บรรยายสรุปจงั หวดั ลําปาง 1 ประวัติจังหวัดลําปาง จังหวัดลําปาง เป็นจังหวัดท่ีมีอายุเก่าแก่ไม่น้อยกว่า 1,300 ปี มีชื่อเรียกขานกันหลายช่ือ ซึ่งปรากฏหลักฐานตามตํานานต่าง ๆ รวม 11 ชื่อ ได้แก่ กุกกุฏนคร ลัมภกับปะนคร ศรีนครชัย นครเวียงคอกวัว เวียงดิน เขลางค์นคร นครลําปางคําเขลางค์ อาลัมภางค์ เมืองลคร และ เมืองนครลําปาง จากการที่เรียกขานกันว่า “กุกกุฏนคร” แปลว่าเมืองไก่ ดังนนั้ ตราประจําจงั หวดั ลําปาง คอื “ไกข่ าว” จังหวัดลําปาง สรา้ งเมอื่ พ.ศ.1223 จากหนงั สอื พงศาวดารโยนกกล่าวว่า “สุพรหมฤาษี” สร้างเมืองเพือ่ ให้ เจ้าอนนั ตยศ โอรสพระนางจามเทวี ครองคูก่ ับเมอื งหริภุญชยั (ลําพนู ) ให้ชื่อเมอื ง ว่า “นครเขลางค์” ต่อมาเปลี่ยนเป็น “นครอัมภางค์” และเปล่ียนช่ือเป็น “นครลําปาง” ในภายหลัง ในสมัยโยนกเชียงแสน นครลําปางเคยตกอยู่ ภายใต้อํานาจของขอม เคยเป็นเมืองประเทศราชของ พม่าและเมืองเชียงใหม่ ในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี “เจ้าทิพย์ช้าง” สามารถขับไล่พวกพม่าออกจาก เมืองลําปางได้สําเร็จ จึงได้รับการสถาปนาเป็น “พระยาสุวลือไชยสงคราม” ข้ึนครองนครลําปาง ในปี พ.ศ.2279 ในปี พ.ศ.2307 “เจ้าแก้วฟ้า” พระโอรสของ เจ้าทิพย์ช้างได้ข้ึนครองนครลําปาง และเป็นต้นตระกูล ณ ลําปาง ณ ลําพูน รวมท้ัง ณ เชียงใหม่ ในเวลาต่อมา และมี “เจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต” เป็นผู้ครองนคร ลาํ ปางองคส์ ดุ ทา้ ย จังหวัดลําปางได้ประกาศจัดตั้งเป็นจังหวัด ในปี พ.ศ.2435 (สมัยรัชกาลที่ 5) โดย ข้ึนอยู่กับมณฑลพายัพสมัยหน่ึง (พ.ศ.2443) ต่อมาแยกเป็นมณฑลมหาราษฎร์ ในปี พ.ศ.2458 ซึ่งในเวลาต่อมาได้มีประกาศยกเลิกมณฑลทั่วราชอาณาจักร ลําปางจึงมีฐานะเป็น “จงั หวดั ลําปาง” ตามพระราชบญั ญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการอาณาจกั รสยาม พ.ศ.2476 กลมุ งานขอมูลสารสนเทศและการสอ่ื สาร สาํ นักงานจังหวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลาํ ปาง 2 ข้อมูลทั่วไปจังหวัดลาํ ปาง ตราประจาํ จังหวดั ลาํ ปาง รปู ไกข่ าวยืนอย่ใู นซมุ้ มณฑปพระธาตุลาํ ปางหลวง หมายถึง ไก่เผอื ก เปน็ สัญลกั ษณ์ที่มมี าต้ังแต่สมัยเมืองกุกกุฏนคร (ตํานานเมืองลําปาง) และได้กลายเป็นสัญลักษณ์สําคัญ โดยปรากฏเคร่ืองหมายไก่เผือกคู่กับดวงตราแผ่นดินใน ศาลากลางเมืองลําปาง ต้ังแต่สมัยเร่ิมเปล่ียนที่ทําการเมืองจาก \"เค้าสนามหลวง\" เป็นศาลากลาง เมอื งนครลาํ ปางข้นึ ในสมยั เริ่มสรา้ งศาลากลางหลงั แรก เมื่อ พ.ศ. 2452 ซุ้มมณฑปที่วัดพระธาตุลําปางหลวง เป็นศิลปกรรมล้านนาที่งดงามมาก วัดพระธาตุ ลาํ ปางหลวง เป็นวดั คู่บ้านคู่เมืองลําปาง มีองค์พระเจดยี ์ที่บรรจุพระบรมเกษาธาตุของพระพุทธเจ้า เปน็ ที่เคารพสักการะของพทุ ธศาสนกิ ชนทัว่ โลก ดอกไม้ประจาํ จงั หวดั ชอ่ื ดอกไม้ ดอกธรรมรักษา ตน้ ไม้ประจาํ จงั หวัด ช่ือพรรณไม้ กระเจา หรอื ขะจาว ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Holoptelea integrifolia กลุมงานขอ มลู สารสนเทศและการส่ือสาร สํานักงานจังหวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลาํ ปาง 3 คําขวัญของจงั หวัดลาํ ปาง \"ถ่านหนิ ลอื ชา รถม้าลือลัน่ เครื่องปนั้ ลอื นาม งามพระธาตลุ อื ไกล ฝกึ ชา้ งใช้ลอื โลก\" ถา่ นหนิ ลือชา รถม้าลือลน่ั เคร่ืองปน้ั ลือนาม งามพระธาตลุ ือไกล ฝกึ ชา้ งใช้ลือโลก กลมุ งานขอ มูลสารสนเทศและการสื่อสาร สาํ นกั งานจงั หวดั ลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จังหวดั ลาํ ปาง 4 สภาพทวั่ ไป แผนที่จังหวดั ลาํ ปาง ที่ตั้งและอาณาเขต จังหวัดลําปาง ตั้งอยู่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพฯ ตามทางหลวงแผ่นดินสายพหลโยธิน ประมาณ 602 กม. ตามทางรถไฟประมาณ 625 กม. มีเนื้อที่ประมาณ 12,533.961 ตร.กม. หรือประมาณ 7,833,726 ไร่ มีพื้นท่ีใหญ่ เป็นอันดับ 5 ของภาคเหนือ รองจากเชียงใหม่ ตาก แม่ฮ่องสอน และ เพชรบูรณ์ มีอาณาเขตติดต่อกบั จงั หวัดข้างเคยี งถงึ 7 จังหวดั ดงั นี้ ทศิ เหนือ ติดต่อกบั จงั หวดั เชียงใหม่ เชียงรายและพะเยา ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั จงั หวัดตาก ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กับ จงั หวดั แพร่ และสุโขทัย ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั จังหวดั ลําพนู สภาพภมู ปิ ระเทศ จังหวัดลําปาง อยู่สูงจากระดับนํ้าทะเล 268.80 เมตร พ้ืนที่มีลักษณะเป็นรูปยาวรี ภูมิประเทศ โดยท่ัวไปเป็นทรี่ าบสูง มภี เู ขาสูงอยู่ท่วั ไป ทอดตวั ยาวตามแนวทิศเหนือไปทางทิศใต้ของจังหวัด และในบริเวณ ตอนกลางของจังหวัดบางส่วนมีท่ีราบลุ่มริมฝั่งแม่นํ้า และตามลักษณะทางกายภาพทางด้านธรณีสัณฐานวิทยา จังหวัดลําปางมีพ้ืนที่เป็นท่ีราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีลักษณะเป็นแอ่งแผ่นดินท่ียาวและกว้างท่ีสุดในภาคเหนือ เรยี กวา่ “อ่างลําปาง” ลักษณะภมู ิประเทศแบง่ ออกเปน็ 3 ลักษณะ คือ บริเวณตอนบนของจังหวัด เป็นที่ราบสูง ภูเขา และเป็นป่าค่อนข้างทึบ อุดมสมบูรณ์ด้วยไม้มีค่า ไดแ้ ก่ พนื้ ทอ่ี ําเภอเมอื งปาน แจ้หม่ วังเหนอื และงาว บริเวณตอนกลางของจังหวัด เป็นที่ราบและที่ราบลุ่มริมฝ่ังแม่นํ้า ซึ่งเป็นแหล่งเกษตรกรรมที่สําคัญ ของจังหวัด ไดแ้ ก่ พ้ืนที่อาํ เภอห้างฉัตร เมืองลําปาง เกาะคา แม่ทะ และสบปราบ บริเวณตอนใต้ของจังหวัด เป็นป่าไม้รัง บางส่วนเป็นทุ่งหญ้า ได้แก่ พื้นท่ีอําเภอเถิน แม่พริก บางส่วนของอําเภอเสรมิ งาม และแม่ทะ สภาพภมู อิ ากาศ จากลักษณะพ้ืนท่ีของจังหวัดท่ีเป็นแอ่งคล้ายก้นกระทะ จึงทําให้อากาศร้อนอบอ้าวเกือบตลอดปี ฤดูร้อนร้อนจัด และหนาวจัดในฤดูหนาว โดยมีอุณหภูมิสูงสุด 43.1 องศาเซลเซียส เม่ือวันท่ี 6 และ 8 เมษายน 2553 ณ สถานีตรวจวัดอําเภอเถิน และมีอุณหภูมิต่ําสุด 6.3 องศาเซลเซียส เมื่อวันท่ี 24 มกราคม 2554 ณ สถานตี รวจวัดอาํ เภอเถนิ และในปี 2554 ปรมิ าณน้าํ ฝนสะสมวัดได้ 1,852.7 มิลลเิ มตร (ณ สถานตี รวจวดั นาํ้ ฝนอําเภอเมืองลาํ ปาง) ลกั ษณะภูมอิ ากาศ แบ่งออกได้เปน็ 3 ฤดู คือ ฤดูรอ้ น เรมิ่ ประมาณต้นเดือน มนี าคม จนถึงกลางเดือน พฤษภาคม อากาศจะรอ้ นอบอ้าว ชว่ ง ทีม่ ีอากาศรอ้ นทีส่ ดุ คือ เดือนเมษายน ฤดฝู น เร่มิ ประมาณกลางเดอื น พฤษภาคม ฤดหู นาว เร่มิ ประมาณเดอื น พฤศจิกายน จนถงึ เดือน กุมภาพันธ์ อากาศจะหนาวเย็น ช่วงท่มี อี ากาศหนาวจัด คอื เดอื นมกราคม กลมุ งานขอมูลสารสนเทศและการสอื่ สาร สํานักงานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวัดลาํ ปาง 5 ประชากร ปี 2554 จงั หวัดลําปางมีประชากร จํานวน 757,534 คน เป็นชาย 373,104 คน หญงิ 384,430 คน อําเภอท่มี ีประชากรมากที่สดุ ได้แก่ อาํ เภอเมืองลําปาง รองลงไป คอื อาํ เภอเกาะคา เถิน และแมท่ ะ ปี ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) 2554 373,104 384,430 757,534 2553 375,342 386,607 761,949 2552 376,892 387,606 764,498 2551 378,744 388,871 767,615 2550 380,361 390,252 770,613 โดยมปี ระชากรแยกตามพืน้ ที่ ดงั น้ี ลาํ ดบั ท่ี อําเภอ จาํ นวน จาํ นวนประชากร ครวั เรือน ชาย หญงิ รวม 112,214 120,007 232,221 ๑ เมอื งลําปาง 93,975 25,886 30,562 56,448 29,237 31,469 60,706 เทศบาลนครลําปาง 26,770 6,086 6,605 12,691 4,208 4,503 8,711 เทศบาลเมอื งเขลางค์นคร 22,890 46,797 46,868 93,665 19,793 19,635 39,428 เทศบาลตาํ บลพชิ ัย 5,744 7,875 8,032 15,907 11,918 11,603 23,521 เทศบาลตําบลบอ่ แฮว้ 3,528 29,922 31,601 61,523 2,230 2,555 4,785 นอกเขตเทศบาล 35,043 4,729 4,874 9,603 4,650 4,950 9,600 ๒ แม่เมาะ 15,751 18,313 19,222 37,535 16,173 15,876 32,046 เทศบาลตําบลแมเ่ มาะ 7,645 4,416 4,461 8,877 11,757 11,415 23,172 นอกเขตเทศบาล 8,106 28,403 28,400 56,803 2,247 2,506 4,753 ๓ เกาะคา 21,130 26,156 25,894 52,050 20,359 20,573 40,932 เทศบาลตาํ บลเกาะคา 2,279 1,957 2,056 4,013 18,402 18,517 36,919 เทศบาลตําบลนาแกว้ 3,008 เทศบาลตําบลลําปางหลวง 3,247 นอกเขตเทศบาล 12,596 ๔ เสริมงาม 9,780 เทศบาลตาํ บลเสรมิ งาม 2,787 นอกเขตเทศบาล 6,993 ๕ งาว 18,515 เทศบาลตําบลหลวงเหนือ 2,102 นอกเขตเทศบาล 16,413 ๖ แจห้ ม่ 13,693 เทศบาลตาํ บลแจ้ห่ม 1,593 นอกเขตเทศบาล 12,100 กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการส่ือสาร สํานกั งานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวดั ลําปาง 6 ลาํ ดบั ที่ อําเภอ จาํ นวน จํานวนประชากร ครัวเรือน ชาย หญงิ รวม ๗ วังเหนือ 22,497 21,923 44,450 เทศบาลตําบลวงั เหนอื 14,818 1,081 1,151 2,232 เทศบาลตาํ บลบา้ นใหม่ 1,025 1,372 1,344 2,716 นอกเขตเทศบาล 20,044 19,428 39,472 848 30,087 30,953 61,040 ๘ เถิน 12,945 5,163 5,184 10,347 เทศบาลตําบลเวียงมอก 20,034 7,246 8,091 15,337 เทศบาลตําบลลอ้ มแรด 3,348 17,678 17,678 35,356 นอกเขตเทศบาล 6,223 8,271 8,528 16,799 10,463 1,173 1,308 2,481 ๙ แมพ่ รกิ 5,220 2,056 2,174 4,230 เทศบาลตําบลแมพ่ ริก 5,042 5,046 10,088 เทศบาลตําบลแม่ปุ 911 30,196 30,340 60,536 นอกเขตเทศบาล 1,275 4,098 4,260 8,358 3,034 5,002 5,133 10,135 ๑๐ แม่ทะ 20,195 3,515 3,463 6,978 เทศบาลตําบลปา่ ตนั นาครัว 2,653 2,472 2,357 4,829 เทศบาลตาํ บลนํ้าโจ้ 3,243 15,109 15,127 30,236 เทศบาลตาํ บลแม่ทะ 2,750 13,730 14,109 27,839 เทศบาลตําบลสิริราช 1,491 2,744 3,056 5,800 นอกเขตเทศบาล 10,058 10,986 11,053 22,039 8,189 24,402 25,720 50,122 ๑๑ สบปราบ 1,930 1,408 1,591 2,999 เทศบาลตาํ บลสบปราบ 6,259 22,994 24,129 47,123 นอกเขตเทศบาล 18,513 17,057 16,765 33,822 1,180 17,057 16,765 33,822 ๑๒ ห้างฉัตร 17,333 373,104 384,430 ๗57,534 เทศบาลตาํ บลห้างฉัตร 10,494 นอกเขตเทศบาล 10,494 ๒๗๐,307 ๑๓ เมอื งปาน นอกเขตเทศบาล รวม แหลง่ ท่ีมา : ทท่ี าํ การปกครองจังหวดั ลาํ ปาง ข้อมลู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ทรัพยากรธรรมชาติ จังหวัดลาํ ปาง มที รัพยากรธรรมชาติท่หี ลากหลาย ทั้งทรัพยากรปา่ ไม้และทรพั ยากร แร่ธาตุ ทรัพยากรป่าไม้ จังหวัดลําปางมีเนื้อที่ป่าไม้ แยก เป็นป่าสงวนแห่งชาติ จํานวน ๓๓ ป่า อุทยานแห่งชาติ ๖ แห่ง อทุ ยานแหง่ ชาติ (เตรยี มการ) ๑ แห่ง และเขตรักษาพนั ธุส์ ัตว์ป่า ๑ แหง่ ตามรายละเอียด ดังน้ี กลมุ งานขอมูลสารสนเทศและการส่ือสาร สํานกั งานจงั หวดั ลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวดั ลาํ ปาง 7 • ปา่ สงวนแห่งชาติ จาํ นวน ๓๓ ป่า เน้อื ที่ ๕,๖๐๐,๖๓๔.๕๐ ไร่ ลาํ ดบั ที่ ชื่อ อาํ เภอ เนอื้ ท่ี (ไร่) กฎกระทรวง ฉบบั ท/ี่ พ.ศ. 1. ปา่ แม่ปา้ ย แจ้ห่ม 26,875.00 56.25 26/2501 2. ป่าแมต่ ง๋ั แมพ่ ริก 94/2505 106,968.75 102/2505 3. ปา่ แม่จาง เมือง - แม่ทะ - แมเ่ มาะ 40,625.00 104/2505 142,625.00 209/2507 4. ปา่ แม่สะเลยี ม เกาะคา - สบปราบ 140,625.00 79/2508 181,913.00 2 พ.ย.๒๕๕๐ 5. ปา่ แม่เลิม - ปา่ แม่ปะ เถิน 120,350.00 359/2511 203,130.00 466/2515 6. ปา่ แมท่ รายคํา แจห้ ม่ - เมือง 215,000.00 499/2515 294,000.00 518/2515 7. ปา่ แม่เมาะ แมเ่ มาะ 168,521.00 552/2516 395,000.00 560/2516 8. ป่าดอยขนุ ตาล ห้างฉตั ร 122,400.00 610/2516 9. ป่าแม่พริก แมพ่ ริก 53,125.00 620/2516 262,500.00 692/2517 10. ปา่ แมจ่ าง (ตอนขุน) แมเ่ มาะ 402,332.50 722/2518 235,494.00 739/2518 11. ปา่ แมง่ าวฝงั่ ซา้ ย งาว 67,312.00 747/2518 242,000.00 767/2518 12. ปา่ แม่แจ้ฟา้ แจห้ ่ม 213,250.00 772/2518 96,875.00 799/2521 13. ปา่ แมส่ ุก-แมส่ อย แจห้ ม่ -เมืองปาน 250,306.00 866/2522 164,234.00 935/2524 14. ป่าแมจ่ างใตฝ้ ง่ั ซา้ ย เกาะคา - แมท่ ะ 76,000.00 954/2524 15. ป่าแม่ไฮ เกาะคา - แม่ทะ - สบปราบ 84,812.00 973/2525 84,843.00 1053/2527 16. ปา่ แม่ยาง-แมอ่ าง เมอื ง 168,750.00 1066/2527 191,538.00 1078/2527 17. ป่าแมง่ าวฝัง่ ขวา งาว - แมเ่ มาะ 108,125.00 1080/2527 486,094.00 1104/2508 18. ปา่ แม่เรียง เสริมงาม - เกาะคา 179,395.00 1110/2528 19. ป่าแม่จางฝง่ั ซา้ ย แมท่ ะ 75,560.00 1189/2529 5,600,634.50 20. ป่าแม่ตา๋ - แมม่ าย เมือง - แจห้ ่ม 21. ปา่ แม่เสริม เสรมิ งาม 22. ป่าแมว่ ะ แมพ่ รกิ 23. ป่าแมโ่ ป่ง งาว 24. ป่าขนุ วังแปลงที่ 1 วังเหนอื 25. ป่าแม่ตุ๋ยฝ่งั ขวา เมือง - เมอื งปาน 26. ป่าแม่ยาว หา้ งฉัตร - เกาะคา 27. ป่าแม่ปราบ สบปราบ 28. ป่าแมอ่ าบ เถนิ 29. ปา่ ขนุ วังแปลงท่ี 2 วงั เหนือ 30. ปา่ แมท่ าน สบปราบ 31. ปา่ แมม่ อก เถนิ 32. ปา่ ขนุ วงั แปลงท่ี 3 วงั เหนือ 33. ปา่ แม่ตยุ๋ ฝัง่ ซ้าย เมือง - เมืองปาน รวม กลมุ งานขอมูลสารสนเทศและการสอื่ สาร สาํ นักงานจังหวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลําปาง 8 • อทุ ยานแห่งชาติ จํานวน ๗ แหง่ ที่ อุทยานแหง่ ชาติ ทีต่ ้งั เนื้อทีท่ ้ังหมด เน้ือทอี่ ยใู่ น (ไร)่ จ.ลาํ ปาง (ไร)่ 1 แจซ้ อ้ น อ.เมืองปาน จ.ลาํ ปาง 480,000 2 ขนุ ตาล อ.ห้างฉตั ร จ.ลาํ ปาง - จ.ลําพูน 480,000 120,350 3 เวียงโกศยั จ.แพร,่ อ.เถิน - สบปราบ -แมท่ ะ 159,556.25 167,912 4 แม่ยม จ.แพร,่ อ.งาว 256,250.00 5 ดอยหลวง จ.เชียงราย, อ.วงั เหนอื 284,218.75 7,675 6 แมว่ ะ จ.ตาก, อ.เถิน- แม่พริก 731,250.00 187,278 7 ถํ้าผาไท (เตรียมการ) อ.งาว - แจห้ ม่ - แม่เมาะ 364,173.00 264,173 รวม 758,750.00 758,750 3,034,198 1,986,138 • เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ ่า จาํ นวน ๑ แหง่ ท่ี เขตรักษาพนั ธ์ุสตั วป์ า่ ท่ีตัง้ เนอ้ื ทีท่ ้ังหมด (ไร)่ เน้ือทอี่ ยใู่ น 364,449 จ.ลําปาง (ไร)่ 1 ดอยผาเมือง จ.ลําพนู - อ.หา้ งฉัตร 86,984 • วนอทุ ยานแหง่ ชาติ จํานวน ๑ แหง่ ที่ วนอุทยานแหง่ ชาติ ทตี่ ้งั เนื้อที่ทั้งหมด (ไร)่ เนื้อที่อยใู่ น จ.ลาํ ปาง (ไร)่ 1 มอ่ นพระยาแช่ ท้องที่ ต.พิชัย อ.เมืองลาํ ปาง 18,579 - 0 - 00 18,579-0-00 แหลง่ ทม่ี า : สํานกั งานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มจังหวดั ลําปาง และ สาํ นกั จดั การทรพั ยากรป่าไมท้ ่ี ๓ ลําปาง (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔) กลุม งานขอมลู สารสนเทศและการสอ่ื สาร สาํ นกั งานจังหวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จังหวดั ลําปาง 9 ทรัพยากรแร่ธาตุ มีหลายชนิดล้วนเป็นวัตถุดิบท่ีสําคัญในทางอุตสาหกรรมท้ังส้ิน ประกอบด้วย ถา่ นหนิ ลกิ ไนต์ ดนิ ขาว หนิ ออ่ น หนิ แกรนิต บอลเคย์ไลท์ พลวงและวลุ แฟรม ประเภทแรธ่ าตุ ปรมิ าณสํารอง(ลา้ นตัน) ระยะเวลาการขุดใช้ (ปี) - ถา่ นหนิ ลิกไนต์ 1,544 50 - แร่ดินขาว 107 147 - หินปูน 320 53 เหมืองแมเ่ มาะ อาํ เภอแมเ่ มาะ จังหวดั ลาํ ปาง โรงไฟฟ้าแมเ่ มาะ อาํ เภอแม่เมาะ จังหวดั ลาํ ปาง กลุมงานขอมลู สารสนเทศและการสือ่ สาร สาํ นกั งานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จังหวดั ลาํ ปาง 10 สภาพการเมืองและการปกครอง การเมือง / การเลอื กตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา 1. ขอ้ มูลการเลอื กตัง้ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร เมอ่ื วนั ที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ จังหวัดลําปางแบ่งเขตการเลือกต้ังเป็น ๔ เขต มีหน่วยเลือกตั้ง จํานวน ๑,๒๑๓ หน่วย ผู้มีสิทธิ เลือกตั้ง ๖๐๕,๑๕๖ คน แบ่งเป็นเขตเลือกต้ังท่ี ๑ จํานวน ๑๔๕,๒๑๙ คน เขตเลือกต้ังท่ี ๒ จํานวน ๑๔๕,๐๕๑ คนเขตเลือกต้ังท่ี ๓ จํานวน ๑๕๕,๑๘๖ คน เขตเลือกตั้งที่ ๔ จํานวน ๑๕๙,๗๐๐ คน โดยมี ผูส้ มคั รสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร จํานวน ๒๘ คน จาก ๑๐ พรรคการเมอื ง การใชส้ ทิ ธเิ ลือกตง้ั การเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบง่ เขตเลอื กตั้ง มผี มู้ าใช้สิทธเิ ลือกตั้งตามเขตเลือกตัง้ ดังนี้ การใชส้ ทิ ธลิ งคะแนนเลือกตงั้ เขตเลอื กตั้ง ผ้มู สี ทิ ธิ ผ้มู าใชส้ ทิ ธิ บตั รเสีย บตั รไมป่ ระสงคล์ งคะแนน จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ 1 145,219 118,524 81.62 7,065 5.96 7,350 3.20 2 145,051 115,630 79.72 9,564 8.27 3,561 3.08 3 155,186 127,475 82.14 8,432 6.61 5,595 4.39 4 159,700 125,158 78.37 8,739 6.98 3,627 2.90 รวม 605,156 486,787 80.44 33,800 6.94 20,133 4.14 การเลอื กตง้ั ส.ส. แบบบญั ชรี ายช่ือ มผี มู้ าใช้สิทธเิ ลือกตั้งตามเขตเลือกตงั้ ดังนี้ การใชส้ ทิ ธลิ งคะแนนเลือกตงั้ เขตเลือกตง้ั ผ้มู สี ทิ ธิ ผมู้ าใชส้ ทิ ธิ บตั รเสีย บตั รไมป่ ระสงคล์ งคะแนน จํานวน ร้อยละ จาํ นวน รอ้ ยละ จาํ นวน รอ้ ยละ 1 145,219 118,524 81.62 6,347 5.36 3,887 3.28 2 145,051 115,630 79.72 9,364 8.10 1,745 1.51 3 155,186 127,475 82.14 9,214 7.23 3,277 2.57 4 159,700 125,158 78.37 10,897 8.71 2,178 1.74 รวม 605,156 486,787 80.44 35,822 7.36 11,087 2.28 ผลการเลอื กต้ัง ผลการเลือกต้งั สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร แบบแบง่ เขตเลือกตั้ง แยกตามเขตเลอื กตงั้ เขตเลอื กตงั้ ที่ 1 ผสู้ มคั รเลอื กต้ังท่ไี ด้รับคะแนนสูงสุดเรียงลาํ ดบั ตามคะแนนทไ่ี ด้รบั ๓ ลาํ ดบั แรก มีดังน้ี หมายเลข ชือ่ ผ้สู มคั ร พรรค ผลคะแนน ๑ นายสมโภช สายเทพ เพื่อไทย 69,684 10 นางขนิษฐา นิภาเกษม 33,120 2 นายพิทยุต ณ ลําปาง 608 กลมุ งานขอ มูลสารสนเทศและการสื่อสาร สํานกั งานจังหวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จังหวดั ลาํ ปาง 11 เขตเลือกตง้ั ที่ ๒ ผูส้ มัครเลือกตง้ั ทไ่ี ดร้ ับคะแนนสงู สุดเรียงลําดบั ตามคะแนนทีไ่ ด้รบั ๓ ลาํ ดับแรก มีดังนี้ หมายเลข ชือ่ ผ้สู มคั ร พรรค ผลคะแนน ๑ นายวาสิต พยคั ฆบุตร เพื่อไทย 50,453 ๒๑ นายณฤธร ถาคําฟู ชาตไิ ทยพฒั นา 26,136 ๑๐ นายมธั ยม นภิ าเกษม ประชาธปิ ัตย์ 24,934 เขตเลอื กตัง้ ท่ี ๓ ผสู้ มคั รเลือกตง้ั ทไี่ ดร้ ับคะแนนสูงสดุ เรยี งลาํ ดบั ตามคะแนนที่ได้รบั ๓ ลําดบั แรก มีดงั นี้ หมายเลข ชื่อผ้สู มคั ร พรรค ผลคะแนน ๑ นายจรัสฤทธิ์ จนั ทรสุรนิ ทร์ เพอ่ื ไทย 73,901 ๑๐ นายเชาวยทุ ธ เชาว์กติ ติโสภณ ประชาธปิ ัตย์ 31,557 ๓ นายนคร โยธาวงศ์ ชาตไิ ทยพฒั นา 5,701 เขตเลือกต้งั ท่ี ๔ ผสู้ มัครเลอื กตงั้ ทไี่ ด้รบั คะแนนสงู สุดเรียงลาํ ดบั ตามคะแนนท่ไี ด้รับ ๓ ลาํ ดับแรก มดี ังน้ี หมายเลข ชอ่ื ผู้สมคั ร พรรค ผลคะแนน ๑ นายอิทธิรัตน์ จนั ทรสุรนิ ทร์ เพือ่ ไทย 74,160 ๑๐ นายนิคม เชาว์กติ ตโิ สภณ ประชาธปิ ตั ย์ 37,308 ๑๙ นางศิริจนั ทร์ สทิ ธิกนั พรรคเครอื ขา่ ยชาวนา 595 แห่งประเทศไทย ผลการเลอื กต้ังสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร แบบบญั ชีรายชอ่ื ผลการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบญั ชีรายชอื่ ท้งั ๔ เขตเลือกตั้ง พรรคการเมอื งทไี่ ดร้ ับ คะแนนสงู สดุ เรียงลาํ ดบั ตามคะแนนทไี่ ดร้ บั ๕ ลําดบั แรก มีดงั น้ี พรรค ผลคะแนน ๑. เพอ่ื ไทย 281,201 ๒. ประชาธปิ ตั ย์ 115,743 ๓. ชาตไิ ทยพัฒนา 14,958 ๔. รกั ประเทศไทย 10,034 ๕. รกั ษ์สนั ติ 2,795 2. การเลอื กตั้งสมาชกิ วฒุ ิสภา เมอื่ วันอาทติ ยท์ ี่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๑ จงั หวัดลําปางมผี ูล้ งสมัครสมาชกิ วฒุ ิสภา จาํ นวน ๑ คน มจี ํานวนผ้มู สี ิทธิเลอื กตงั้ ๕๖๙,๙๒๓ คน ผู้มาใชส้ ทิ ธิ จาํ นวน ๔๐๓,๑๒๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๗๐.๗๓ ผลการเลือกตง้ั สมาชกิ วฒุ สิ ภา ไดแ้ ก่ นายพรี ะ มานะทศั น์ ทม่ี า : สาํ นักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ จงั หวัดลาํ ปาง กลุมงานขอมูลสารสนเทศและการส่อื สาร สาํ นักงานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลาํ ปาง 12 การปกครอง จงั หวัดลําปางแบ่งออกเป็น 13 อําเภอ 100 ตําบล 931 หมู่บ้าน 104 ชุมชน (เฉพาะชุมชนในเขต เทศบาลนครลําปาง 41 ชุมชน และเทศบาลเมืองเขลางค์นคร 63 ชุมชน) 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 เทศบาลนคร 1 เทศบาลเมือง 39 เทศบาลตาํ บล 62 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาํ บล ตามรายละเอยี ดดงั นี้ ลําดบั ที่ อาํ เภอ ตําบล หมบู่ า้ น ชมุ ชน เทศบาล อบต 1 เมืองลําปาง 19 144 104 5 10 2 แมเ่ มาะ 5 44 4 3 เกาะคา 9 78 -1 2 4 เสรมิ งาม 4 42 -8 2 5 งาว 10 85 -3 8 6 แจ้หม่ 7 64 -2 5 7 วังเหนอื 8 80 -3 8 8 เถิน 8 95 -2 4 9 แมพ่ รกิ 4 30 -4 1 10 แม่ทะ 10 94 -3 6 11 สบปราบ 4 46 -4 4 12 ห้างฉัตร 7 73 -1 4 13 เมอื งปาน 5 56 -4 4 รวม 100 931 -1 62 104 41 การบริหารราชการ สว่ นราชการในจังหวัดลําปาง แบง่ ออกเปน็ 4 ลกั ษณะ ประเภท จาํ นวน (หนว่ ย) หมายเหตุ - ราชการบริหารส่วนภมู ภิ าค 31 - - ราชการบรหิ ารส่วนกลาง - ราชการบริหารสว่ นท้องถ่นิ 70 - - หน่วยงานอิสระ 104 อบจ. 1 แหง่ เทศบาล 41 แหง่ อบต. 62 แหง่ 25 - อาคาร ศาลากลางจงั หวัดลาํ ปาง กลมุ งานขอ มูลสารสนเทศและการส่ือสาร สาํ นักงานจังหวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลาํ ปาง 13 สภาพทางเศรษฐกิจ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั สภาพทางเศรษฐกิจโดยรวมของ จังหวัดลําปางในปี 255๓ มีผลิตภัณฑ์ มวล 59,418 ล้านบาท อยู่ในอันดับที่ 37 ของประเทศ สาขาที่มีรายได้สูงสุด คือ สาขาเหมืองแร่และเหมืองหิน มูลค่า 12,450 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 20.๙๕ ของมูลค่าผลิตภัณฑ์ท้ังจังหวัด รองลงมาได้แก่ สาขาการค้าส่งและ ค้าปลีก มูลค่า 8,๓๕2 ล้านบาท สาขา การเกษตร การล่าสัตว์ และการป่าไม้ มูลค่า 7,770 ล้านบาท รายการ ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 ผลิตภณั ฑ์มวล 36,989 38,081 40,016 42,911 45,242 46,402 55,507 59,418 รวม (ล้านบาท) รายไดต้ ่อหวั 45,812 47,045 49,333 52,783 55,519 56,822 67,848 72,521 (บาท) (ทม่ี า : สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ) รายได้ประชากร ปี 255๓ ประชากรจังหวัดลําปางมีรายได้เฉลี่ย 72,521 บาทต่อคนต่อปี อยู่ในอันดับที่ 46 ของ ประเทศ กราฟแสดงรายได้เฉลี่ยของประชาชนจังหวัดลําปาง ปี 2546 - 2552 80000 67848 72521 60000 45812 47045 49333 52783 55519 56822 40000 20000 0 ป 2547 ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2546 (ท่มี า : สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ) กลุมงานขอมูลสารสนเทศและการส่ือสาร สํานกั งานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จังหวัดลาํ ปาง 14 การเงินและการคลัง การเงนิ การธนาคาร ปจั จุบันมสี าขาธนาคารพาณิชย์ตง้ั อยใู่ นจังหวัดลําปาง จาํ นวน 40 สาขา โดยมปี ริมาณเงินหมนุ เวียน ห้วงต้งั แตป่ ี 2552 – 2554 ดังน้ี (หน่วย : ล้านบาท) รายการ 2552 2553 2554 ปริมาณเงนิ ฝากรวม 41,971.86 44,779.46 48,373.27 ปริมาณเงินฝาก ธ.พาณชิ ย์ 24,647.00 26,072.00 26,443.00 ปริมาณเงนิ ฝาก ธ.ออมสิน 8,321.03 9,346.39 10,965.92 ปรมิ าณเงนิ ฝาก ธอส. 1,140.05 869.90 968.30 ปรมิ าณเงินฝาก ธกส. 7,863.78 8,491.17 9,996.05 สนิ เช่ือรวม 38,301.16 43,151.07 48,781.19 สินเชอ่ื ของ ธ.พาณชิ ย์ 14,192.00 16,867.00 19,339.00 สินเช่ือของ ธ.ออมสิน 10,113.16 11,809.35 13,944.99 สินเชอ่ื ของ ธอส. 5,568.38 5,445.46 5,495.48 สินเช่ือของ ธกส. 8,427.62 9,029.26 10,001.72 (ท่ีมา : ธนาคารแห่งประเทศไทย ข้อมูล ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2554) การคลัง รายได้ ปี 255๔ จังหวัดลาํ ปางมีรายไดจ้ ากการจัดเกบ็ ภาษอี ากร เป็นเงนิ 1,๗๗๘.001 ลา้ นบาท เพิ่มข้ึนจาก ปี 255๓ จํานวน 123.89 ล้านบาท โดยรายได้ 3 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ 1) ภาษมี ูลคา่ เพ่มิ 2) ภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คล 3) ภาษีเงนิ ได้ส่วนบคุ คล ตามรายละเอียดดังน้ี ลกั ษณะจดั เกบ็ ปี 2552 (ล้านบาท) ปี 2553 (ลา้ นบาท) ปี 255๔ (ลา้ นบาท) 1. ภาษเี งนิ ได้บคุ คลธรรมดา 2. ภาษเี งนิ ได้นิติบคุ คล 379.026 386.029 426.867 3. ภาษีมูลคา่ เพมิ่ 4. ภาษีธุรกจิ เฉพาะ 423.029 538.828 631.023 5. อากรแสตมป์ 6. รายไดอ้ ่ืน ๆ 582.883 643.212 602.491 รวม 22.390 33.535 62.542 46.834 50.872 53.255 1.694 1.634 1.823 1,455.856 1,654.110 1,778.001 (ที่มา : สํานักงานสรรพากรพื้นทล่ี าํ ปาง : ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน 2554) กลมุ งานขอ มูลสารสนเทศและการสื่อสาร สํานกั งานจงั หวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลําปาง 15 ปี 2554 จงั หวดั ลําปางมีรายได้จากการจัดเก็บภาษีสรรพสามิต รวมท้ังส้ิน 219,277,457.40 บาท ลดลงจากปี 2553 จาํ นวน 133,400,736.03 บาท ตามรายละเอียดดงั นี้ รายการภาษี ปี 2552 (บาท) ปี 2553 (บาท) ปี 255๔ (บาท) 42,619,384.00 42,099,363.00 1. ภาษีสุรา 43,428,797.00 53,273,991.69 44,578,077.58 252,251,625.06 127,496,959.94 2. ภาษีเคร่ืองดมื่ 48,164,282.68 292,752.00 308,682.00 3. ภาษีน้าํ มัน 201,279,532.66 820,635.22 805,807.49 3,419,805.46 3,959,272.39 4. ภาษรี ถจักรยานยนต์ 264,789.00 352,678,193.43 219,277,457.40 5. ภาษสี ถานบริการ 988,935.51 6. เบ็ดเตลด็ 3,427,679.90 รวม 297,554,016.75 (ที่มา : สาํ นกั งานสรรพสามติ พ้ืนท่ลี ําปาง : ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน 2554) งบประมาณของจงั หวดั ลาํ ปาง ปงี บประมาณ 2554 หนวย : ลานบาท รายการ งบประมาณ เบกิ จา่ ย ร้อยละ คงเหลอื งบประมาณรวม 12,776.12 11,542.65 90.35 1,233.46 งบประจาํ 8,062.52 7,998.07 99.20 64.44 งบลงทนุ 4,713.60 3,544.58 75.20 1,233.46 งบกลาง 438.54 438.11 99.90 0.43 (ทีม่ า : สํานกั งานคลงั จังหวัดลาํ ปาง ขอ้ มูล ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2554) การจ้างงาน สถานประกอบการในจงั หวัดลาํ ปาง รายการ ปี 2551 จํานวน ปี 2554 หมายเหตุ ปี 2552 ปี 2553 (ปี 2551=ปฐี าน) - จํานวนสถานประกอบการ 3,397 แห่ง 3,๙๕๑ แห่ง - จํานวนลกู จ้างท้งั หมด 54,735 คน 3,608 แห่ง 3,794 แหง่ 5๖,๒๒๑ คน + รอ้ ยละ 13.51 54,698 คน 55,188 คน - ร้อยละ 3.16 จากข้อมูลข้างต้น จํานวนสถานประกอบกิจการและจํานวนลูกจ้างในจังหวัดลําปาง เพิ่มขึ้นทุกปี เปรียบเทียบปี ๒๕๕๓ กับปี ๒๕๕๔ สถานประกอบกิจการเพิ่มข้ึน ๑๕๗ แห่ง ลูกจ้างเพ่ิมข้ึน ๑,๐๓๓ คน เนื่องจากมีการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ในจังหวัดลําปางจํานวนมาก จึงทําให้มีการจ้างแรงงานจํานวนมาก เช่น การก่อสร้างห้างเซ็นทรัล การก่อสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง การก่อสร้างอาคาร โรงพยาบาลเกาะคาเพิ่มเติม การก่อสร้างอาคารรักษาโรคหัวใจโรงพยาบาลลําปาง ประกอบกับมี ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ต้ังข้ึนในปี ๒๕๕๔ เช่น บริษัท แม็คโคร จํากัด และบริษัท ไทยวัสดุก่อสร้าง จํากัด จึงมีการจา้ งลกู จ้างในท้องถิ่นทํางานมากขนึ้ กลมุ งานขอ มูลสารสนเทศและการสือ่ สาร สํานักงานจังหวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวัดลําปาง 16 แผนภมู แิ สดงจาํ นวนสถานประกอบการ ปี 2545 – 2554 จํานวน (แห่ง) 3,397 3,608 3,794 3951 4,000 3,264 3,059 3,207 3,235 3,000 2,296 2,000 1,000 0 2545 2546 2547 2549 2550 2551 2552 2553 2554 ท่มี า : สํานักงานสวัสดกิ ารและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดลาํ ปาง แผนภมู แิ สดงจาํ นวนลูกจา้ ง ปี 2545– 2554 จาํ นวน (คน) 56,385 56221 57,000 51,650 56,000 54,583 54,735 54,698 55,188 55,000 52,340 54,000 53,000 51,433 52,000 51,000 50,000 49,000 48,000 2545 2546 2547 2549 2550 2551 2552 2553 2554 (ที่มา : สํานกั งานสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงานจงั หวัดลาํ ปาง ข้อมลู ณ วันที่ 3๑ ธนั วาคม 2554) โครงสร้างแรงงาน จากผลการสํารวจภาวการณ์ทาํ งานของประชากรระดบั จังหวัด เดอื นธนั วาคม พ.ศ.255๔ แสดงโครงสร้างประชากรตามสถานภาพแรงงานจังหวัดลําปาง ดังน้ี ประชากรรวม 819,394 คน แยกเป็น - ผมู้ อี ายตุ ่ํากว่า 15 ปี 13๑,๒07 คน - ผมู้ อี ายุ 15 ปีขน้ึ ไป 68๘,1๘๗ คน ผู้มีอายุ 15 ปขี ึน้ ไป 68๘,1๘๗ คน แยกเปน็ 474,๒4๑ คน - กาํ ลงั แรงงาน 21๓,๙4๖ คน - ผไู้ มอ่ ยใู่ นกาํ ลังแรงงาน กลุมงานขอ มูลสารสนเทศและการสือ่ สาร สาํ นกั งานจงั หวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวัดลําปาง 17 กําลังแรงงาน 474,241 คน แยกเปน็ 472,384 คน - กําลังแรงงานปจั จบุ นั ๑,๘๕๗ คน - กาํ ลังแรงงานท่ีอย่รู อฤดกู าล กาํ ลงั แรงงานปัจจุบนั 472,3๘๔ คน แยกเปน็ 4๖๙,๙๓๙ คน - ผมู้ งี านทํา ๒,๔๔๕ คน - ผู้ไมม่ งี านทํา ผู้ไมอ่ ยู่ในกาํ ลงั แรงงาน 21๓,๙๔๖ คน แยกเปน็ - ทํางานบา้ น 5๐,๙๒๓ คน - เรียนหนังสอื ๗๓,๒๒๐ คน - อ่ืน ๆ 8๙,8๐๓ คน (ที่มา : สาํ นักงานสถิตจิ งั หวัดลําปาง ขอ้ มลู ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2554) การจ้างงาน การแจง้ จดทะเบยี นและแจง้ เลิกของประกอบกจิ การ ของสถานประกอบการในจังหวดั ลาํ ปาง ทสี่ ํานักงาน อตุ สาหกรรมจงั หวัด ดังนี้ จํานวน รายการ ปี 2554 ปี 2555 สถาน ลูกจา้ ง สถาน ลกู จา้ ง ประกอบการ (คน) ประกอบการ (คน) (แห่ง) (แห่ง) - รับแจ้งการจดทะเบยี นโรงงานอุตสาหกรรม 31 516 19 419 - รบั แจง้ การเลกิ ประกอบการของโรงงาน 23 340 8 27 อตุ สาหกรรม (ท่ีมา : สํานกั งานอตุ สาหกรรมจังหวดั ลาํ ปาง ขอ้ มลู ณ วันท่ี 28 พฤษภาคม 2555) การจ้างแรงงานในตา่ งประเทศ คนหางานจังหวัดลําปางนิยมเดินทางไปทํางานต่างประเทศในอัตราค่อนข้างสูง โดยข้อมูลคนหางานที่ เดินทางไปทํางานต่างประเทศแล้วเดินทางกลับมาพักที่ภูมิลําเนา และได้มาแจ้งเดินทางกลับไปทํางาน ต่างประเทศหรือ Re-entry Visa และแจ้งการเดินทางกลับไปทํางานต่างประเทศด้วยตนเอง ณ สํานักงาน จัดหางานจงั หวัดลาํ ปาง ดังนี้ ปี การแจง้ การเดนิ ทางกลับไปทาํ งาน แจ้งเดนิ ทางไปทํางาน รวม (คน) ๒๕๕๓ ตา่ งประเทศ ด้วยตนเอง ๑,๘๑๑ (คน) (Re-entry Visa) (คน) - ๑,๘๑๑ ๒๕๕๔ ๑,๖๘๔ - ๑,๖๘๔ ๒๕๕๕ ๑,๑๔๒ ๑๑๑ ๑,๒๕๓ (ทีม่ า: สํานักงานจัดหางานจงั หวัดลําปาง ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๕) หมายเหตุ : ปี ๒๕๕๕ ข้อมูลตง้ั แต่เดือนมกราคม – พฤษภาคม ๒๕๕๕ กลุมงานขอมลู สารสนเทศและการสอ่ื สาร สํานกั งานจงั หวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวัดลําปาง 18 จากข้อมูลข้างต้น คนหางานจังหวัดลําปางแจ้งเดินทางกลับไปทํางานต่างประเทศในปี ๒๕๕๔ เปรยี บเทียบ ปี ๒๕๕๓ พบวา่ มีจาํ นวนลดลง เนื่องจากในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม ๒๕๕๔ เกิดเหตุการณ์ ความไมส่ งบในประเทศลิเบียทาํ ให้ประเทศไทยต้องอพยพแรงงานไทยท่ีทํางานอยู่ในประเทศลิเบียเดินทางกลับ ประเทศไทยเป็นจํานวนมาก และไม่มีคนหางานมาแจ้งเดินทางไปทํางานด้วยตนเอง ทําให้จํานวนคนหางาน จังหวดั ลาํ ปางทเ่ี ดนิ ทางไปทาํ งานตา่ งประเทศลดลง และข้อมลู ปี ๒๕๕๕ (ขอ้ มูลตัง้ แตเ่ ดือนมกราคม ถึง เดือน พฤษภาคม ๒๕๕๕) พบว่าคนหางานแจ้งการเดินทางกลับไปทํางานต่างประเทศจํานวน ๑,๑๔๒ คน และ มีคนหางานแจ้งเดินทางไปทํางานด้วยตนเอง จํานวน ๑๑๑ คน รวมท้ังส้ิน ๑,๒๕๓ คน ซ่ึงคาดว่าจํานวน คนหางานจังหวัดลําปางท่ีเดินทางไปทํางานต่างประเทศในปี ๒๕๕๕ จะมีแนวโน้มเพ่ิมมากขึ้น เนื่องจากในปี ๒๕๕๕ กรมการจัดหางานได้ดําเนินการรับสมัครและคัดเลือกคนหางานไปทํางานประเทศอิสราเอล สาธารณรัฐเกาหลี ไต้หวัน เป็นต้น ซ่ึงปัจจุบันอยู่ระหว่างดําเนินการให้นายจ้างในต่างประเทศคัดเลือกและ เมื่อนายจ้างคัดเลือกแลว้ กรมการจัดหางานก็จะดําเนินการจัดส่งคนหางานไปทํางานต่างประเทศต่อไป โดยการ สมัครงานดังกลา่ วมีคนหางานจังหวดั ลําปางใหค้ วามสนใจสมัครกันเป็นจาํ นวนมาก การอตุ สาหกรรม การอตุ สาหกรรมในจงั หวัดลาํ ปาง เป็นอตุ สาหกรรมทพ่ี ่งึ พาทรพั ยากรธรรมชาติในท้องถ่ิน ประกอบกบั มี ปัจจยั ความพร้อมในด้านอนื่ ๆ จึงทําใหแ้ นวโนม้ ของอุตสาหกรรมในจังหวดั ลาํ ปางขยายตวั ขึ้น โดยมีจาํ นวน โรงงานอุตสาหกรรมเปรียบเทยี บการเพม่ิ ขน้ึ ดังน้ี ปี พ.ศ. จาํ นวน โรงงานอตุ สาหกรรม (แหง่ ) เงินลงทนุ (ลา้ นบาท) การจา้ งงาน (คน) 2545 1,068 56,117 20,347 2546 1,140 56,559 21,547 2547 1,200 57,118 23,037 2548 1,270 58,523 24,531 2549 1,332 58,836 25,172 2550 1,389 59,278 25,766 2551 1,435 59,734 26,430 2552 1,463 60,171 26,726 2553 1,498 60,550 27,065 2554 1,529 60,897 27,581 2555 1,548 61,261 28,000 (ทม่ี า : สํานกั งานอตุ สาหกรรมจังหวัดลําปาง ข้อมูล ณ วนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2555) ผลติ ภณั ฑเ์ ซรามิก กลมุ งานขอมลู สารสนเทศและการสือ่ สาร สํานักงานจงั หวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวดั ลําปาง 19 การเกษตร จังหวัดลําปางมีพ้ืนท่ีเพาะปลูกพืช จํานวน 1,111,313 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.19 ของพ้ืนท่ีจังหวัด ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม มีครัวเรือนที่ประกอบอาชีพการเกษตร จํานวน 129,744 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 48.54 ของครัวเรอื นท้ังหมด ขอ้ มลู ครัวเรือนเกษตรกร พ.ศ.255๔ อําเภอ จาํ นวน ๑. เมืองลาํ ปาง ครวั เรอื น ครวั เรอื นเกษตรกร พ้นื ที่การเกษตร (ไร่) ๒. แมเ่ มาะ ๓. เกาะคา 92,812 26,435 ๑๘๐,๓๓๓ ๔. เสรมิ งาม ๕. งาว 15,552 5,652 ๖๔,๔๒๗ ๖. แจ้หม่ ๗. วังเหนอื 20,942 10,345 ๕๙,๑๙๑ ๘. เถนิ ๙. แม่พรกิ 9,718 7,663 53,139 ๑๐. แมท่ ะ ๑๑. สบปราบ 18,305 9,734 127,323 ๑๒. ห้างฉัตร ๑๓. เมอื งปาน 13,630 8,202 83,112 รวม 14,621 9,705 131,784 19,761 11,353 90,567 5,160 3,572 32,403 20,007 12,913 114,263 8,142 6,130 49,990 18,265 10,317 56,064 10,381 7,723 68,717 267,296 129,744 1,111,313 กลุม งานขอมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สาํ นกั งานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวัดลาํ ปาง 20 พชื เศรษฐกิจ ทส่ี าํ คัญของจังหวัดลําปาง ได้แก่ ข้าว พืชไร่ พชื ผัก ไมผ้ ลไม้ยืนตน้ โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี ผลผลติ และมลู คา่ พชื เศรษฐกิจของจงั หวดั ลําปาง กลมุ่ ชนดิ พชื พน้ื ทป่ี ลกู (ไร)่ ปี 2553 มลู คา่ (ลา้ นบาท) - ข้าว 510,323 ผลผลติ รวม (ตนั ) 3,659.84 - พชื ไร่ 369,552 3,277.65 - พืชผกั 39,112 289,392 486.19 - ไม้ผลไม้ยืนตน้ 62,446 539,802 467.87 78,016 รวม 981,433 54,994 7,891.55 962,204 ด้านการปศสุ ตั ว์ การเล้ียงสัตว์ ส่วนใหญ่เลี้ยงลักษณะเกษตร รายย่อย ครอบคลุมพ้ืนท่ีทั้ง 13 อําเภอ ประกอบด้วย ไก่พ้ืนเมือง โคเน้ือลูกผสมพื้นเมือง จากสถิติ ปี 2552- 2554 จํานวนโคลดลง เน่ืองจากเกษตรกรเลิกเลี้ยง สาเหตุข้อจํากัดสถานท่ีพ้ืนท่ีสําหรับเล้ียงโค สภาวะ ราคาไม่แน่นอน และการเล้ียงสัตว์ปีกส่วนใหญ่เลี้ยง เสริมอาชีพรายได้ในครัวเรือน ไม่เป็นการค้า ส่วนการ เล้ียงสัตว์ลักษณะระบบฟาร์ม กระจายกลุ่มอําเภอที่มี ความพร้อม โดยรับการสนับสนุนจากบริษัทในเครือ ซีพี เบทาโกร และกลุ่มอิสระ พ้ืนที่อําเภอเมืองลําปาง เกาะคา ห้างฉัตร เสริมงาม สบปราบ ลักษณะรับจ้างเล้ียงหรือสัญญาประกันระหว่างเกษตรกรกับตัวแทน บริษัทดังกล่าว ท้ังน้ี มีเงื่อนไขเกษตรกรต้องมีความพร้อมในด้านสถานที่เลี้ยงและต้องเลี้ยงระบบฟาร์ม มาตรฐานโดยการรับรองจากหน่วยงานกรมปสุสัตว์ ซ่ึงส่วนใหญ่ เป็น ฟาร์ม ไก่เน้ือ สุกร กรณีไก่ไข่จํานวน ปรมิ าณลดลงเนอื่ งจากบรษิ ทั ยา้ ยฐานผลติ ปจั จบุ นั กรมปศสุ ัตวม์ ีนโยบายส่งเสริมการเลีย้ งสัตวพ์ ้ืนเมือง (ไก่ประดหู่ างดํา) ในระบบฟาร์มควบคมุ โรคระบาดดําเนินการโดยเกษตรกรรายยอ่ ย กาํ กบั ดแู ลโดยเจา้ หน้าทปี่ ศุสตั วอ์ าํ เภอท้องท่ี เช่น อาํ เภอแจ้ห่ม อําเภอสบปราบ สําหรบั สตั ว์อืน่ ๆ มกี ารกระจายเลีย้ งตามความสนใจเปน็ กลุ่มเฉพาะ เช่น หมูปา่ นกกระทา แพะ แกะ ตามรายละเอยี ดดงั น้ี ชนดิ สตั ว์ 2552 ปี 2554 หมายเหตุ 2553 ปี ๒๕๕๓ มีเกษตรกรเลิกเล้ยี ง โคเนอ้ื 151,639 139,821 โคนม 222 173,507 793 กระบือ 999 ไก่เนอื้ 12,476 11,688 ไก่ไข่ 599,867 13,868 55,742 ไกพ่ ้ืนเมือง 171,438 528,886 69,222 1,185,319 33,174 1,645,498 1,733,940 กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการสือ่ สาร สํานักงานจังหวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวดั ลาํ ปาง 21 ชนดิ สตั ว์ ปี หมายเหตุ 2552 2553 2554 สกุ ร 36,030 60,804 55,429 เปด็ 8,354 23,527 21,967 แพะ 1,586 400 440 แกะ 34 18 7 มา้ 130 196 197 นกกระทา 2,026 2,412 793 นกกระจอกเทศ 10 0 2 กวาง 48 180 152 หมปู ่า - 141 140 ป๒ี ๕๕๒ไมม่ กี ารสาํ รวจหมปู า่ ไก่งวง 367 484 110 ช้าง 11 32 32 หา่ น 370 717 389 แหลง่ ทมี่ า : สํานกั งานปศุสัตว์จังหวัดลาํ ปาง ขอ้ มลู ณ วันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔ ด้านการประมง ปี ๒๕๕๕ จังหวัดลําปางมีพื้นที่ทําการประมงทั้งส้ิน ๖,๓๓๐.๒๘ ไร่ เกษตรกร จํานวน ๑๒,๖๗๗ ราย ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่อําเภอเถิน เมืองลําปาง งาว แม่ทะ สบปราบ แม่เมาะ เมืองปาน และวงั เหนอื ตามลาํ ดบั มีจาํ นวนเกษตรกรที่เพาะเล้ยี งปลา ๕ อันดับแรก ดังนี้ ท่ี ชนดิ สตั วน์ า้ํ จํานวนเกษตรกร (ราย) บ่อ กระชัง 1 ปลานลิ ๗,๗๗1 ๑๖ 2 ปลาดกุ 4,๐๐๗ ๒๙ 3 ปลาตะเพยี น ๘๘๙ - 4 ปลาไน 2๙๕ - 5 ปลายีส่ ก ๑๕๑ - (แหล่งทม่ี า : สํานกั งานประมงจงั หวัดลาํ ปาง) กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการสอ่ื สาร สาํ นักงานจังหวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จงั หวดั ลาํ ปาง 22 สรปุ ข้อมูลฟาร์มเล้ียงสตั วท์ ไี่ ดร้ บั รองมาตรฐานฟารม์ ในเขตพน้ื ทจี่ งั หวดั ลําปาง อําเภอ ไก่ไข่ ไกเ่ น้อื สกุ ร โคนม โคเนอ้ื ผงึ้ โรง ศูนย์ รวบรวม เมือง (จํานวน) (จาํ นวน) (จํานวน) (จาํ นวน) (จํานวน) (จาํ นวน) ฆา่ สตั ว์ นํา้ นมดิบ แจห้ ่ม หา้ งฉตั ร 2 26 9 1 13 1 แมเ่ มาะ 13 1 แมท่ ะ 1 4 12 2 1 เกาะคา 12 วังเหนอื 10 2 10 1 เมอื งปาน 3 5 37 2 งาว 93 เสริมงาม 2 1 2 สบปราบ 6 15 20 1 เถิน 1 แมพ่ รกิ 11 1 1 13 3 รวม 3 1 0 10 21 24 72 94 แหลง่ ทม่ี า : สาํ นกั งานปศสุ ัตว์จงั หวดั ลําปาง ข้อมูล ณ วนั ที่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๕๔ ดา้ นสหกรณ์ ปี 2554 จังหวดั ลําปางมสี หกรณท์ ้ังหมด 8๒ สหกรณ์ แยกตามสถานะสหกรณไ์ ด้ดงั นี้ ประเภทสหกรณ์ ดาํ เนนิ งาน/ หยดุ ดาํ เนนิ งาน/ เลกิ รวมทัง้ หมด ธุรกจิ (แห่ง) ธุรกิจ (แหง่ ) (แหง่ ) (แหง่ ) 1. สหกรณก์ ารเกษตร ๒. สหกรณป์ ระมง 34 2 1 37 ๓. สหกรณ์นคิ ม - - - - ๔. สหกรณร์ ้านคา้ 1 - - 1 ๕. สหกรณ์ออมทรัพย์ 11 - - 11 ๖. สหกรณ์บรกิ าร 2 - - 2 ๗. สหกรณเ์ ครดิตยูเนีย่ น 11 1 - 12 2 - 1 23 รวม 8๒ 2 2 86 กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานจงั หวดั ลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จงั หวดั ลาํ ปาง 23 ปริมาณธรุ กจิ ของสหกรณ์ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ปรมิ าณ ปริมาณธรุ กิจ แยกตามประเภทการใหบ้ รกิ าร (ลา้ นบาท) ธุรกิจ ประเภท ของ รบั ฝากเงนิ ใหเ้ งนิ กู้ จดั หา รวบรวม บรกิ าร รวมทง้ั สน้ิ สหกรณ์ สหกรณ์ สินค้ามา ผลผลติ และ และ (แหง่ ) จําหนา่ ย แปรรปู อน่ื ๆ ๑. สหกรณ์ ๓4 ๑,316.715 797.751 1,106.597 ๒95.986 13.087 3,530.136 การเกษตร ๒. สหกรณ์ - - - - -- - ประมง ๓. สหกรณ์ ๑ ๖4.526 23.336 25.191 4.715 0.129 117.897 นคิ ม ๔. สหกรณ์ ๑๑ ๒,576.599 10,144.227 - - - 12,720.826 ออมทรัพย์ 5. สหกรณ์ 2 - - 142.940 - - 142.940 ร้านคา้ ๖. สหกรณ์ 11 1.776 9.423 2.803 2.492 1.240 17.734 บรกิ าร ๗. สหกรณ์ 22 145.889 158.436 0.926 - - 305.251 เครดติ ยูเนย่ี น รวมทง้ั สนิ้ 82 4,105.505 11,133.173 1,278.457 303.193 14.456 16,834.784 กลุม งานขอ มลู สารสนเทศและการส่อื สาร สาํ นกั งานจังหวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลาํ ปาง 24 ผลการดาํ เนนิ งาน ผลการดาํ เนนิ งานปลี ่าสดุ ทมี่ ีการปดิ บญั ชใี นปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕4 กําไร (ขาดทุน) ผลการดําเนนิ งานในภาพรวม การดาํ เนินงานมีผลกาํ ไร - ขาดทนุ สุทธิ ประเภทสหกรณ์ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) ในภาพรวม จาํ นวน รายได้ คา่ ใช้จ่าย จาํ นวน กาํ ไร จาํ นวน ขาดทุน (๕) – (๗) (ล้านบาท) (ล้านบาท) สหกรณ์ (ลา้ นบาท) สหกรณ์ (ล้าน สหกรณ์ (แห่ง) (แหง่ ) 48.771 บาท) - (แหง่ ) 1.561 สหกรณ์การเกษตร 34 97.598 48.901 29 55.850 3 7.079 341.239 2.917 สหกรณป์ ระมง - - - - - -- 0.656 สหกรณน์ คิ ม ๑ 4.994 3.433 ๑ 1.561 - - 11.093 สหกรณอ์ อมทรพั ย์ ๑๑ 425.698 64.877 ๑๑ 341.239 - - 406.237 สหกรณร์ ้านค้า ๒ 7.414 4.497 2 2.917 - - สหกรณ์บรกิ าร 11 2.584 1.929 8 0.840 1 0.184 สหกรณ์เครดติ 22 23.571 13.001 20 11.560 2 0.467 ยูเนีย่ น รวมท้ังสนิ้ 82 561.859 136.638 71 413.967 6 7.730 สถานะกล่มุ เกษตรกร ประเภทกลมุ่ เกษตรกร ดาํ เนินงาน/ธรุ กิจ หยดุ ดําเนนิ งาน/ เลิก รวมทัง้ หมด (แหง่ ) (แหง่ ) ธุรกิจ (แหง่ ) (แหง่ ) ๑. กลุ่มเกษตรกรทาํ นา ๒. กลุ่มเกษตรกรทําสวน ๓๔ 2 2 ๓๘ ๓. กลุ่มเกษตรกรเล้ียงสัตว์ ๑2 - ๔. กลุม่ เกษตรกรทาํ ไร่ ๖ 2 - ๑2 ๕. กลมุ่ เกษตรกรทําประมง ๒๑ ๑ ๖. กลุ่มเกษตรกรอ่นื ๆ - - 19 - - รวม ๑ ๒๓ ๗3 5 -- -- 4 ๘2 กลุมงานขอมลู สารสนเทศและการสอื่ สาร สาํ นักงานจังหวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จงั หวดั ลําปาง 25 ปรมิ าณธรุ กจิ ประเภท ปรมิ าณธรุ กจิ ปริมาณธรุ กิจ แยกตามประเภทการใหบ้ รกิ าร (ล้านบาท) กลมุ่ เกษตรกร ของกลุ่ม เกษตรกร รับฝาก ให้เงนิ กู้ จัดหาสนิ ค้า รวบรวม บรกิ าร รวมทงั้ สน้ิ (แหง่ ) เงนิ มาจําหน่าย ผลผลิตและ และอ่นื ๆ แปรรปู ๑. กลุ่มฯ ทาํ นา ๓4 0.059 4.542 7.853 0.024 0.007 12.485 ๒. กลุ่มฯ ทาํ สวน 12 0.031 0.737 1.813 0.124 - 2.705 ๓. กลุ่มฯ เลย้ี งสตั ว์ 6 - 2.528 0.687 - - 3.215 ๔. กลุ่มฯ ทาํ ไร่ 21 0.267 2.799 4.783 0.123 - 7.972 ๕. กลุ่มฯทาํ ประมง - - - - -- - ๖. กลุ่มฯ อนื่ ๆ - - - - -- - รวมทั้งสน้ิ 73 0.357 10.606 15.136 0.271 0.007 26.377 ผลการดําเนนิ งาน ผลการดําเนนิ งานปลี า่ สดุ ทมี่ ีการปดิ บญั ชใี นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ กําไร (ขาดทุน) ประเภท ผลการดาํ เนนิ งานในภาพรวม การดาํ เนินงานมผี ลกาํ ไร - ขาดทนุ กลมุ่ เกษตรกร สทุ ธิ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) ในภาพรวม จาํ นวน รายได้ ค่าใช้จา่ ย จํานวน กาํ ไร จํานวน ขาดทนุ (๕) – (๗) กลุ่มฯ (ลา้ นบาท) (ลา้ นบาท) กลมุ่ ฯ (ล้าน กลมุ่ ฯ (ล้าน (แหง่ ) (แหง่ ) บาท) (แห่ง) บาท) 0.612 0.133 ๑. กลมุ่ ฯ ทํานา 34 5.259 4.698 33 0.654 3 0.042 0.105 0.542 ๒. กลุ่มฯ ทําสวน 12 1.552 1.232 11 0.133 - - - ๓. กลุ่มฯ เลย้ี งสัตว์ 6 1.495 1.392 4 0.123 ๒ 0.018 - 1.392 ๔. กลมุ่ ฯ ทําไร่ 21 2.654 2.122 20 0.542 - - ๕. กลมุ่ ฯทําประมง - - ----- ๖. กล่มุ ฯ อื่น ๆ - - ----- รวมทง้ั สน้ิ 73 10.960 9.444 68 1.452 5 0.060 การท่องเทยี่ ว แหลง่ ท่องเที่ยวท่สี ําคัญของจงั หวดั จงั หวดั ลาํ ปางมีแหล่งท่องเทย่ี วหลากหลาย ทัง้ แหล่งทอ่ งเทยี่ วเชงิ นิเวศน์ แหล่งท่องเท่ยี วทางประวัติศาสตร์ และศาสนสถาน และแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและหตั ถกรรม ได้แก่ แหลง่ ท่องเท่ยี วเชงิ นิเวศน์ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร/์ แหลง่ ท่องเที่ยวทางวฒั นธรรม ศาสนสถาน และหตั ถกรรม ๑. อุทยานแห่งชาติแจซ้ ้อน เชน่ น้าํ ตกแจ้ซอ้ น เสน้ ทางเดิน - วดั พระธาตลุ ําปางหลวง - กาดกองต้า ศึกษาธรรมชาติ นาํ้ ตกแมเ่ ปยี ก - ภาพเขยี นสกี อ่ นประวัติศาสตร์ - ถนนวฒั นธรรม - บ้านเสานัก ประตผู า กลุมงานขอมูลสารสนเทศและการสอ่ื สาร สาํ นักงานจงั หวดั ลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จงั หวัดลาํ ปาง 26 แหลง่ ท่องเทีย่ วเชิงนิเวศน์ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ิศาสตร/์ แหลง่ ท่องเที่ยวทางวฒั นธรรม ศาสนสถาน และหตั ถกรรม นาํ้ ตกแมม่ อน นาํ้ ตกแม่ขุน - วัดมอ่ นพระยาแช่ - บ้านป่องนกั บอ่ นํ้าพุรอ้ น หอ้ งอาบน้ําแร่ - วัดพระธาตเุ สดจ็ - กาดเกา้ จาว ลานดอกเสีย้ ว(หมบู่ า้ นป่าเหมีย้ ง) - วดั ศรรี องเมอื ง - หมบู่ ้านแกะสลัก (บา้ นหลกุ ) จุดชมวิวดอยล้าน - วัดพระแก้วดอนเต้า - หมู่บ้านป้นั หมอ้ ดิน ๒. ศูนยอ์ นรุ กั ษช์ า้ งไทย สวน - วดั เจดยี ์ซาว บ้านมอ่ นเขาแก้ว ป่าทงุ่ เกวียน - วดั พระธาตุจอมปงิ - ศูนย์ศลิ ปาชพี แม่ต๋ํา ๓. อทุ ยานแหง่ ชาตถิ ้าํ ผาไท - วัดศรีชุม - กาดนัดสะพานโยง เชน่ ถ้ําผาไท หล่มภเู ขยี ว ถ้ําโจร - ศาลเจา้ พอ่ ประตผู า - ศนู ย์อนุรักษภ์ าพยนตร์ น้ําตกแม่แก้ - วดั ปา่ ฝาง ย้อนยุค ๔. อทุ ยานแห่งชาติดอย - วัดอักโขชัยคีรี - กะลาดีไซน์ ขนุ ตาล เชน่ อุโมงคข์ ุนตาล - ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมือง - หมบู่ า้ นท่องเท่ียวโอท็อป นํา้ ตกแม่ลอง นา้ํ ตกตาดเหมย - วัดถ้ําพระสบาย บา้ นขามแดง ๕. อุทยานแห่งชาตแิ ม่วะ - วัดถาํ้ สขุ เกษมสวรรค์ - โรงงานอุตสาหกรรมเซรามกิ นํา้ ตกแมว่ ะ - สํานักปฏิบัตธิ รรมหลวงพ่อเกษม เขมโก - หมบู่ า้ นกระดาษสา ๖. อุทยานแหง่ ชาติดอยจง - วัดปงสนกุ (บ้านท่าลอ้ ) เช่น นาํ้ ตกแมง่ าชา้ ง น้าํ ตกตาดปู่ - วัดมอ่ นปู่ยกั ษ์ - กลมุ่ ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์จาก หลา้ ผาช้าง ผากาน - อนุสาวรยี ์เจา้ พ่อพญาคาํ ลอื กระดาษสาบา้ นฮอ่ งกอก ๗. เข่อื นกิ่วลม - วัดเสลารัตนป์ ัพพตาราม (วัดไหล่หนิ ) - หมู่บ้านทอผา้ พน้ื เมือง ๘. อา่ งเกบ็ นา้ํ วงั เฮือ - วดั พทุ ธบาทวัดตวง (ผ้านาํ้ มอญ บา้ นศรหี ลวง ๙. ภเู ขาไฟผาลาด - วัดอุมลอง แจซ้ อ้ น) ๑๐. โรงไฟฟ้าแม่เมาะ เชน่ - วัดเวียง สวนพฤกษชาติ ภเู ขาไฟจาํ ปา่ - วดั พระธาตจุ อมก้อย แดด ทุ่งบัวตอง - วัดขว่ งกอม ๑๑. น้ําตกวงั แก้ว - กเู่ จ้าย่าสตุ า - วัดพระบาทปผู่ าแดง - วดั ดงน่งั ชยั คีรี - โบราณสถาน/โบราณวตั ถุ พระพทุ ธรูปไมแ้ กน่ จนั ทร์ วดั จองคํา - วดั สนั ดอยน้อย - วดั ป่าเพมิ่ พนู สามคั คี - ตามรอยบรรพบรุ ุษมนษุ ย์ โฮโมอิเรคตัส (มนุษย์เกาะคา) - วัดเวยี ง กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการสอ่ื สาร สํานักงานจงั หวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลําปาง 27 กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการส่อื สาร สาํ นกั งานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวดั ลาํ ปาง 28 การเดนิ ทางสจู่ ังหวัดลาํ ปาง การเดินทางสจู่ งั หวัดลําปาง สามารถเดนิ ทางได้ทั้งรถยนต์ รถโดยสารประจําทาง รถไฟ และทาง เคร่ืองบิน โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี ทางรถยนต์ เดินทางจากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 ถึงกิโลเมตรท่ี 52 แยกซ้ายเข้าทางหลวง หมายเลข ๓๒ ผ่านจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท เข้าจังหวัดนครสวรรค์ แล้วแยกซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข ๑ ผ่านจังหวัดกําแพงเพชร ตาก ตรงเข้าสู่จังหวัดลําปาง รวมระยะทางทั้งสิ้น ๕๙๙ กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทาง ประมาณ ๗ ช่ัวโมง หรือใช้เส้นทางสายใหม่จากจังหวัดพิษณุโลก เข้าอําเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ แล้วเดินทาง เขา้ สูจ่ ังหวดั ลาํ ปาง การเดินทางรถโดยสารประจําทาง บริษัท ขนส่ง จํากัด จัดบริการรถโดยสารธรรมดาและปรับอากาศ สอบถามรายละเอียด โทร. ๐๒-๘๓๖๒๘๕๒-๖๖ ๐๒-๕๖๗๕๕๙๙ สถานีขนส่งลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๒๗๔๑๐ ๐๕๔-๒๑๗๘๕๒ การเดินทางโดยรถไฟ การรถไฟแห่ง ประเทศไทย บริการรถด่วน รถเร็ว และรถธรรมดา จากสถานีรถไฟหัวลําโพง ส้ินสุดที่สถานีรถไฟ นครเชียงใหม่ ซ่ึงผ่านสถานีรถไฟนครลําปางทุกวัน รายละเอียดติดต่อได้ท่ี ๑๖๙๐ และสถานีรถไฟ นครลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๑๗๐๒๔ ๐๕๔-๓๑๘๖๔๘ การเดินทางโดยเคร่ืองบิน มีสายการบิน ของบริษัท บางกอกแอร์เวย์ ให้บริการเที่ยวบินทุกวัน สํารองท่ีนั่งบางกอกแอร์เวย์ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๒๗๗๑๕ ๐ ๕ ๔ -๓ ๕ ๑ ๑ ๐ ๒ ห รื อ www.bangkokair.com แ ล ะ ท่าอากาศยานลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๒๖๒๕๘ สถานการณ์การทอ่ งเท่ยี ว ปี 2553 จังหวัดลําปางมีผู้มาเยือนท้ังสิ้น จํานวน 451,129 คน แยกเป็นชาวไทย จํานวน 400,905 คน คิดเป็นร้อยละ 88.87 ชาวต่างประเทศ จํานวน 50,224 คน คิดเป็นร้อยละ 11.13 โดย ผู้มาเยือนลดลงจากปี 2552 จาํ นวน 76,311 คน ซง่ึ น่าจะเกิดจากความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจของโลก นกั ทอ่ งเท่ยี วชาวต่างประเทศ ที่มาเท่ียวทจ่ี ังหวัดลําปาง 5 ลาํ ดบั แรก มีดงั น้ี - ฝรง่ั เศส - เยอรมนั - สหรฐั อเมริกา - ญป่ี ุ่น - เบลเยียม สถานทที่ นี่ กั ทอ่ งเทยี่ วนยิ มไปมาก 3 อนั ดบั แรก ได้แก่ - วดั พระธาตลุ าํ ปางหลวง - นาํ้ ตกแจซ้ ้อน - ศนู ยอ์ นุรักษช์ า้ งไทย กลุมงานขอมลู สารสนเทศและการสอื่ สาร สาํ นักงานจงั หวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวดั ลําปาง 29 โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ รายการ ปี 2553 ปี 2552 + เพม่ิ / - ลด (%) ผู้มาเยอื น (นกั ท่องเท่ยี วและนกั ทัศนาจร) 451,129 527,440 -14.47 - ชาวไทย 400,905 474,733 -15.55 - ตา่ งประเทศ 50,224 52,707 -4.71 นักทอ่ งเท่ยี ว (คน) - ชาวไทย 275,146 297,957 -7.66 - ต่างประเทศ 244,171 268,769 -9.15 นักทัศนาจร (คน) 30,975 29,188 + 6.12 - ชาวไทย 175,983 229,483 -23.31 - ต่างประเทศ 156,734 205,964 -23.90 19,249 23,519 -18.16 วนั พกั เฉล่ยี (วนั ) - ชาวไทย 2.06 1.64 +0.42 - ต่างประเทศ 2.00 1.65 +0.35 2.55 1.60 +0.95 คา่ ใช้จ่ายต่อคนต่อวนั (บาท) - ชาวไทย 1,624.14 1,406.66 +15.46 - ตา่ งประเทศ 1,523.26 1,354.77 +12.44 2,286.41 1,913.70 +19.48 รายไดจ้ ากการทอ่ งเทีย่ ว (ลา้ นบาท) - ชาวไทย 1,205.45 1,005.33 +19.91 - ตา่ งประเทศ 981.12 878.35 +11.70 224.33 126.98 +76.67 โรงแรม / ทพ่ี กั / รสี อรท์ ลําดบั ชอื่ เบอรโ์ ทร ราคาห้องพกั จาํ นวนบา้ นพกั ที่ 054-223733 900 - 3,000 บาท 10 หลงั , 20 1 เกาะวงั แก้วรีสอร์ท Fax.054-810088 รวมอาหารเชา้ หลงั คณุ ธนา ทอี่ ยู่ 91 ตรอกโรงแรม 089-8541293 (พกั ได้ 60-70 081-2899898 ท่าน) ไฟฟา้ เกา่ ถ.มนตรี ต.สบต๋ยุ 054-325645 081-9983085 1,100-3,200 250 หอ้ ง อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 054-225801 บาท 2 โรงแรมลําปางเวยี งทอง ท่อี ยู่ 138/109 ถ.พหลโยธนิ ต.สวนดอก อ.เมือง จ.ลําปาง กลุมงานขอ มูลสารสนเทศและการสอื่ สาร สาํ นักงานจังหวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวดั ลาํ ปาง 30 ลําดบั ชือ่ เบอรโ์ ทร ราคาหอ้ งพกั จาํ นวนบา้ นพกั ท่ี 054-228471 100 ห้อง 228095-6 1,000-3,000 3 โรงแรมเวียงลคอร 316430-5 บาท Fax.054-316427 ท่อี ยู่ 138/38 ถ.พลโยธนิ ต.สวนดอก อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 4 โรงแรมทิพยช์ า้ ง 054-226501-6 2,200 บาท 130 หอ้ ง ท่อี ยู่ 54/22 ถ.ท่าคราวน้อย Fax.225362 ต.สบตยุ๋ อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง 5 โรงแรมลาํ ปางรเิ วอร์ลอดจ์ 054-336640-1 3,000-4,500 60 หอ้ ง บาท ท่อี ยู่ 330 ถ.ลาํ ปางกลาง หม่บู า้ นลําปางกลาง ต.ชมพู อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 6 โรงแรมเอเชียลาํ ปาง 054-227844-7 490-700 บาท 71 หอ้ ง ทีอ่ ยู่ 229 ถ.บญุ วาทย์ ต.สวนดอก อ.เมอื ง จ.ลําปาง 7 บ้านอคมั ญ์ศิริ (ทพี่ กั และ 054-228791, 450 บาท/วัน 14 ห้อง 3,500 บาท/เดอื น รา้ นอาหาร) 081-8837989 ทอ่ี ยู่ 54/1 ถ.ปา่ ไม้เขต ต.เวยี งเหนือ อ.เมอื ง จ.ลําปาง 8 รีสอร์ทธารารินลําปาง 081-9355663 1,200-2,000 8 หลงั บาท ทอ่ี ยู่ 353 ม.11 ถ.ทางเข้า อุทยานแจ้ซ้อน ต.แจ้ซอ้ น อ.เมอื งปาน จ.ลําปาง 9 โรงแรมร่มศรที อง 054-217054 250-350 บาท 31 ห้อง ทีอ่ ยู่ 142 ถ.บญุ วาทย์ Fax.322032 ต.สวนดอก อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 054-217339 089-1915697 10 เอม็ .ซ.ี อพารท์ เมนท์ 086-6540296 รายวนั 390 บาท/ 25 หอ้ ง ทอี่ ยู่ 296 ถ.วังขวา ต.สบตุ๋ย วนั อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง รายเดือน 3,700 บาท/เดอื น 11 แพชาวเขื่อนกิ่วลมรสี อร์ท 054-334393 ราคาแพคเกจ 450/ 9 บงั กะโล ท่อี ยู่ 187 ม.2 บ้านสามคั คี 089-2636897 คน/วนั (ไป-กลบั ) (พกั ได้ 40-50 ต.พชิ ัย อ.เมือง จ.ลําปาง (คณุ ชยั ชาญ) ราคาแพคเกจ 800/ คน) คน(1 คืน 2 วัน 12 โรงแรมเขลางคน์ คร 054-226137 180-750 บาท 47 หอ้ ง ที่อยู่ 719/720 Fax.054-226138 ถ.บุญวาทย์ ต.สวนดอก อ.เมอื ง จ.ลําปาง กลุมงานขอ มลู สารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานจงั หวดั ลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
ลําดบั ชื่อ เบอร์โทร บรรยายสรปุ จังหวดั ลาํ ปาง 31 ที่ 054-227311-2 ราคาหอ้ งพกั จาํ นวนบา้ นพกั 180-380 บาท 52 หอ้ ง 13 โรงแรมลําปางโฮเต็ล 220-350 บาท 23 หอ้ ง ทอี่ ยู่ 52 ถ.สวนดอก 150-200 บาท 8 ห้อง ต.สวนดอก อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง 550-890 บาท 75 ห้อง 14 โรงแรมอรุณศกั ด์ิ 054-217344 650-1,600 บาท 58 หอ้ ง ทอ่ี ยู่ 90/9 ถ.บญุ วาทย์ 054-217352 490-840 บาท 43 หอ้ ง ต.สวนดอก 250-350 บาท 7 ห้อง อ.เมือง จ.ลําปาง 600-2,500 บาท 34 ห้อง 15 โรงแรมทพิ ย์อนิ ทร์ 054-221821 บ้านเล็ก 10 หลงั บ้านใหญ่ 4 หลงั ทอ่ี ยู่ 143 ถ.ตลาดเก่า 390-420/3,900 38 หอ้ ง ต.สวนดอก อ.เมือง จ.ลาํ ปาง บาท 1,000-2,000 27 ห้อง 16 โรงแรมคมิ ซติ ี้ 054-310238-40 บาท ทีอ่ ยู่ 274/1 ถ.ฉัตรไชย ต.สบตุ๋ย อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 17 พณิ โฮเตล็ 054-222884 ทอ่ี ยู่ 8 ถ.สวนดอก 054-221509 ต.สวนดอก อ.เมือง จ.ลําปาง 054-322283-6 18 เอม็ อารพ์ าเลซ 054-225357 ท่ีอยู่ 5/2 ถ.มนตรี ต.สบตยุ๋ 054-227914 อ.เมอื ง จ.ลําปาง 19 บา้ นฝ้ายเกสทเ์ ฮาส์ 054-335238 ทอ่ี ยู่ 206/2 ถ.ลําปาง-งาว ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 20 เจบปี ารค์ J.B.Park 054-221666 ท่ีอยู่ 285 กม. ม.14 054-334795 ถ.พลโยธนิ ต.สวนดอก อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 054-228008 089-6338552 21 สวนเขลางคแ์ มนชัน่ 081-7839700 ที่อยู่ 446/5 ถ.วังขวา ต.สบตุ๋ย อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง 22 แมต่ า๋ํ การ์เดน้ ฮลิ ล์(บา้ นเออ้ื ม) 054-224825 ท่อี ยู่ 141 หม่บู า้ นแม่ต๋ํา 084-3747577 ต.บ้านเอือ้ ม อ.เมือง จ.ลาํ ปาง กลุม งานขอ มลู สารสนเทศและการสือ่ สาร สาํ นกั งานจังหวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
ลําดบั ช่อื เบอรโ์ ทร บรรยายสรปุ จังหวัดลาํ ปาง 32 ที่ 054-323388 ราคาห้องพกั จํานวนบา้ นพกั 23 โรงแรมรีเจนท์ ลําปาง 590-1,100 บาท 78 ห้อง ทอ่ี ยู่ 279/3 ถ.พลโยธนิ ต.หวั เวยี ง อ.เมอื ง จ.ลําปาง 24 โชคทวแี มนช่ัน 054-222548 200-250 บาท/วนั 45 ห้อง 1,800-2,600 ทอ่ี ยู่ 539 ถ.รอบเวยี ง 089-7577229 บาท/เดือน ต.สวนดอก อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 200-250 บาท 12 หอ้ ง (หอ้ งพัดลม) 25 ทที แี อนด์ทีเกสต์เฮาส์ 054-221303 ทอ่ี ยู่ 82 ถ.ปา่ ไม่ ต.เวยี งหนือ 084-6178183 อ.เมอื ง จ.ลําปาง(เยื้องวัด ประตปู ่อง) 26 เลิฟลี้อิน 054-313937 500-700 บาท 23 หอ้ ง ที่อยู่ 100/5 ม.6 ต.บอ่ แฮว้ 054-313938 อ.เมือง จ.ลําปาง 27 สมนกึ แมนชัน่ 054-323317-26 350-450 บาท 35 หอ้ ง ทอ่ี ยู่ 111 ถ.สนิ กุศล ต.สวนดอก อ.เมอื ง จ.ลําปาง 28 ขวญั ใจแมนชั่น 054-350563-7 400 บาท 64 ห้อง ที่อยู่ 64 ถ.บา้ นดงพฒั นา ต.บ่อแฮว้ อ.เมือง จ.ลําปาง 29 โรงแรมคิม 054-217721 250-350 บาท 40 หอ้ ง ทอ่ี ยู่ 168 ถ.บญุ วาทย์ 054-217588 ต.สวนดอก อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง 30 อู่ทองการ์เด้น 089-9206035 500 บาท 30 ห้อง ทีอ่ ยู่ 129 บา้ นศรีหมวดเกลา้ 054-221145 ต.ชมพู อ.เมอื ง จ.ลําปาง 31 โรงแรมศรีสง่า 054-217077 100-180 บาท 33 หอ้ ง ทีอ่ ยู่ 213/215/12-2 ถ.บญุ วาทย์ ต.สวนดอก 054-217537 160-360 บาท 39 ห้อง อ.เมอื ง จ.ลําปาง 054-224573 250-800 บาท 45 ห้อง 32 โรงแรมสากล ที่อยู่ - 33 โรงแรมสยาม 054-217472 ทอี่ ยู่ 260/26-29 ถ.ฉตั รไชย ต.สบต๋ยุ อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง กลุม งานขอมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สาํ นักงานจงั หวดั ลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวดั ลําปาง 33 ลําดบั ชือ่ เบอรโ์ ทร ราคาห้องพกั จํานวนบา้ นพกั ที่ 32 หอ้ ง 054-291370-1 500 บาท พร้อม 34 โรงแรมนครเถนิ 081-8824130 อาหารเชา้ Fax. 054-291998 ที่อยู่ 187/5 ถ.สายเอเชยี ม.7 อ.เถนิ จ.ลําปาง 35 โรงแรมลานนานคร 054-291493 200-500 บาท 48 ห้อง ทอ่ี ยู่ 385/3 ม.7 ต.ล้อมแรด 054-291613 อ.เถนิ จ.ลาํ ปาง 36 ไรห่ ญ้าแจซ้ ้อนรสี อรท์ 054-263048 800-4,500 บาท 29 ห้อง ท่ีอยู่ 212 ม.11 ต.แจ้ซอ้ น 084-6194552 อ.เมอื งปาน จ.ลําปาง 37 แจ้ซอ้ นฮิลล์รีสอรท์ 054-263003 300-3,200 บาท 16 ห้อง ทีอ่ ยู่ 439 ม.11 ต.แจซ้ อ้ น 081-2893503 อยู่ก่อนถงึ อุทยานฯแจซ้ ้อน โทรสาร.054-327205 อ.เมอื งปาน จ.ลําปาง 38 บา้ นสวนทงุ่ เกวียนรสี อรท์ 088-0668860 500-1,500 บาท 10 ห้อง ท่อี ยู่ 271 ถ.ลาํ ปาง- 054-830194 เชียงใหม่ ต.เวยี งตาล อ.หา้ งฉตั ร จ.ลาํ ปาง 39 โรงแรมศรสี มบัติ ทอ่ี ยู่ 394 ถ.วิเชษฐว์ ัฒนา อ.แจห้ ม่ จ.ลําปาง 40 The Riverside 054-227005 300-1,800 บาท 18 ห้อง Guesthouse ที่อยู่ 286 Fax.054-322342 ถ.ตลาดเก่า อ.เมือง จ.ลําปาง 41 บษุ ย์นํา้ ทอง โฮมแอนด์สปา 054-352714-5 500-1,200 บาท 15 หอ้ ง ทีอ่ ยู่ 157-157/1-4 ถ.พหลโยธิน ต.ชมพู อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 42 อาลัมภางค์ Guesthouse 054-225278 550-700 บาท 12 ห้อง ทอ่ี ยู่ 278 ถ.ตลาดเก่า 081-8170899 ต.สวนดอก อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง 43 เฮอื นทุง่ ผาโฮมสเตย์ 054-268298 200 บาท/คน/1คนื 3 ชั้น 6 หอ้ งนอน ทอ่ี ยู่ 10 ม.1 บา้ นทงุ่ ผา 089-7073850 6หอ้ งน้ํา ต.วอแก้ว อ.ห้างฉตั ร จ.ลาํ ปาง กลุมงานขอมลู สารสนเทศและการสือ่ สาร สํานักงานจังหวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลําปาง 34 ลาํ ดบั ช่ือ เบอร์โทร ราคาหอ้ งพกั จํานวนบา้ นพกั ท่ี 200 บาท/คืน 054-221305 44 ลําปางเกสตเ์ ฮาส์ 054-221306 ทอ่ี ยู่ 319/2 ถ.รอบเวียง 054-827222 ต.หวั เวียง อ.เมือง จ.ลําปาง 054-222261 45 เอื้องคํารีสอร์ทลําปาง 054-217054 750-1,500 บาท 14 หอ้ ง ทีอ่ ยู่ 49,51 ถ.สาย Fax. 054-322032 วฒั นธรรม(ถนนวังเหนือ) 054-221988 086-3042749 ต.วังเหนือ อ.เมือง จ.ลําปาง 089-1915725 46 โรงแรมแกรนดอ์ ะเมซอน 700-1,200 บาท 40 ห้อง VIP 16 143-286 บาท 48 ห้อง 47 โรมแรม9มถิ นุ า ที่อยู่ 285 ถ.บญุ วาทย์ ต.สวนดอก อ.เมือง จ.ลาํ ปาง 48 โรงแรมร่มศรที อง 250-350 บาท 20 หอ้ ง 49 ขา้ วหอม Residence 450-550 บาท 44 หอ้ ง 50 รสี อร์ททล่ี ําปาง 4 หอ้ ง โฮมสเตย์จังหวัดลาํ ปาง ทไี่ ดร้ ับมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย 5 แห่ง 1. โฮมสเตยช์ ุมชนวอแกว้ บ้านวอแกว้ ต.วอแกว้ อ.ห้างฉตั ร จ.ลาํ ปาง ตดิ ตอ่ จนั ทร์คํา วงศต์ อ่ ม 083-3252083 , 086-1151246 ติดต่อ ผอนู 084-8048248 ตดิ ต่อ นายโยธนิ ฮาวปินใจ 084-4839550 2. โฮมสเตย์บา้ นป่าเหม้ยี ง บ้านปา่ เหมีย้ ง ต.แจ้ซอ้ น อ.เมอื งปาน จ.ลาํ ปาง ติดตอ่ นายประสทิ ธ์ิ เหรียญทอง 089-5606820 ติดตอ่ นายต๊ปิ หวานแหลม 054-380071 ตดิ ตอ่ โรงเรียนปา่ เหมยี้ ง 054-260146 3. โฮมสเตย์บา้ นแม่แจม๋ ต.แจซ้ อ้ น อ.เมืองปาน จ.ลําปาง ตดิ ต่อ สวุ รรณ มลู คาํ ดี 054-380460 , 081-1674891 4. โฮมสเตย์บา้ นสามขา ต.หวั เสือ อ.แมท่ ะ จ.ลําปาง ติดต่อ นายบุญเรือน เฒ่าคาํ ผู้ใหญ่บ้าน 054-260238 , 081-1794771 ตดิ ตอ่ นายปรญิ ญา 081-9528423 ตดิ ต่อ จสอ.ชัย 081-9532316 5. โฮมสเตย์บ้านเมาะหลวง ต.เมาะหลวง อ.แม่เมาะ จ.ลําปาง ติดตอ่ คุณพมิ ผกา กีรติกรพงษ์ ประธานโฮมสเตย์ 089-9983256 , 054-330233 ติดต่อ นายแดง ทนนั ชัย ส.อบต. 087-1740651 กลุมงานขอ มลู สารสนเทศและการส่อื สาร สํานกั งานจังหวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จังหวดั ลาํ ปาง 35 ลกั ษณะโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ปี 2554 จังหวัดลําปางมีระยะทางถนน ท่ีก่อสร้างแล้วเสร็จ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ แขวงการทางลําปาง สํานักงานทางหลวงชนบท ลําปาง และสํานักงานบํารุงทางลําปางท่ี 2 สภาพถนนส่วนใหญ่เป็นลาดยางและคอนกรีต รวมทั้งส้ิน 55 สายทาง ระยะทางทั้งสิ้น 1,830.609 กิโลเมตร ตามรายละเอยี ด ดังนี้ ระยะทางถนนของจงั หวดั จาํ แนกตามหนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบและประเมินผวิ จราจร รายละเอียด กม. % แขวงการทางลําปาง จํานวน 12 สายทาง 721.052 82.17 - ผิวลาดยาง 592.455 17.83 - ผวิ คอนกรีต 128.597 86.36 สาํ นักงานทางหลวงชนบทลาํ ปาง จาํ นวน 32 สายทาง 594.938 2.30 - ผวิ ลาดยาง 513.772 11.34 - ผวิ คอนกรตี 13.679 - ผิวลกู รัง 67.487 92.61 7.39 สํานกั งานบาํ รงุ ทางลาํ ปางท่ี 2 จํานวน 11 สายทาง 514.619 - ผวิ ลาดยาง 476.587 86.46 - ผิวคอนกรตี 38.032 9.85 3.69 รวมระยะทางถนนของจงั หวดั 1,830.609 - ผิวลาดยาง 1,582.814 - ผวิ คอนกรีต 180.308 - ผิวลกู รงั 67.487 ที่มา : แขวงการทางลําปาง สาํ นักงานทางหลวงชนบทลาํ ปาง และสาํ นักงานบํารงุ ทางลําปางท่ี 2 ข้อมลู ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุมงานขอมลู สารสนเทศและการสือ่ สาร สาํ นกั งานจังหวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จังหวัดลําปาง 36 น้าํ เพ่อื การเกษตร แหล่งนํ้าชลประทานที่มีอยู่ภายในจังหวัด ลําปาง ประกอบด้วย สระเก็บนํ้า 94 แห่ง ฝาย น้ําล้น 144 แห่ง อ่างเก็บน้ํา 135 แห่ง ขุดลอก แหล่งน้ํา 172 แห่ง ศูนย์บริการเกษตรกร เคล่ือนที่ 186 แห่ง สระเก็บน้ําในไร่นา 1,648 แห่ง พ้ืนท่ีการเกษตรที่ได้รับประโยชน์จาก โครงการชลประทานประเภทต่าง ๆ ท่ีดําเนินการ โดยกรมชลประทาน 678,525 ไร่ และพ้ืนท่ี ชลประทานของหน่วยงานอ่ืน ๆ ประมาณ 147,950 ไร่ โดยมแี หล่งนา้ํ ท่ีสาํ คัญดงั น้ี ท่ี แหลง่ นา้ํ ความจสุ งู สดุ (ลา้ น ลบ.ม.) ความจเุ กบ็ กกั (ล้าน ลบ.ม.) 1 เขอื่ นก่ิวลม 110.000 106.000 2 เขื่อนกิ่วคอหมา 206.600 170.000 3 อา่ งเกบ็ น้ําแมท่ ะ 2.975 2.540 4 อา่ งเก็บน้ําแม่ทรายคํา 1.561 1.248 5 อา่ งเก็บน้ําห้วยหลวงวงั วัว 1.900 1.610 6 อา่ งเกบ็ นาํ้ แม่คอ่ ม 1.560 1.360 7 อ่างเก็บนา้ํ แมต่ ํ๋านอ้ ย 1.250 1.090 8 อ่างเก็บน้ําแมเ่ ฟอื ง 1.396 1.130 9 อ่างเกบ็ น้ําแมไ่ ฮ 1.500 1.038 10 อ่างเกบ็ นํ้าแมธ่ ิ 1.935 1.690 11 อา่ งเกบ็ นาํ้ แม่เลียงพฒั นา 8.088 6.900 12 อ่างเกบ็ นํ้าแมต่ าํ๋ 2.900 2.270 13 อ่างเก็บน้ําแมก่ ดึ้ 1.569 1.300 14 อ่างเก็บน้ําแม่ทาน 13.600 11.400 15 อ่างเก็บน้ําห้วยสมยั 1.530 1.200 16 อา่ งเกบ็ น้ําแมท่ ก 1.337 1.110 17 อ่างเกบ็ น้ําแม่เรียง 1.359 1.260 18 อา่ งเก็บนาํ้ ห้วยหลวง 1.490 1.260 19 อา่ งเก็บน้ําแม่อาบ 8.780 7.560 กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการสอ่ื สาร สํานกั งานจังหวดั ลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จังหวดั ลําปาง 37 ที่ แหลง่ นา้ํ ความจสุ งู สดุ (ล้าน ลบ.ม.) ความจเุ กบ็ กกั (ลา้ น ลบ.ม.) 20 อ่างเกบ็ น้ําแมพ่ ริก 5.445 4.200 1.330 21 อ่างเกบ็ น้ําแม่ล้อหัก 1.648 5.900 1.280 22 อ่างเก็บน้ําแมว่ ะ 8.500 11.600 1.810 23 อ่างเกบ็ น้าํ ห้วยแมง่ อน 1.540 3.480 3.200 24 อ่างเกบ็ นาํ้ ห้วยเก๋ยี ง 13.320 3.520 19.920 25 อา่ งเก็บนาํ้ แม่ปอน 2.153 96.000 105.780 26 อ่างเก็บนา้ํ แม่ยาว 4.220 27 อา่ งเก็บนา้ํ แม่ไพร 3.520 28 อ่างเก็บนํา้ แม่สัน 4.125 29 อ่างเกบ็ น้ําแมฟ่ า้ 22.600 30 อ่างเก็บนาํ้ แม่มอก (ชป.สโุ ขทยั ) 138.000 31 อ่างเกบ็ น้ําแม่จาง (กฟผ.แม่เมาะ) 125.780 (ท่ีมา : โครงการชลประทานลําปาง) การประปา ปี 255๕ จงั หวัดลําปางมีผู้ใชน้ าํ้ ประปา ณ เดอื นมีนาคม 255๕ จาํ นวน 33,6๑๕ ราย สว่ นใหญเ่ ป็น การใชน้ า้ํ ประเภททอ่ี ย่อู าศยั และการประกอบธุรกิจขนาดเลก็ ตามรายละเอยี ด ดงั น้ี ปี จํานวนผใู้ ชน้ า้ํ (ราย) ๒๕๕๕ ๓๓,๖๑๕ 2554 33,167 2553 31,301 2552 30,802 2551 30,246 2550 29,147 ที่มา : สาํ นักงานการประปาลําปาง ข้อมลู ณ วันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๕ กลมุ งานขอมูลสารสนเทศและการสอื่ สาร สาํ นักงานจังหวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลําปาง 38 ไฟฟา้ ปี 2554จังหวดั ลําปาง มจี าํ นวนการไฟฟ้าท้ังหมด 14 แหง่ กระแสไฟฟ้าที่ใชท้ ัง้ ส้ิน 697.89 ล้าน หนว่ ย แยกตามประเภทการใช้ไฟไดด้ ังนี้ หน่วย : กโิ ลวตั ต์ ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟ้า 2552 2553 2554 ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือน 235,728,806.80 257,250,336.30 246,818,984.00 การใช้ไฟฟา้ ภาคบริการ 8,607,606.70 9,183,856.36 8,583,724.00 ปรมิ าณการใช้ไฟฟา้ ภาคอตุ สาหกรรม ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ สว่ นราชการ 401,183,664.68 426,134,493.37 438,291,477.00 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูบนํ้าเพื่อการเกษตร 46,439,238.18 50,200,508.96 52,057,313.00 7,163,872.54 5,828,884.46 4,772,350.00 รวม 699,123,188.90 748,598,079.45 750,523,848.00 ทีม่ า : สํานักงานการไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าคจงั หวัดลําปาง ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2554 โทรศพั ท์ จังหวัดลําปาง มีบริการโทรศพั ทใ์ นพน้ื ท่ีจงั หวัด แยกเปน็ โครงการ ทศท. จํานวน 43,948 เลขหมาย มีผู้เช่า จํานวน 27,511 ราย แยกเป็นภาคราชการ 2,137 ราย บ้านพักอาศัย 20,712 ราย ภาคธุรกิจ 2,813 ราย ทศท. จํานวน 309 เลขหมาย บริการ สาธารณะ 1,540 เลขหมาย โครงขา่ ย TT&T มชี ุมสายจํานวน 35 ชมุ สาย ให้บรกิ ารเลขหมายทง้ั หมด 42,800 เลขหมาย มีผู้ เช่า จํานวน 36,800 ราย ทมี่ า : บรษิ ัททโี อที จาํ กัด (มหาชน) และบรษิ ัททีทแี อนดท์ ี จํากัด (มหาชน) ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2555 กลุมงานขอมลู สารสนเทศและการสอ่ื สาร สาํ นักงานจังหวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จังหวดั ลําปาง 39 สภาพทางสงั คม การศึกษา ในปีการศึกษา 2554 จังหวัดลําปางมีจํานวนสถานศึกษารวมทั้งส้ิน 480 แห่ง ครู-อาจารย์ 8,118 คน นักเรียน-นักศึกษา 133,501 คน แยกเป็นสถานศึกษาของรัฐ 443 แห่ง มีจํานวน ครู-อาจารย์ 5,929 คน นักเรียน 95,526 คน อัตราส่วนครู-อาจารย์ : นักเรียน-นักศึกษา 1 : 16 โรงเรียนเอกชน 37 แห่ง จํานวนครู-อาจารย์ 2,189 คน นักเรียน-นักศึกษา 37,975 คน อัตราส่วน คร-ู อาจารย์ : นกั เรยี น-นักศกึ ษา 1 : 17 ตามรายละเอยี ด ดงั นี้ สถานศกึ ษาของรัฐ สถานศกึ ษาเอกชน ระดบั การศกึ ษา คร-ู อาจารย์ นักเรียน- คร-ู อาจารย์ นกั เรยี น- (คน) นักศกึ ษา (คน) (คน) นกั ศกึ ษา (คน) - อุดมศกึ ษาและอาชีวศึกษา - กอ่ นประถม-มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1,067 26,350 472 7,449 4,862 69,176 1,717 30,526 รวม 5,929 95,526 2,189 37,975 การศาสนา ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวดั ลาํ ปางนับถือศาสนาพทุ ธ คดิ เป็นร้อยละ 99 รองลงมา คือ ศาสนา คริสต์ ศาสนาอสิ ลาม ตามลาํ ดบั ศาสนา จาํ นวนผนู้ บั ถอื พระอาราม วดั มสั ยิด โบสถ์ วัดซกิ ศาสนา (คน) หลวง ราษฎร์ (แหง่ ) (แห่ง) (แห่ง) (แห่ง) (แห่ง) - - ศาสนาพทุ ธ 755,645 4 697 - - - - - ศาสนาอิสลาม 442 - - 1 - 1 - ศาสนาครสิ ต์ 6,473 - - - 65 - ศาสนาฮนิ ดู พราหมณ์ และซกิ 81 - - -- จงั หวัดลําปางมวี ัดมหานกิ าย จํานวน 684 วดั และวัดธรรมยุต จาํ นวน 17 วัด มีพระสงฆ-์ สามเณร รวม 4,219 คน แยกเป็นพระสงฆ์ 2,302 รปู และสามเณร 1,917 รูป ตามรายละเอียดดงั นี้ ประเภท มหานกิ าย (จาํ นวนรปู ) ธรรมยตุ (จาํ นวนรปู ) - พระสงฆ์ 2,202 100 - สามเณร 1,908 9 (ทม่ี า : สาํ นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดลําปาง และสํานักงานวฒั นธรรมจังหวัดลาํ ปาง ข้อมลู ณ วันท่ี 1 ตุลาคม 2554) กลมุ งานขอมลู สารสนเทศและการสือ่ สาร สาํ นกั งานจังหวัดลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวัดลําปาง 40 การสาธารณสุข ในปี 255๕ จงั หวัดลาํ ปางมีจํานวนสถานบริการสาธารณสุขภาครฐั ภาคเอกชน และอตั ราส่วน บคุ ลากรทางสาธารณสุขตอ่ ประชากร ดงั นี้ 3.1 สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ - โรงพยาบาลศนู ย์ 1 แหง่ 800 เตียง - โรงพยาบาลชุมชน 60 เตยี ง ๒ แห่ง 1๒0 เตียง - โรงพยาบาลชมุ ชน 30 เตยี ง ๑๐ แหง่ ๓๐0 เตยี ง - สถานีอนามัย 141 แห่ง - สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ชมุ ชน 5 แหง่ - ศูนยม์ ะเรง็ ลาํ ปาง 1 แหง่ 200 เตยี ง - โรงพยาบาลสงั กัดกระทรวงกลาโหม 1 แหง่ 150 เตยี ง 3.2 สถานบริการสาธารณสขุ ภาคเอกชน - โรงพยาบาล 2 แหง่ 113 เตียง - สถานพยาบาลเอกชน 176 แห่ง 3.3 สว่ นบคุ ลากรทางสาธารณสขุ ท่สี าํ คญั แยกได้ดงั นี้ ประเภท จาํ นวน (คน) อตั ราตอ่ ประชากร - แพทย์ 2๔๔ 1 : 3,104 - ทนั ตแพทย์ ๕๒ 1 : 14,567 - เภสชั กร 87 1 : 8,707 - พยาบาล 1 : 565 - เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข 1,340 1 : 1,042 - เจ้าหนา้ ทีอ่ น่ื ๆ (สายบรหิ าร) 727 1 : 5,335 - ลูกจ้างประจาํ 142 1 : 1,636 - ลกู จา้ งชวั่ คราว 463 1 : 460 - พนกั งานราชการ 1 : 15,150 1,648 50 (ที่มา : สาํ นกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ลาํ ปาง ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 30 พฤษภาคม ๒๕๕๕) กลุมงานขอ มลู สารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานจังหวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวัดลําปาง 41 อาชญากรรม กลุ่มความผดิ และสถติ กิ ารจบั กุม (ปี 255๔ เปรียบเทยี บปี 255๕) ปี พ.ศ.255๔ ปี พ.ศ.255๕ รอ้ ยละ เทียบ จบั กุม +เพ่ิม กลุม่ คดคี วามผดิ จบั ได้ จับได้ -ลด - คดอี ุกฉกรรจ์สะเทือนขวญั เกิด จับ จบั เกิด จบั จบั จบั ค้างเก่า 94.74 + 1 - ความผิดต่อชวี ิต ร่างกายและเพศ (คดี) (คน) (คดี) (คน) ราย คน 78.18 - 8 - คดีประทุษร้ายตอ่ ทรัพย์ 81.77 - 48 - คดีทน่ี ่าสนใจ 24 19 44 19 27 18 3 3 61.16 + 46 - คดีทีร่ ัฐเป็นผเู้ สียหาย 118 112 154 110 165 86 9 9 229 198 238 181 299 148 13 13 - 231 93 76 89 139 140 85 9 9 2,350 2,864 3,298 2,119 42 52 (ท่มี า : ตาํ รวจภูธรจังหวดั ลําปาง ข้อมูล ณ วันท่ี 31 พฤษภาคม 255๕) คดอี าญา ๕ กลุ่ม เปรยี บเทียบหว้ ง ๑ ตลุ าคม – ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔ กับ ๒๕๕๕ ยาเสพติด สถานการณ์ปัญหายาเสพติดในพื้นท่ีจังหวัดลําปาง ถือว่าเป็นพ้ืนท่ีไม่ค่อยรุนแรงมากนัก แต่เน่ืองจาก จังหวัดลําปางมีลักษณะภูมิประเทศที่ตั้งอยู่พ้ืนท่ีตอนในของภาคเหนือตอนบน มีอาณาเขตติดต่อกับ ๗ จังหวัด ซึ่งล้วนมีเส้นทางผ่านพ้ืนท่ีจังหวัดลําปาง และใช้เป็นเส้นทางลักลอบขนยาเสพติด โดยมีเส้นทางลําเลียงและ ขนส่ง รวม ๘ เสน้ ทาง คือ เสน้ ทางที่ ๑ เส้นทางหลกั จากจังหวดั เชยี งใหม่ – ลําปาง – ตาก เสน้ ทางท่ี ๒ เส้นทางหลกั จากจงั หวดั เชียงราย – พะเยา – ลาํ ปาง – ตาก เส้นทางท่ี ๓ เส้นทางรองและเสน้ ทางเฝ้าระวัง จากอาํ เภอเวียงปา่ เป้า – วงั เหนือ – แจห้ ่ม – เมอื ง ลําปาง – จังหวัดตาก เส้นทางที่ ๔ เส้นทางรองและเสน้ ทางเฝา้ ระวัง จากอําเภอเมอื งลําปาง – แมท่ ะ – ลอง จงั หวัดแพร่ เส้นทางที่ ๕ เสน้ ทางรองและเสน้ ทางเฝ้าระวงั จากอาํ เภอลี้ จังหวดั ลําพนู – เสริมงาม – เกาะคา เสน้ ทางที่ ๖ เส้นทางรองและเส้นทางเฝ้าระวัง จากอาํ เภอเถิน – ตําบลเวยี งมอก – อาํ เภอทุง่ เสลยี่ ม เส้นทางที่ ๗ เส้นทางรองและเสน้ ทางเฝา้ ระวงั จากจงั หวัดพะเยา – อาํ เภองาว – อาํ เภอสอง เส้นทางท่ี ๘ เส้นทางรองและเสน้ ทางเฝ้าระวัง จากตาํ บลแจ้ซ้อน อําเภอเมอื งปาน – ตําบลบา้ นเอ้อื ม อําเภอเมอื งลาํ ปาง แต่อย่างไรก็ตาม จังหวัดลําปางยังต้องเฝ้าระวังในส่วนของนักค้าท่ีมีการเคล่ือนไหวอยู่ และมีนักค้า นอกพื้นท่ีเข้ามากระทําผิดมากขึ้น โดยเฉพาะพ้ืนที่เขตติดต่อกับจังหวัดพะเยา และเชียงใหม่ ซ่ึงนักค้ามักอาศัย อยู่พื้นท่ีที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ดูแลเป็นที่กระทําผิด ในขณะเดียวกันในกลุ่มวัยรุ่น พบว่าเข้าไปมีส่วนเก่ียวข้องในการ กระทําผิดเก่ียวกับการใช้ยาเสพติดเพิ่มข้ึน สําหรับปัญหาพื้นที่ปลูกฝ่ินลดลง ไม่รุนแรงเหมือนจังหวัดอื่น ๆ ทั้งนี้ ได้มีการสนับสนุนภาคประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในพ้ืนท่ี ซ่ึงเป็น การปอ้ งกนั ปญั หามใิ หล้ ุกลามได้เปน็ อยา่ งดี ทีม่ า : ศนู ยอ์ ํานวยการพลังแผน่ ดนิ เอาชนะยาเสพตดิ จังหวดั ลาํ ปาง (ศพส.จ.ลป.) กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการสือ่ สาร สํานักงานจังหวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจังหวดั ลาํ ปาง 42 การจบั กุมคดยี าเสพตดิ จาํ แนกจาํ นวนคดแี ละจาํ นวนผตู้ อ้ งหาตามคดคี า้ ปงี บ ผลติ นาํ ขา้ สง่ ออก จาํ หนา่ ย ครอบครอง รวม ประมาณ เพอ่ื จาํ หนา่ ย คดี คน คดี คน คดี คน คดี คน คดี คน คดี คน 2550 13 3 0 0 0 0 155 188 119 170 287 361 2551 30 11 0 0 0 0 167 201 115 159 312 371 2552 23 12 0 0 0 0 153 181 291 332 2553 76 0 0 0 0 184 210 115 139 332 411 2554 84 0 0 0 0 161 201 359 460 2555 83 0 0 0 0 158 185 141 195 361 456 190 255 195 268 (ทมี่ า : ตํารวจภูธรจงั หวัดลาํ ปาง ขอ้ มูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2555) การจบั กุมคดยี าเสพตดิ จาํ แนกจาํ นวนคดแี ละจําแนกผตู้ ้องหาตามคดเี สพ ปงี บประมาณ ครอบครอง เสพ รวม คดี คน คดี คน คดี คน 2550 184 207 209 188 393 395 2551 202 208 286 251 488 459 2552 231 241 415 386 646 627 2553 305 320 563 505 868 825 2554 316 340 996 996 1,312 1,366 2555 269 296 813 813 1,082 1,109 (ท่ีมา : ตาํ รวจภูธรจงั หวัดลาํ ปาง ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2555) กลุมงานขอมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สํานกั งานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
การวิเคราะหศ์ ักยภาพโดยรวมของจงั หวดั ลาํ ปาง ปัจจัยภายใน (Internal Environment) ที่มผี ลกระทบต่อการพัฒนาจงั หวัดลําปาง บรรยายสรุปจงั หวัดลําปาง 43 จุดแขง็ (Strength) ของจงั หวดั ลําปาง จุดออ่ น (Weakness) ของจงั หวัดลําปาง กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการส่อื สาร สาํ นกั งานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th • เป็นแหล่งผลติ และจําหนา่ ยสนิ คา้ เซรามกิ คณุ ภาพดี และเป็นทย่ี อมรบั มากทสี่ ุด • ขาดแรงงานทางด้านการเกษตร และแรงงานฝมี อื ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตและการ ในประเทศ รวมถึงเป็นท่ียอมรบั ในตลาดตา่ งประเทศ บรกิ าร • ที่ตั้งของจังหวดั ซึง่ อยกู่ ึง่ กลางของภาคเหนือเปน็ จดุ ยทุ ธศาสตรท์ ่ีสามารถพฒั นา • ขาดการจัดการที่มปี ระสิทธิภาพ และการพัฒนาทเี่ ป็นระบบดา้ นการท่องเทย่ี ว เปน็ ศนู ยก์ ลางในการเชอื่ มโยงเศรษฐกิจของกลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนบนและ • ผลติ ผลทางการเกษตรซง่ึ เป็นทต่ี อ้ งการของประชาชนในพื้นทม่ี ีนอ้ ยไม่เพยี งพอต่อความ ตอนล่าง ต้องการ • มีทรพั ยากรธรรมชาตดิ า้ นแร่ธาตุ เชน่ ดินขาว ลิกไนต์ หินปนู ขเ้ี ถ้าลอยจาํ นวนมาก • ขาดความรว่ มมอื อย่างจรงิ จงั ของผู้ประกอบการ และบุคลากรภาคธุรกิจ • เป็นแหล่งผลติ ผลิตภณั ฑ์ทรพั ยากรธรรมชาตดิ า้ นแรธ่ าตุ ขนาดใหญข่ องประเทศ • ขาดการรวมกลมุ่ ในการผลติ และไม่มีศูนย์กลางในการจดั จําหน่ายผลผลติ ทางการเกษตร เช่น เหมอื งแม่เมาะ โรงงานปนู ซิเมนต์ และอุตสาหกรรมเซรามกิ • ขาดการสนบั สนุนจากทง้ั ภาครฐั และเอกชนในด้านเทคโนโลยีเพอ่ื ลดตน้ ทุนการผลติ • มแี หลง่ ท่องเทย่ี วที่เปน็ เอกลกั ษณแ์ ละหลากหลาย มศี กั ยภาพทส่ี ามารถพฒั นา • ยงั ไมม่ กี ารวางแผนพฒั นาแรงงานท่ีสอดคล้องกบั แผนพฒั นาจงั หวดั ไปสู่การเป็นทรี่ จู้ ักและยอมรับในระดับสากล • ประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจในศกั ยภาพของทรัพยากรภายในจงั หวัด และไมส่ ามารถ • เปน็ แหล่งผลติ ไมส้ กั และผลิตภัณฑจ์ ากไม้สกั สร้างรายได้และอาชีพให้จงั หวดั นาํ ไปใชไ้ ด้อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม ลําปาง • ประชาชนขาดความรู้ในเรื่องการเพ่ิมผลผลติ และวิธีการเพิม่ ประสิทธภิ าพการผลิต • มแี หลง่ กกั เก็บนา้ํ เพอ่ื การเกษตรขนาดใหญ่ เชน่ เขอื่ นกิว่ ลม เข่ือนกว่ิ คอหมา • ขาดการประชาสมั พนั ธเ์ พือ่ การท่องเท่ยี ว • มีองคก์ รและความรว่ มมอื อย่างเข็มแขง็ ของเครอื ขา่ ยทง้ั ภาครฐั และเอกชนในการ แกป้ ัญหาและพัฒนาสังคม • จงั หวดั ลาํ ปางยงั มีระดับความรนุ แรงของปัญหาเด็ก เยาวชนและผสู้ ูงอายุที่เปน็ ภาระพ่งึ พงิ ทางสงั คม • มคี วามมน่ั คงและเขม้ แข็งในการคงอยขู่ องวถิ ชี วี ติ ความเป็นอยแู่ ละวฒั นธรรม แบบวิถลี ําปางดงั้ เดมิ • บุคลากรและสถานท่ดี า้ นงานบริการสขุ ภาพไม่เพียงพอตอ่ ความต้องการของประชาชน • ขาดการสนบั สนุน เชิดชูและนําไปใช้ประโยชนจ์ ากภมู ิปัญญา และปราชญท์ อ้ งถน่ิ • เปน็ จงั หวัดทอี่ ดุ มไปดว้ ยภูมิปญั ญา และปราชญท์ อ้ งถ่นิ จํานวนมาก หลากหลาย • ขาดการสร้างความรคู้ วามเข้าใจและจติ สํานกึ แกป่ ระชาชนในการอนรุ ักษท์ รพั ยากร สาขา ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม • ทต่ี ั้งของจงั หวัดไม่ติดเขตชายแดน เอือ้ ตอ่ การดแู ลรักษาความมัน่ คง • การทาํ งานจากทุกภาคสว่ นยังขาดการบูรณาการอยา่ งแทจ้ รงิ • ประชาชนยังคงมคี า่ นยิ มในการพึ่งพาคนอ่ืนโดยไม่คดิ ชว่ ยเหลอื ตนเองกอ่ น • ประชาชนในทอ้ งถ่ินมีวถิ ีชีวิต วฒั นธรรม ทีใ่ กลเ้ คียงกัน • ขาดกลไกในการอนุรกั ษ์ สบื สาน และสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของจังหวดั • เปน็ จงั หวัดทมี่ ที รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมท่งี ดงาม มคี ณุ ค่าและสมบูรณ์ • องคก์ รภาคเอกชนให้ความรว่ มมอื ในการอนรุ กั ษ์
ปจั จยั ภายใน (Internal Environment) ท่ีมผี ลกระทบตอ่ การพฒั นาจังหวดั ลาํ ปาง บรรยายสรุปจงั หวัดลําปาง 44จดุ แข็ง (Strength) ของจงั หวัดลําปางจดุ อ่อน (Weakness) ของจังหวัดลาํ ปาง กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการส่อื สาร สาํ นกั งานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th• ผบู้ รหิ ารใหค้ วามสําคญั และสนับสนุนการดาํ เนนิ งานของหนว่ ยงาน• ขาดการสรา้ งความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ภยั จากการค้า และการเสพยาเสพติดท่ชี ดั เจน และครอบคลุม ดา้ นความมั่นคงอย่างตอ่ เนือ่ ง ทั่วถงึ ทกุ พ้นื ท่ี • มีการกระจายอาํ นาจในการทํางานท่ัวทั้งจงั หวดั • ขาดมาตรการทเ่ี ข้มงวดในการดแู ลความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยส์ ินของประชาชน • ขาดการสร้างความรูค้ วามเขา้ ใจและจติ สํานกึ แกป่ ระชาชนในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ • บุคลากรภาครฐั และเอกชนมคี วามรคู้ วามสามารถ และส่ิงแวดล้อม • สถาบันการศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษาในจังหวัดมศี กั ยภาพและความ • ขาดมาตรการทจ่ี ริงจังและชดั เจนในการควบคมุ ป้องกัน และแก้ปญั หามลพษิ พรอ้ มในการใหก้ ารสนับสนุนและรว่ มมอื อย่างเตม็ ท่ี • มกี ารบกุ รกุ พ้นื ทีป่ ่าและการทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างตอ่ เนือ่ ง ต่อองคก์ รภาครฐั ในการพัฒนาความรดู้ า้ นการบริหารจัดการ • ยงั ไมม่ กี ารจัดทาํ โซนนง่ิ (Zoning) การจดั ทาํ เขตอนรุ ักษ์ (Core zone) พนื้ ทก่ี นั ชน (Buffer zone) พน้ื ทีพ่ ฒั นา (Development zone) เพื่อการวางผงั เมอื งและใช้ประโยชน์ในเชิงพืน้ ทอี่ ยา่ งเหมาะสม • ขาดการวางแผนบรหิ ารจัดการเพือ่ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมอยา่ งยงั่ ยนื • ขาดการบรู ณาการการทํางานจากทกุ ภาคส่วนท่เี กยี่ วขอ้ ง • ประชาชนขาดความรใู้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มอย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม • ขาดการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วนอยา่ งแทจ้ รงิ สง่ ผลใหข้ าดการบรู ณาการและเชอ่ื มโยงแผนงาน โครงการในทุกระดบั ของจงั หวัด • ระบบงานประชาสัมพนั ธ์ขาดประสทิ ธภิ าพ • ศักยภาพของทรพั ยากรบุคคลทงั้ ภาครัฐและเอกชนไม่ถกู นํามาใชใ้ นการพฒั นาการบริหารจดั การอย่างเตม็ ท่ี • บคุ ลากรภาครัฐขาดทกั ษะการประยกุ ตใ์ ช้เคร่อื งมือทางการบรหิ ารและแนวคดิ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ • มีการเปล่ยี นแปลงผู้บรหิ ารระดบั สงู ของจงั หวัดบอ่ ยครัง้ ทาํ ใหข้ าดความต่อเนอ่ื งของนโยบาย ในการบริหารของจงั หวดั • ระบบขอ้ มลู สารสนเทศของจงั หวัดยงั ขาดประสทิ ธิภาพในการนําไปใชไ้ ด้อยา่ งแท้จรงิ • การจดั สรรงบประมาณยังไมท่ ั่วถึงและเป็นธรรม • ขาดมาตรการทเ่ี ขม้ งวดในการดแู ลความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ ินของประชาชน
ปจั จยั ภายนอก (External Environment) ท่มี ีผลกระทบตอ่ การพัฒนาจงั หวัดลําปาง บรรยายสรุปจงั หวัดลําปาง 45โอกาส (Opportunity) ทีเ่ อ้อื ตอ่ การพฒั นาจังหวัดลาํ ปางภัยคุกคาม/ปญั หา (Threats) ท่ีเปน็ อปุ สรรคต่อการพฒั นาจงั หวัดลาํ ปาง กลมุ งานขอ มลู สารสนเทศและการส่อื สาร สาํ นกั งานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th• นโยบายในระดับประเทศ ทป่ี ระกาศให้การทอ่ งเท่ียวเป็นวาระแหง่ ชาติ• ภาวะถดถอยของเศรษฐกจิ ในระดับมหภาค • นโยบายระดับชาติมงุ่ เนน้ การสนับสนนุ และกระตุ้นการขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ ทง้ั • ววิ ัฒนาการทางดา้ นเทคโนโลยมี ีผลต่อการเปล่ียนแปลงโครงสร้างทาง ภาคอุตสาหกรรมการผลติ และบริการ สังคม วถิ ชี ีวติ ความเปน็ อยู่ • กระแสมรดกโลกจุดประกายการพัฒนาแหล่งท่องเทยี่ วใหจ้ ังหวัด • การพฒั นาผลติ ภณั ฑต์ กแต่งทางพนั ธุกรรม (GMOs) จากประเทศพฒั นา • กระแสความตนื่ ตวั ในการธํารงไวซ้ ่งึ อัตลกั ษณ์และวัฒนธรรมของท้องถ่นิ และชุมชน แลว้ • แนวทางการพฒั นาประเทศทีย่ ึดหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง • การขยายกจิ การเชิงรกุ ของธรุ กจิ ขนาดใหญจ่ ากตา่ งประเทศ • นโยบายของกระทรวงวฒั นธรรมในการปลกุ จติ สาํ นึกในการอนุรกั ษม์ รดกทาง • คา่ นิยมในการบริโภคสินคา้ นาํ เข้าจากต่างประเทศ วฒั นธรรม • สัดสว่ นประชากรผู้สงู อายุตอ่ วัยทาํ งานและเด็กมีแนวโน้มเพมิ่ ข้ึน • กระแสการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมเพอ่ื ปอ้ งกันและหยุดยัง้ ภาวะ • การไหลบ่าเขา้ มาของวัฒนธรรมต่างชาติ โลกร้อน • อัตราการเพมิ่ ข้นึ ของโรคระบาดในหลายประเทศทั่วโลก • ประเทศไทยได้ลงนามความรว่ มมือในอนสุ ญั ญาความหลากหลายทางชวี ภาพเพือ่ • วกิ ฤตคิ วามแปรปรวนทางธรรมชาตแิ ละสภาวะโลกรอ้ น การอนุรักษท์ รพั ยากรทางธรรมชาติอยา่ งย่งั ยืน • การแทรกแซงทางการเมอื งมผี ลต่อการตัดสนิ ใจในการบรหิ าร • รฐั ธรรมนญู ปี 2550 สนับสนุนการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม จดั การ และการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาตสิ นบั สนุนการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ • ไมม่ กี ารจดั สรรงบประมาณเพือ่ การบริหารพืน้ ที่และชุมชนอย่างแทจ้ รงิ และสง่ิ แวดลอ้ ม • การเมอื งขาดเสถยี รภาพ รฐั บาลเปลี่ยนแปลงบ่อย ส่งผลต่อการขับเคล่อื น • ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยแี ละการสื่อสารเออ้ื ต่อการพัฒนาระบบเทคโนโลยี ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาในทกุ ระดบั ของประเทศ สารสนเทศทส่ี นับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการตดั สินใจ • การเชอื่ มโยงเครือข่ายการสื่อสารและเทคโนโลยใี ห้เออื้ ต่อการพัฒนาของกลุ่มจงั หวดั ภาคเหนอื • แนวคดิ และทฤษฎใี นการบรหิ ารจดั การมกี ารปรับปรงุ ใหท้ ันสมยั และสามารถ นําไปใชไ้ ด้ในเชิงปฏิบัติ
บรรยายสรุปจังหวัดลําปาง 46 วิสัยทศั น์ (VISION) นครลําปางเปน็ เลิศด้านเซรามิกและหัตถอุตสาหกรรม โดดเด่นด้านการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ธรรมชาติและวัฒนธรรม ผู้นําด้านการผลติ เกษตรปลอดภยั รว่ มสรา้ งสงั คมไทยอยดู่ ตี ามวิถพี อเพยี ง พนั ธกจิ 1. ดา้ นเศรษฐกจิ : พฒั นา กระตุน้ และส่งเสริมระบบเศรษฐกิจทั้งในภาคอุตสาหกรรมการ ผลิต การบริการ และอุตสาหกรรมการเกษตร โดยใช้วัฒนธรรมเป็นฐานในการสร้าง มูลคา่ เพิม่ 2. ด้านสังคม : พัฒนาจังหวัดลําปางให้เป็นสังคมผาสุก ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีบน ฐานความรู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นผสานองค์ความรู้สมยั ใหม่ 3. ด้านความมั่นคง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : ส่งเสริมกระบวนการมีส่วน ร่วมในการดําเนินงานด้านความมั่นคง และสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ ม โดยใชแ้ นวทางการจดั การแบบชมุ ชนเปน็ ฐาน 4. ด้านบริหารจัดการ : พัฒนาระบบบริหารจัดการของจังหวัดอย่างต่อเน่ือง ตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เพ่ือเพ่ิมสมรรถนะขององค์กรและขีด ความสามารถทางการแข่งขัน ภายใต้บรบิ ทของการเปลี่ยนแปลง ประเด็นยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ 1 :การส่งเสริมความเขม้ แขง็ ในการดาํ เนินงานด้านความมน่ั คง และ สร้างสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ยทุ ธศาสตร์ 2 :การพัฒนาคุณภาพชีวติ ทีด่ ีของประชาชนและสรา้ งสังคมให้มี ความเขม้ แขง็ เป็นสังคมแหง่ ภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ยทุ ธศาสตร์ 3 :การส่งเสรมิ และพฒั นาการเกษตรสูเ่ กษตรปลอดภยั ยทุ ธศาสตร์ 4 :การพัฒนาและยกระดับมาตรฐานระบบอตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี ว เชงิ ธรรมชาติและวฒั นธรรม สู่มาตรฐานสากล ยทุ ธศาสตร์ ๕ :การพัฒนาเซรามกิ และสง่ เสริมหตั ถอตุ สาหกรรมเพอื่ เพ่มิ มูลคา่ ทางการค้าและการลงทนุ ท้งั ระบบ กลุมงานขอ มูลสารสนเทศและการสือ่ สาร สาํ นกั งานจังหวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จงั หวดั ลําปาง คาํ นาํ จังหวัดลําปางได้จัดทําเอกสารบรรยายสรุป โดยรวบรวมข้อมูลด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับจังหวัดลําปาง เพื่อใช้เป็นประโยชน์ในการบริหารการพัฒนาจังหวัด และประกอบการวางแผนพัฒนาด้านต่างๆ การจัดเก็บและ รวบรวมข้อมูล ได้รับการสนับสนุนข้อมูลจากส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน โดยเนื้อหาประกอบด้วยสัญลักษณ์จังหวัด ประวัติความเป็นมา ของจังหวัด สภาพท่ัวไป การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ลักษณะโครงสร้าง พ้ืนฐาน และสภาพทางสังคม และเพื่อให้การเข้าถึงข้อมูลบรรยายสรุปได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว จังหวัดลําปางจึงได้เผยแพร่ข้อมูลฯ ทางเว็บไซต์ของจังหวัด www.lampang.go.th อกี ทางหนึ่งดว้ ย ผลสําเร็จของการจัดทําเอกสารบรรยายสรุปจังหวัดลําปาง เกิดจากความ ร่วมมือและการสนับสนุนข้อมูล จากทั้งภาคราชการและเอกชนในการให้ข้อมูล ทําให้ บรรยายสรุปจังหวัดลําปางมีความสมบูรณ์และครอบคลุม เพื่อเป็นข้อมูลกลาง ในการใช้ประโยชน์รว่ มกัน จึงขอขอบคุณทกุ ภาคสว่ น มา ณ โอกาสนี้ (นายธวัชชัย เทอดเผา่ ไทย) ผวู้ า่ ราชการจังหวดั ลาํ ปาง กลมุ งานขอมลู สารสนเทศและการสื่อสาร สาํ นักงานจงั หวดั ลําปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรปุ จังหวดั ลําปาง สารบญั หน้า ๑. คํานํา ๑ ๒. ประวัติจงั หวัด ๓. ขอ้ มลู ทั่วไป ๒–๓ ¾ สญั ลกั ษณ์ (ตราประจาํ จงั หวดั ดอกไม้ประจาํ จังหวัด ๔–๙ ตน้ ไม้ประจําจังหวัด และคาํ ขวัญจังหวดั ) ๑๐-๑๒ ๑๓-๓๔ ¾ สภาพท่ัวไป ๓๕-๓๘ ๔. สภาพการเมืองและการปกครอง ๓๙-๔๒ ๕. สภาพทางเศรษฐกิจ ๔๓-๔๕ ๖. ลักษณะโครงสร้างพื้นฐาน ๔๖ ๗. สภาพทางสงั คม ๘. การวเิ คราะหศ์ กั ยภาพโดยรวมของจังหวัดลาํ ปาง ๙. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเดน็ ยทุ ธศาสตร์จังหวดั กลมุ งานขอมูลสารสนเทศและการสอ่ื สาร สาํ นกั งานจงั หวัดลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
บรรยายสรุปจงั หวดั ลําปาง ทปี่ รึกษา นายธวชั ชยั เทอดเผ่าไทย ผวู้ ่าราชการจังหวัดลาํ ปาง นายสวุ รรณ กลา่ วสุนทร รองผูว้ ่าราชการจงั หวดั ลําปาง นายสรุ ชัย จงรักษ์ รองผู้ว่าราชการจงั หวัดลาํ ปาง บรรณาธิการ นายสําเริง ไชยเสน หัวหนา้ สาํ นกั งานจังหวดั ลาํ ปาง นายวรการ ปญั ณะวิชยั หัวหนา้ กลุ่มงานขอ้ มูลสารสนเทศและการสือ่ สาร กองบรรณาธิการ นายนรุ ักษ์ วงคอ์ นิ ต๊ะวัง นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชํานาญการ นางนงลักษณ์ ใจปลา นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชาํ นาญการ นายถาวร จันทรต์ ๊ะ นักวิชาการสาธารณสขุ ชาํ นาญการ นางสาววนั วสิ าข์ อนิ ทร์รอด นกั วิชาการคอมพิวเตอรป์ ฏบิ ตั ิการ นางกมลทิพย์ จันทรานิมิตร เจา้ พนักงานธรุ การชํานาญงาน นายสุรสีห์ ฉนั ทกลุ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผน จดั ทําโดย กลุม่ งานขอ้ มลู สารสนเทศและการสื่อสาร สํานกั งานจังหวดั ลําปาง โทรศพั ท/์ โทรสาร ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ (มท.) ๒๘๕๓๙ E-mail : [email protected] กลมุ งานขอ มูลสารสนเทศและการส่อื สาร สาํ นกั งานจงั หวดั ลาํ ปาง โทร. ๐๕๔-๒๖๕๐๒๗ www.lampang.go.th
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: