ระเบียบวธิ ีการวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสงั คมศาสตร์ หนา้ ที่ 261 สาระสาคญั บทที่ 8 เคร่อื งมือ วิธกี ารทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ในการเรียนรู้บทน้ีมสี าระสาคัญ ดังน้ี 1. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เป็นกระบวนการท่ีมีระบบ มขี ้ันตอน ทีน่ ามาใช้ในการดาเนนิ การ ของการวจิ ยั เพ่อื ให้ได้ข้อมลู ทง้ั เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คุณภาพจากแหล่งข้อมลู ทีก่ าหนดไว้ ท่จี ะนามา วิเคราะหใ์ นการตอบปัญหาการวจิ ัยตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัยได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 2. แบบทดสอบ เป็นข้อคาถาม หรือสถานการณท์ ่ีกาหนดขึ้น เพื่อใชก้ ระตนุ้ หรือเรง่ เร้า ความสนใจให้ผ้เู รียนได้แสดงพฤติกรรมตา่ ง ๆ ของตนเอง ตามทีก่ าหนดไว้ในจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3. ขนั้ ตอนการสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนมีขนั้ ตอนในการดาเนนิ การดังนี้ 1) กาหนดจดุ มุ่งหมายของการทดสอบท่ีไดม้ าจากสรา้ งตารางการวเิ คราะห์หลักสตู ร ทจี่ าแนกให้เห็น ความสัมพันธ์ระหวา่ งองค์ประกอบย่อยท่เี ก่ียวขอ้ งกนั ได้แก่ จดุ ม่งุ หมาย เนอื้ หา กจิ กรรมหรือ ประสบการณ์ และพฤติกรรมท่เี ป็นจดุ หมายปลายทางของหลักสูตรทจี่ ะทาให้เห็นว่า สอนหรือทดสอบ ทาไม(จุดมงุ่ หมายของการเรยี นร้แู ละการทดสอบ) และสอนหรือทดสอบอะไร(เน้ือหาและนา้ หนัก ความสาคญั ) และควรดาเนนิ การสอนหรือทดสอบอยา่ งไร(วธิ กี ารสอน ส่อื และเวลาที่ใช้หรอื วิธีการสอบ รปู แบบของแบบทดสอบและเวลาท่ีใช้) 4. แบบสอบถาม เปน็ ชดุ ของคาถามที่กาหนดขึน้ เพ่อื ใชว้ ัดคุณลกั ษณะ เจตคตหิ รอื ความคดิ เห็นของบุคคล โดยใช้ข้อคาถามเปน็ ตัวกระตุ้น หรือสิ่งเร้า จาแนกเปน็ แบบสอบถาม ปลายเปิดและ แบบสอบถามปลายปิด เป็นแบบสอบถามท่ีกาหนดทั้งคาถามและตัวเลือก โดยให้ ผูต้ อบได้เลือกคาตอบจากตวั เลือกน้ัน ๆ และเป็นแบบสอบถามทใ่ี ชเ้ วลาในการสรา้ งค่อนข้างมาก แต่จะสะดวกสาหรับผตู้ อบ ซึ่งขอ้ มูลท่ไี ด้จะสามารถนาไปวิเคราะห์ไดง้ า่ ย และนาเสนอได้อยา่ งถูกต้อง ชัดเจน 5. ข้ันตอนในการสรา้ งและพัฒนาแบบสอบถาม มีขน้ั ตอนในการดาเนนิ การ ดังนี้ 1) ศกึ ษาคุณลักษณะหรือประเด็นที่ตอ้ งการ 2) กาหนดลักษณะของแบบสอบถามทเี่ หมาะสม 3) จาแนกคุณลักษณะหรือประเด็นท่ีต้องการออกเป็นประเด็นยอ่ ย ๆ 4) กาหนดคาชี้แจงในการตอบ แบบสอบถาม 5) การปรบั ปรุงแกไ้ ขร่างแบบสอบถาม 6) นาแบบทดสอบไปทดลองใช้กับ กลมุ่ ตวั อย่าง 7) ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามและ8) จัดพมิ พแ์ บบสอบถามฉบับสมบูรณ์ 6. มาตรการวัดชว่ งเท่ากนั หรือมาตราวัดทัศนคติของเทอรส์ โตน เป็นมาตรการวดั ท่เี นน้ คุณสมบัติของการวัดให้มีความเทา่ กนั โดยจาแนกชว่ งการวัดออกเปน็ 11 ช่วง โดยเร่ิมจากนอ้ ยทสี่ ุด ไปหามากที่สดุ โดยมีขน้ั ตอนการสร้าง ดังนี้ 1) กาหนดข้อความเกย่ี วกบั เจตคติท่ีต้องการใหม้ ากทสี่ ุด จากเอกสาร ผรู้ ว่ มงาน ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือจากปรากฏการณ์ทั้งเชงิ บวกและเชงิ ลบ 2)จดั ทา โครงร่างแบบมาตรการวัดทีร่ ะบุข้อความเพื่อใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญไดพ้ ิจารณาความเก่ียวข้องของขอ้ ความท่ี กาหนดกับทศั นคติท่ตี ้องการ 3) ให้ตดั ข้อความท่ไี ด้คะแนนน้อยออก 4) การหาคา่ ทางสถิตติ าม ความคิดเห็นของร่างมาตรวดั โดยใชค้ า่ มธั ยฐาน และส่วนเบย่ี งเบนควอไทล์ และ 5) การเลอื ก ขอ้ ความทีน่ ามาใช้
หน้าท่ี 262 บทที่ 8 เครือ่ งมือ วิธกี ารทใี่ ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล 7. วธิ ีการประมาณค่ารวมตามวธิ ีการของลิเคริท์ เป็นการใช้หนว่ ยความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เปน็ เกณฑใ์ นการวัดประมาณความเขม้ ของความคิดเห็นท่ีมีตอ่ สง่ิ ต่าง ๆ ท่ปี ระกอบด้วยส่วนทเี่ ป็น ส่งิ เรา้ / ขอ้ คาถาม และ ส่วนที่เปน็ การตอบสนอง โดยมีขน้ั ตอนการสร้างดังนี้ 1) กาหนดข้อความ เกี่ยวกบั เจตคติท่ีต้องการใหม้ ากทสี่ ดุ จากเอกสาร ผรู้ ่วมงานผทู้ รงคุณวุฒิ หรอื จากปรากฏการณท์ ้งั เชิงบวกและเชิงลบ ทมี่ ีความชัดเจน 2) การตรวจสอบข้อความ ที่กาหนดขึ้น 3)นาไปให้ผ้เู ช่ยี วชาญได้ พจิ ารณาเพอ่ื แก้ไขปรบั ปรุง แล้วนาไปทดลองใช้กบั กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั กลุ่มตวั อยา่ ง ท่ีตอ้ งการนามาตรการวดั ไปใช้ แลว้ นาขอ้ มูลมาคานวณหาคา่ สถติ เิ พือ่ ใชเ้ ปน็ ดัชนีบง่ ชค้ี ุณภาพของ ขอ้ ความ 8. มาตราวดั ทีใ่ ชก้ ารจาแนกความหมายของคาของออสกดู เปน็ การสรา้ งคาถามวัดเจตคติ ความรูส้ กึ หรือความคิดเหน็ ท่ีใชค้ วามหมายของคาเปน็ ส่ิงเร้าประกอบกบั ความคิดรวบยอดต่าง ๆ โดยแต่ละข้อคาถามจะมคี าคุณศัพท์ทีม่ ีความหมายตรงกันขา้ มเป็นคู่ ๆ ดังนี้ มติ ิดา้ นการประเมนิ คา่ มติ ิดา้ นศักยภาพ มิติด้านกิจกรรม โดยมหี ลกั การ ดังน้ี 1) กาหนดโครงสร้างของเจตคต/ิ ความรสู้ กึ และ ความคิดเหน็ 2) กาหนดข้อความในลกั ษณะความคิดรวบยอด 3)เลือกคาคณุ ศัพท์เปน็ คู่ทม่ี คี วามหมาย ตรงกนั ขา้ ม และ4)นามาสร้างเปน็ มาตราวัดตามรูปแบบ 9.ในกระบวนการเก็บข้อมลู มีขั้นตอนดังนี้ 1) การประสานงาน ระหวา่ งผูว้ ิจัยกบั ผใู้ ห้ข้อมูล 2) การจัดสง่ แบบสอบถาม ( ทาจดหมายนาส่ง/ขออนญุ าตหน่วยงาน จดั เตรียม ซองจดหมายในการส่งแบบสอบถามกลับ และจดั ทารหสั แบบสอบถาม ) 3) การติดตามแบบสอบถาม 10. การสมั ภาษณ์ เป็นวิธกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใช้การสนทนาอยา่ งมีจดุ ประสงคร์ ะหวา่ ง ผู้สัมภาษณ์ และผูใ้ หส้ ัมภาษณ์ เพื่อให้ได้ความรู้ความจรงิ เกย่ี วกับพฤติกรรมคุณลักษณะทต่ี ้องการ และในกรณที ่ีมีข้อสงสยั หรือคาถามใดไมช่ ดั เจนกส็ ามารถถามซา้ หรอื ทาความชัดเจนได้ทนั ที โดยมี กระบวนการสมั ภาษณ์ 3 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมสมั ภาษณ์ การสัมภาษณ์ การติดตาม การสัมภาษณ์ 11. การสังเกต เป็นวธิ กี ารการเก็บรวบรวมข้อมูลท่เี กยี่ วกับปรากฏการณห์ รือพฤติกรรมท่ี ใช้ประสาทสมั ผัสของผูส้ ังเกต ท่จี ะตอ้ งใช้ประสาทสัมผัสทั้งหา้ การตีความพฤติกรรม การบันทึกข้อมูล อย่างรวดเร็ว ละเอียด และจะต้องไมม่ ีอคตติ ่อการสรุปขอ้ มูลท่ไี ดร้ ับ โดยมีขัน้ ตอนในการสัมภาษณ์ ดังน้ี 1)ข้นั การเตรยี มการ( กาหนดประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง จดั เตรียมแบบสงั เกต และวสั ดุอปุ กรณ์ ประสานงานกบั บคุ คล ชุมชน หรือหนว่ ยงานในพนื้ ที่ จัดฝกึ อบรมผู้สังเกตและจัดเตรยี มค่าใช้จา่ ย) 2) ขน้ั การดาเนินการ ( พดู คยุ หรอื แนะนาตนเอง สงั เกตสภาพแวดลอ้ มและดาเนินการสงั เกต แบบเจาะลกึ กับข้อมลู ที่เฉพาะเจาะจง) 3) ข้ันการจดบนั ทึกข้อมูล และ 4) ขัน้ การสิ้นสุดการสงั เกต 12.องคป์ ระกอบท่ีมีผลต่อการเลือกเคร่ืองมือในการวิจยั มดี ังน้ี 1) คาถามการวจิ ัย 2) กรอบ แนวคิดเชิงทฤษฏี 3) ระเบยี บวิธีวจิ ยั 4) หน่วยการวิเคราะห์ 5) ขนาดของกลุ่มตวั อย่าง/ประชากร และ6) คุณสมบตั ิของกลุม่ ตวั อย่าง/ประชากร “แม้วา่ การคน้ พบความรู้-ความจรงิ เป็นส่ิงทดี่ ี แต่การเคารพ ในความเป็นปัจเจกบุคคลย่ิงดีกว่า แมว้ ่าในทสี่ ดุ จะทาให้ พลาดโอกาสทจ่ี ะพบคาตอบที่ม่งุ แสวงหาก็ตาม” (Cavan อ้างองิ ใน Cohen and Manion,1994 :359)
ระเบียบวธิ กี ารวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หนา้ ท่ี 263 คาถามเชิงปฏบิ ัตกิ ารบทที่ 8 เครื่องมือ วิธกี ารท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล คาชี้แจง ให้ตอบคาถามจากประเด็นคาถามที่กาหนดให้อยา่ งถูกค้องและชดั เจน 1. ใหร้ ะบคุ วามสาคัญของการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลที่มีต่อการวิจัย 2. ลักษณะของข้อมลู ท่ีดีมีอะไรบา้ ง อย่างไร 3. ใหท้ า่ นเปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่างข้อมูลจากแหลง่ ปฐมภูมิ และจาก แหลง่ ทุตยิ ภมู ิ 4. ใหท้ า่ นอธบิ ายความหมาย ลักษณะ การใชแ้ ละขัน้ ตอนการสรา้ งของเคร่อื งมือ วิธีการ ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 4.1 แบบทดสอบ/การทดสอบ 4.2 แบบสอบถาม 4.3 การสมั ภาษณ์ 4.4 การสงั เกต 5. ให้ทา่ นไดศ้ ึกษางานวจิ ยั 1 เรื่อง แล้วใหพ้ ิจารณาในสว่ นของเครื่องมือ วธิ กี ารที่ใช้ใน การเกบ็ รวบรวมข้อมูลวา่ มีอะไรบ้าง แล้วถ้าให้ท่านไดเ้ พิม่ เติมเคร่ืองมือ วธิ ีการทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวม ข้อมูล ท่านจะเลือกใชเ้ ครื่องมอื วธิ กี ารอะไร อย่างไร 6. ทา่ นจะใชว้ ธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณใ์ นกรณีใดบ้าง 7. ทา่ นมขี นั้ ตอนในการใช้การสมั ภาษณ์เพ่ือเก็บรวบรวมขอ้ มูลอย่างไร 8. การใช้ “การสังเกต” มีวิธกี ารดาเนนิ การอยา่ งไร เพ่ือให้ได้รับผลการสงั เกตทีม่ ีคุณภาพ 9. คุณสมบัตขิ องผู้สงั เกตทจ่ี ะชว่ ยใหก้ ารเก็บรวบรวมข้อมูลมีประสทิ ธภิ าพว่ามีอะไรบ้าง อยา่ งไร 10. ใหท้ า่ นเปรยี บเทียบ “การสงั เกตแบบมสี ่วนร่วมและไม่มีส่วนรว่ ม” 11. จากวัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัยให้ระบเุ ครื่องมือ วธิ กี ารท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู 11.1 เพ่ือศึกษาเจตคติของประชาชนที่มตี อ่ การเลือกต้ังสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร์ 11.2 เพือ่ ศกึ ษาความคดิ สร้างสรรค์ของวยั รุ่น 11.3 เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั ศึกษาทีม่ ีต่อการให้บรกิ ารลงทะเบียน 11.4 เพ่อื เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าคณิตศาสตรข์ องนกั เรียน 11.5 เพอื่ ศึกษาความคิดเหน็ ของภรรยาที่มีสามเี ปน็ โรคเอดส์ 11.6 เพ่ือศึกษาพฤติกรรมกลมุ่ ของสมาชิกในสหกรณ์แหง่ หน่ึง
Search