่ผู้สอนต้องพยายามใช้ กลยุทธ์วิธีทำให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการประมวล ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการทำกิจกรรมต่างๆ จัดระบบความรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ด้วยตนเอง

2 แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

บทที่ 1 3 เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 เป็นจำนวนนับที่ไม่เกินห้าหลัก ซึ่งสามารถ เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนได้ เลขโดดที่อยู่ใน หลักต่างกันจะมีค่าต่างกัน การเขียนตัวเลขในรูปกระจายเป็นการแสดงจำนวนใน รูปการบวกค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก จำนวนสองจำนวนที่มีค่าหลายหลัก เมื่อนำมาเปรียบเทียบอาจมีค่าเท่ากัน การเรียงลำดับนวนทำได้โดย เปรียบเทียบจำนวนทีละคู่ แล้วเรียงล ำดับจำนวนจากน้อยไปมาก หรือมากไปน้อย

การเปรียบเทียบจำนวนที่มีจำนวน 4 หลักไม่เท่ากัน 8,647 มีจำนวนหลักน้อยกว่า 27,201 เพราะฉะนั้น 8,647 น้อยกว่า 27,201 หรือ 8,647 < 27,207 การเปรียบเทียบจำนวนที่มีจำนวน หลักเท่ากัน จำนวน 3,546 และ 3,435 มีจำนวนหลักเท่ากันในหลักพัน คือ 3 เท่ากัน ในหลักร้อย 5 มากกว่า 4 เพราะฉะนั้น 3,546 มากกว่า 3,435 หรือ 3,546 > 3,435

การเชื่อมโยงจากภาพเป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ 5 ตัวหนังสือ สองหมื่นสองพันสองร้อยสี่สิบห้า ตัวเลขฮินดูอารบิก 22,245 ตัวเลขไทย ๒๒,๒๔๕

กิจกรรมบทที่ 1 6 เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000

7

เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวนที่มีหลักไม่เท่ากัน 8

9

10

แบบทดสอบท้ายบทที่ 1 11 เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000

12

13

14

15

16

เสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชวนพิศ รักษาพวก รายวิชา วิชานวัตกรรมหลักสูตรและการสอนสมัยใหม่ รหัส 5002603 ผู้จัดทำ 1. นางสาวจุฑารัตน์ น้อยหา 611502106 2.นางสาวพัชรินทร์ จิตจันทึก 611502217


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook