แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 สารละลาย เรอื่ ง ร้อยละโดยปรมิ าตรตอ่ ปรมิ าตร รหสั วชิ า ว22101 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นวีรวฒั น์โยธนิ เวลา 2 ช่ัวโมง สอนวันที่ 21 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 ผ้สู อน นายวิทวัส หอมขจร 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้วี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ ระหว่างสมบัติของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการ เปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี ตัวชี้วัด ม.2/5 ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลาย ในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรตอ่ ปรมิ าตร มวลตอ่ มวล และมวลตอ่ ปรมิ าตร 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรสู้ ่ตู วั ชี้วัด 2.1 ด้านความรู้(K) (1) อธิบายความหมายของความเขม้ ข้นในหน่วยรอ้ ยละโดยปรมิ าตรตอ่ ปริมาตรได้ (2)ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลายในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละโดย ปริมาตรต่อ ปรมิ าตรได้ 2.2 ดา้ นทักษะกระบวนการ(P) (1) สามารถคำนวณความเขม้ ข้นของสารละลายในหน่วยรอ้ ยละโดยปรมิ าตรต่อปริมาตร 2.3 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์(A) (1) ความซอื่ สัตย์สุจรติ (2) มวี ินัย (3) ใฝ่เรียนรู้ (4) ม่งุ มนั่ ในการทำงาน (5) จิตสาธารณะ
3. สาระสำคญั ความเข้มข้นของสารละลาย เป็นการระบุปริมาณตัวละลายในสารละลาย หน่วยความเข้มข้น มีหลายหน่วย ท่นี ิยมระบุเป็นหน่วยเป็นรอ้ ยละปรมิ าตรตอ่ ปริมาตร มวลต่อมวล และมวลต่อปริมาตร โดยร้อยละ ซึ่งร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร เป็นการระบุปริมาตรตัวละลายในสารละลาย 100 หน่วยปริมาตรเดียวกัน นิยมใช้กับสารละลายที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส และร้อยละโดยมวลต่อมวล เป็นการระบมุ วลตวั ละลายในสารละลาย 100 หนว่ ยมวลเดียวกันนยิ มใชก้ บั สารละลายที่มีสถานะเป็น ของแข็ง 4. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน (1) ความสามารถในการสือ่ สาร (2) ความสามารถในการคิด (3) ความสามารถในการแก้ปญั หา (4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ (5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. สาระการเรียนรู้ (1) ความหมายของความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตร (2) คำนวณหาความเขม้ ข้นของสารละลายในหน่วยรอ้ ยละโดยปรมิ าตรตอ่ ปริมาตร 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ ดำเนินกิจกรรมการเรยี นรู้ตามรูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E 6.1 ขน้ั สรา้ งความสนใน (Engagement) 6.1.1 ครูแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนในวันน้ีแก่นักเรียน 6.1.2 ครูตงั้ คำถามกระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี น โดยมแี นวคำถามดังตอ่ ไปน้ี (1) นักเรียนคิดว่าเครื่องดื่มต่างๆ บริษัทมีวิธีการผลิตอย่างไร จึงทำให้เครื่องดื่มมี มาตรฐานเดยี วกนั (แนวคำตอบ ชง่ั วัด ตวง ผลิตตามสูตร) 6.1.3 ครูตัง้ คำถามทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน โดยมแี นวคำถามดังตอ่ ไปนี้ (1) เคร่อื งดืม่ เกลือแร่ชนิดหนง่ึ ปริมาตร 200 cm3 ประกอบดว้ ยน้ำตาลรอ้ ยละ 10 โดยมวลต่อปริมาตร แสดงว่าเครื่องดื่มเกลือแร่ชนิดนี้มีน้ำตาลอยู่ 20 กรัม เป็นคำตอบที่ถูกหรือผิด (แนวคำตอบ ถูกตอ้ ง เพราะ นำ้ ตาลร้อยละ 10 โดยปริมาตรตอ่ ปรมิ าตร หมายถึง ในสารละลาย 100
cm3 มีน้ำตาลอยู่ 10 กรัม ดังนั้นถ้าสารละลายเกลอื แร่ มีปริมาตร 200 cm3 จะต้องมีน้ำตาลอยู่ 20 กรมั ถงึ จะมีความเขม้ ข้นร้อยละ 10 โดยมวลตอ่ ปริมาตร ) (2) ในปัสสาวะของมนษุ ย์ 100 cm3 ประกอบด้วยยเู รีย 2.5 กรัม ดังนั้นความเข้มข้น ของยเู รียในปัสสาวะเท่ากับ 2.5 % นักเรียนคดิ วา่ ถูกหรอื ผดิ (ถกู ต้อง เพราะ 25% หมายถึง มียูเรีย 25 กรัม ในสารละลาย 100 cm3) 6.1.3 ครตู งั้ คำถามและกำหนดสถานการณเ์ ขา้ ส่บู ทเรยี น โดยมีแนวคำถามดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย คืออะไร (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจ) (2) นักเรียนจะสามารถระบุปริมาณตัวละลายในสารละลายในหน่วยความเข้มข้น เปน็ ร้อยละโดยปริมาตรตอ่ ปริมาตร ไดอ้ ยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจ) 6.2 ข้นั การสำรวจและค้นหา (Exploration) 6.2.1 นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจของนักเรียนเอง โดยแบ่งเป็น Group of four ดังน้ี คนที่ 1 คณุ อำนวย มหี น้าท่อี ำนวยความสะดวกแกส่ มาชกิ ภายในกลมุ่ คนที่ 2 คุณวางแผน มีหนา้ ท่ีกำหนดแนวทางการทดลอง วางแผนการทำงานกลุม่ คนท่ี 3 คณุ นำเสนอ ทำหนา้ ทน่ี ำเสนอผลงานของกลมุ่ คนที่ 4 คุณรวบรวม ทำหนา้ ที่ รวมรวมขอ้ มูลของกลุม่ แลว้ บนั ทกึ ผล 6.2.2 นักเรียนหาคำตอบดังต่อไปนี้ ว่าเราจะสามารถระบุความเข้มข้นของสารละลายใน หนว่ ยรอ้ ยละโดยปริมาตรต่อปรมิ าตร ไดอ้ ย่างไร โดยผ่านกจิ กรรม 1.6 6.2.2 ก่อนให้นักเรียนทำกิจกรรมครูได้ชี้แจงความปลอดภัยของการใช้สารเคมี การใช้ อุปกรณใ์ ห้นกั เรียนก่อนทำกิจกรรมการทดลอง เพอื่ ความปลอดภยั ให้เข้าใจทกุ คน และอธิบายวิธีการ ทดลองแกน่ ักเรยี น (เช่น นักเรียนหา้ มดมสารเคมี ห้ามใหส้ ารเคมโี ดนผวิ หนัง หา้ มหยอกล้อกนั ขณะทำ การทดลอง ใชอ้ ปุ กรณเ์ ครอ่ื งแก้วอย่างระมดั ระวัง ) 6.2.3 ให้ตัวแทนกลุ่มออกมารบั อปุ กรณใ์ นการทำกจิ กรรม พรอ้ มท้งั แจกใบกจิ กรรม 6.2.4 นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ บันทกึ ผลในกลุ่มของตนเอง 6.3 ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) 6.3.1 ครูขออาสาสมคั รแต่ละกลมุ่ ในการตอบคำถามหลังจากการทำกิจกรรมดงั ต่อไปนี้ กลุ่มที่ 1 สารละลายในบีกเกอร์ทั้ง 2 ใบ มีความเข้มข้นของสีเหมือนหรือต่างกัน อย่างไร (แนวคำตอบ ตา่ งกัน โดยบกี เกอร์ใบที่ 1 มคี วามเขม้ ของสีมากกวา่ บีกเกอร์ใบที่ 2)
กลมุ่ ที่ 2 การเตรียมสารละลายบีกเกอรท์ งั้ 2 ใบใชส้ ารละลายเอทานอลผสมสีเท่ากัน หรือไม่และปริมาตรสุดท้ายของสารละลายเท่ากันหรือไม่อย่างไร (แนวคำตอบ ใช้สารละลายเอทา นอลไม่เท่ากัน ในบีกเกอร์ใบแรกใช้เอทานอลปริมาตร 20 cm3 ใบที่ 2 ใช้ปริมาตรเอทานอล10 cm3 และปรมิ าตรสดุ ท้ายของสารละลายทงั้ 2 บกี เกอร์มปี รมิ าตร เท่ากนั ) กลมุ่ ที่ 3 สารละลายเอทานอลผสมสีในบีกเกอร์ทั้ง 2 ใบ มคี วามเข้มข้นข้นในหน่วย ร้อยละโดยปรมิ าตรตอ่ ปรมิ าตรเทา่ กันหรือ ไม่อยา่ งไร (แนวคำตอบ สารลายเอทานอลผสมสีในบีกเกอร์ทั้ง 2 ใบ มีความเข้มข้นไม่เท่ากันโดยใบแรกมี ความเข้มข้นร้อยละ 20 โดยปริมาตรต่อปริมาตร และใบที่ 2 มีความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยปริมาตร ต่อปรมิ าตร) กลุ่มที่ 4 ความเข้มข้นของสารละลายมีผลต่อความเข้มของสีสารละลายหรือไม่ อย่างไร (แนวคำตอบ ความเข้มข้นของสารละลายมีผลต่อสีของสารละลาย โดยในบีกเกอร์ที่มีความ เข้มข้นของสารละลายมากกวา่ จะมสี ที เ่ี ข้มกวา่ ) 6.3.1 นักเรียนร่วมกันสรุปและอภิปรายผลการทำกิจกรรมที่ 1.6 ระบุความเข้มข้นของ สารละลายในหนว่ ยรอ้ ยละปรมิ าตรตอ่ ปริมาตรไดอ้ ยา่ งไร โดยใชแ้ นวคำถามดังต่อไปนี้ (1) จากกิจกรรมที่ 1.6 สรุปได้ว่าอย่างไร (แนวคำตอบ สารละลายเอทานอลผสมสี ในบีกเกอร์ที่ 1 และ 2 มีความเข้มของสีตา่ งกนั เนื่องจากมีความเข้มข้นต่างกัน คือ ร้อยละ 20 และ รอ้ ยละ 10 ปรมิ าตรตอ่ ปริมาตร ตามลำดับ ) (2) ใหต้ วั แทนกลมุ่ ท่ไี ดร้ ับมอบหมายเตรยี มออกมานำเสนอผลการทดลอง (3) นักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้ข้อสรุปว่า สารละลายเอทานอลผสมสีที่มีตัว ละลายปรมิ าตรตา่ งกนั ในตัวทำละลายทมี่ ปี ริมาตรเท่ากัน จะมีความเข้มข้นตา่ งกนั สามารถระบุความ เขม้ ข้นของสารละลายโดยบอกปริมาตรของตัวละลายในตวั ทำละลายปรมิ าตร 100 cm3 ระบุความเข้มข้นของสารละลายโดยบอกปริมาตรของตัวละลายในตัวทำละลาย ปริมาตร 100 หนว่ ยปรมิ าตร เราเรียกความเข้มข้นน้วี า่ ร้อยละโดยปรมิ าตรตอ่ ปรมิ าตร โดยสามารถพจิ ารณาความสัมพนั ธ์ ดงั นี้ รอ้ ยละโดยปรมิ าตรตอ่ ปรมิ าตร (%V/V) =ปปรริมมิ าาตตรรขขอองงสตาวั รลละะลลาายย x 100
6.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 6.4.1 ครตู งั้ คำถาม โดยมีแนวคำถามดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ในการเตรียมสารละลายเพือ่ ทดลองแต่ละครัง้ ต้องคำนงึ ถึงสิ่งใดบ้าง เพราะเหตุ ใด (จำเป็นต้องทราบอัตราส่วนระหว่างปริมาตรตัวละลายกับปริมาณสารละลายหรือทราบความ เขม้ ข้นของสารละลาย เพื่อใหไ้ ด้สารท่ีมสี มบตั ติ รงกับความต้องการ) (2) นักเรียนสามารถนำความรู้จากการทำกิจกรรมที่ 1.6 ระบุความเข้มข้นของ สารละลายในหน่วยร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตรได้อย่างไร ไปใช้ได้หรือไม่ อย่างไร (ในการ เปรยี บเทยี บความเข้มข้นของสารละลายทเ่ี กดิ จากของเหลวละลายในของเหลว เชน่ แอลกอฮอล์ล้าง แผล ) 6.4.2 ครตู ้งั คำถาม ทบทวนความเขา้ ใจมแี นวคำถามดงั ตอ่ ไปนี้ (1) แอลกอฮอล์ล้างมือขวดที่ 1 มีความเข้มข้นรอ้ ยละ 60 กบั แอลกอฮอล์ขวดท่ี 2 มี ความเข้มข้นร้อยละ 75 อยากทราบว่าแอลกอฮอล์ทั้งสองขวดนี้มีแอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลายอยู่ เท่ากนั หรือไม่ อย่างไร (ไมเ่ ท่ากนั ขวดที่ 1 มีแอลกอฮอล์อยู่ร้อยละ 60 และขวดที่ 2 มีแอลกอฮอล์อยู่ รอ้ ยละ 75 ) 6.4.3 ให้นักเรียนตอบคำถาม ดงั ต่อไปน้ี (1) น้ำส้มสายชูที่มีความเข้มข้นของกรดน้ำส้มร้อยละ 5 โดยปริมาตรต่อปริมาตร จำนวน 3 ลติ ร จะมกี รดน้ำสม้ เป็นองค์ประกอบก่ลี กู บาศกเ์ ซนตเิ มตร (แนวคำตอบ 150 cm3) (2) อากาศมีแก๊สออกซิเจนอยู่รอ้ ยละ 21 โดยปริมาตรต่อปริมาตร ถ้าต้องการแยก แก๊สออกซิเจนจำนวน 63,000 ลิตรออกจากอากาศ จะต้องใช้อากาศกี่ลิตร (แนวคำตอบ 300,000 ลติ ร) 6.4.4 กำหนดโจทย์การคำนวณความเข้มข้นรอ้ ยละโดยปรมิ าตรตอ่ ปรมิ าตรเพือ่ ให้นักเรียน เกิดองค์ความรู้ใหม่ จำนวน 5 ข้อ แล้วขออาสาสมัครให้ออกมาเฉลยหน้าชั้นเรียน นักเรียนคนอ่ืน ชว่ ยกันอภิปรายและหาคำตอบชว่ ยด้วย โดยมคี ำถามดงั นี้ (1) เมื่อเติมเอทานอล ปริมาตร 50 ลูกบาศก์เซนติเมตรในน้ำกลั่น 150 ลูกบาศก์ เซนติเมตร สารละลายที่ได้มีความเข้มข้น ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตรเป็ นเท่าไร ( แนวคำตอบ 25 % V/V ) (2) สารละลายกรดไฮโดรคลอริก ประกอบด้วยกรดไฮโดรคลอริก จำนวน 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในน้ำ 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความเข้มข้นในหน่วยร้อยละโดยปริมาตรต่อ ปรมิ าตรเปน็ เท่าใด (แนวคำตอบ 16.66 % V/V)
(3) สารละลายกรดไนตริก ประกอบดว้ ยกรดไนตรกิ จำนวน 25 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในน้ำ 225 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีความเข้มข้นในหน่วยร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตรเป็นเท่าใด ( 10 % V/V) (4) จะต้องใช้กรดอะซิติกกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร ในสารละลาย 380 ลูกบาศก์ เซนติเมตร เพื่อให้ได้สารละลายกรดอะซิติกความเข้มข้นร้อยละ 12 โดยปริมาตรต่อปริมาตร (แนวคำตอบ 45.6 cm3.) (5) แก๊สหุงต้มเป็นสารละลายของแก๊สโพรเพนและบิวเทนถ้าแก๊สหุงต้มถังหนึ่งมี ปริมาตร 40 ลิตร มีแก๊สบิวเทนเป็นองค์ประกอบอยู่ 8 ลิตร แก๊สหุงต้มถังนี้มีความเข้มข้นของแก๊ส บวิ เทนรอ้ ยละเทา่ ใดโดยปรมิ าตรต่อปรมิ าตร (แนวคำตอบ 20 %V/V) 6.5 ขั้นประเมนิ (Evaluation) 6.5.1 ครปู ระเมินความเขา้ ใจของนักเรยี น โดยใช้กจิ กรรม Exit ticket โดยให้นักเรียนเขียน สิ่งที่รู้สึกประทับใจในการเรียนครั้งนี้และสิ่งที่นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับในวันนี้ไปใช้ใน ชีวิตประจำวนั คนละ 3 ขอ้ 7. สอื่ การเรียนร้/ู แหล่งการเรียนรู้ (1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั กลุ่ม สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) (2) สารเคมแี ละอปุ กรณก์ ารทดลอง กิจกรรมที่ 1.6 ระบคุ วามเขม้ ขน้ ของสารละลายในหน่วยร้อย ละได้อยา่ งไร (3) ใบกจิ กรรมท่ี 1.6 ระบคุ วามเข้มขน้ ของสารละลายในหน่วยร้อยละได้อยา่ งไร (4) สอื่ Power point
8. การวัดและประเมนิ ผล ภาระงานและชิน้ งาน สิ่งทตี่ ้องการวัด วธิ ีการวัด เคร่ืองมือวัด เกณฑก์ าร ประเมิน - กิจกรรมการทดลอง 1. ดา้ นความรู้(K) -ป ร ะ เ ม ิ น จ า ก ใ บ - แนวคำตอบใบ -นักเรยี นสามารถ ท่ี 1.6 ระบุความเขม้ ข้นของ (1) อธิบายความหมายของ กิจกรรมที่ 1.6 ความ กิจกรรมที่ 1.6 ความ ตอบคำถาม ถูกต้อง สารละลายในหน่วยร้อยละ ความเข้มข้นในหน่วยร้อยละโดย เข้มข้นของสารละลาย เข้มข้นของ ได้ 6 คะแนน ถือวา่ ได้อย่างไร ปรมิ าตรต่อปริมาตรได้ ในหน่วยรอ้ ยละ สารละลายในหนว่ ย ผ่านเกณฑ์ - ใบกิจกรรมที่ 1.6 (2) ระบปุ ริมาณตวั ละลายใน - ประเมินจากการตอบ ร้อยละ ร ะ บ ุ ค ว า ม เ ข ้ ม ข ้ นของ สารละลายในหน่วยความเข้มข้น คำถามท้ายกิจกรรม - แนวคำตอบคำถาม สารละลายในหน่วยร้อยละ เปน็ รอ้ ยละโดยปริมาตรตอ่ กิจกรรมที่ 1.6 ระบุ ทา้ ยกิจกรรม ได้อยา่ งไร ปรมิ าตร ได้ ค ว า ม เ ข ้ ม ข ้ น ข อ ง กจิ กรรมท่ี 1.6 ระบุ สารละลายในหน่วย ความเข้มข้นของ รอ้ ยละได้อยา่ งไร สารละลายในหน่วย ร้อยละไดอ้ ยา่ งไร ตอนท่ี -การทำงานกระบวนการ 2. ด้านทักษะกระบวนการ(P) -สังเกตการทำงานและ -แบบสังเกตค้าน -นกั เรยี นสามารถ กล่มุ (1) สามารถคำนวณความ สงั เกตการตอบคำถาม ทกั ษะกระบวนการ ปฏิบตั ิตนด้านการ เขม้ ข้นของสารละลายในหน่วย ทักษะกระบวนการ รอ้ ยละโดยปริมาตรตอ่ ปริมาตร ได้ 10 คะแนน ขน้ึ ไป ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ -ปลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรม 3. ดา้ นเจตคติ(A) -สังเกตพฤติกรรมของ -แบบสงั เกต -นักเรียนปฏบิ ตั ิตน 3.1 ซอ่ื สตั ย์สุจรติ นกั เรียนดา้ นเจตคติ พฤตกิ รรมดา้ นเจต ตามดา้ นเจตคติ ได้ 3.2. มวี นิ ัย คติ 10 คะแนนขึน้ ไปถอื 3.3 ใฝ่เรียนรู้ ว่าผ่านเกณฑ์ 3.4 มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 3.5 มีจติ สาธารณะ
บันทกึ หลงั กระบวนการจดั การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ท่ีเกดิ ข้นึ กบั ผู้เรียน 1. ดา้ นความรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ดา้ นทักษะกระบวนการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ดา้ นเจตคติ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอปุ สรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ............................................... ผสู้ อน (นายวทิ วสั หอมขจร) ผู้สอน ............../....................../.................
ความคิดเห็นข้อเสนอแนะของผู้บังคับบญั ชา ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะหวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ........................................... () หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ .........../............./............ ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะรองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชือ่ ........................................... () รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ .........../............./........... ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะผอู้ ำนวยการโรงเรียน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ................................................ () ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน …………/…………./………
ภาคผนวก
ใบกจิ กรรมท่ี 1.6 ระบคุ วามเขม้ ขน้ ของสารละลายในหนว่ ยรอ้ ยละได้อยา่ งไร
Powerpoint เรื่อง ความเขม้ ข้นรอ้ ยละโดยปริมาตรตอ่ ปรมิ าตร
แบบประเมินใบงาน คำชี้แจง ให้ผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมการส่งงานของผู้เรียนตามเวลาท่กี ำหนดในระหว่างเรียนแล้วขดี √ ลงในช่องทีต่ รงกับระดบั คะแนน พฤตกิ รรม พฤตกิ รรม / ระดับคะแนน รวม ลำดบั ชอ่ื – สกุล ความ ความ ความมี ความตรง คะแนน ครบถว้ น ถูกตอ้ ง ระเบียบ ต่อเวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเฉล่ยี ..........คะแนน ลงชื่อ......................................................... (นายวิทวสั หอมขจร) ผู้สอน .........../............./............ เกณฑก์ ารให้คะแนนระดับคณุ ภาพมรี ายละเอียด ดังน้ี ชว่ งคะแนน 9-12 หมายถงึ มรี ะดับคุณภาพดมี าก ชว่ งคะแนน 6-8 หมายถงึ มีระดับคุณภาพดี ช่วงคะแนน 3-5 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพพอใช้ ช่วงคะแนนตำ่ กวา่ 3 หมายถงึ มรี ะดบั คุณภาพควรปรับปรุง เกณฑก์ ารผ่าน ได้ระดบั คุณภาพดขี นึ้ ไปผ่านเกณฑ์
เกณฑ์การให้คะแนนประเมินใบงาน รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 3 21 1. ความครบถ้วน ทำงานท่ไี ด้รับมอบหมาย ทำงานท่ไี ดร้ บั ทำงานท่ีไดร้ บั ไดอ้ ย่างครบถว้ นทุก มอบหมายไดอ้ ยา่ ง มอบหมายไม่ครบถ้วน องค์ประกอบ ครบถว้ น แตไ่ มค่ ่อย แต่ละองคป์ ระกอบไม่ สมบูรณต์ าม มีความสมบูรณ์ของ องคป์ ระกอบ เน้อื หา 2. ความถกู ตอ้ ง ทำงานทไี่ ด้รับมอบหมาย ทำงานทีไ่ ดร้ ับ ทำงานทไ่ี ดร้ บั ไดถ้ กู ตอ้ งและตรง มอบหมายได้อยา่ ง มอบหมายไดอ้ ยา่ งไม่ ประเดน็ ถูกต้องในบางประเด็น ถกู ต้อง ไม่มีเนอ้ื หาท่ี ตรงประเดน็ 3. ความมรี ะเบยี บ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ศึกษา ปฏิบัติกิจกรรม ศกึ ษา ปฏิบตั กิ จิ กรรม ศกึ ษา ข้อมลู ได้ถกู ตอ้ งครบถ้วน ขอ้ มูลไดถ้ กู ต้อง ข้อมูลได้ถูกต้อง แต่ยัง และมีความเป็นระเบยี บ ครบถว้ นและมีความ ขาดความเปน็ ระเบียบ เรียบรอ้ ย นา่ อ่านและน่า เป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย เรียบรอ้ ย ศกึ ษา พอสมควร น่าอ่านและ น่าศกึ ษา 4. ความตรงต่อ ส่งงานทไี่ ด้รับมอบหมาย ส่งงานท่ไี ด้รับ สง่ งานท่ไี ดร้ บั เวลา ไดท้ นั เวลาท่ีกำหนด มอบหมายไดท้ นั เวลา มอบหมายไมท่ นั เวลา หรือตามเวลาท่ีตกลงกัน ทกี่ ำหนด หรือตาม ทีก่ ำหนด หรือตาม ไว้ เวลาทตี่ กลงกนั ไวไ้ ม่ เวลาทีต่ กลงกนั ไว้ไม่ เกนิ 1 วนั เกิน 1 วนั
แบบสังเกตด้านทักษะกระบวนการ คำชี้แจง ให้ผู้สอนสงั เกตด้านทักษะการทำงานกลุ่มของผูเ้ รียนในระหว่างเรยี นแล้วขีด √ ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน รายการ การ คำนวณความ การบันทึกผล การจดั ทำ การนำเสนอ รวม ร้อยละ ต้งั สมมติฐาน เข้มข้นของ การทดลอง ข้อมลู ข้อมลู สารละลายใน หนว่ ยร้อยละ โดยปริมาตร กลมุ่ ท่ี ต่อปริมาตร 3 2 1 321 32 13213 21 1. 2. 3. 4. 5. คะแนนเฉลยี่ ...........คะแนน ลงช่ือ………………………………………… (นายวิทวัส หอมขจร) …………/…………../……… ผู้สอน เกณฑ์การให้คะแนนระดบั คณุ ภาพมีรายละเอยี ด ดังนี้ ช่วงคะแนน 13-15 หมายถึง มีระดบั คุณภาพดมี าก ชว่ งคะแนน 10-12 หมายถึง มีระดบั คุณภาพดี ช่วงคะแนน 7-9 หมายถงึ มีระดับคณุ ภาพพอใช้ ช่วงคะแนนต่ำกวา่ 7 หมายถึง มีระดับคุณภาพควรปรับปรุง เกณฑก์ ารผา่ น ไดร้ ะดับคุณภาพดขี น้ึ ไปผ่านเกณฑ์
เกณฑ์การประเมินด้านทักษะกระบวนการ ประเด็นการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 321 การต้งั สมมติฐาน ตั้งสมมติฐานได้ ตั้งสมมตฐิ าน ตง้ั สมมตฐิ านไม่ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกับ สอดคล้องกบั จดุ ประสงคก์ าร จดุ ประสงคก์ าร จุดประสงค์การ ทดลอง สมเหตุสมผล ทดลอง สมเหตุสมผล ทดลอง ไม่ ตามความร้พู ืน้ ฐาน ใช้ ตามความรพู้ น้ื ฐาน ใช้ สมเหตุสมผลตาม ภาษางา่ ยส่ือ ภาษายากในการสอื่ ความรพู้ ื้นฐาน ใช้ ความหมาย ความหมาย ภาษายากในการสื่อ ความหมาย คำนวณความเข้มข้น สามารถคำนวณได้ถูก สามารถคำนวณได้บาง ไมส่ ามารถคำนวณได้ ของสารละลายใน ทกุ ขอ้ ขอ้ เลย หนว่ ยรอ้ ยละโดย ปริมาตรตอ่ ปริมาตร การบนั ทกึ ผลการ สามารถบนั ทึกผลการ สามารถบันทึกผลการ ไมส่ ามารถบนั ทกึ ผล ทดลอง ทดลองได้ถูกต้อง ทดลองได้ถกู ต้อง แต่ การทดลองไดถ้ ูกต้อง สามารถอ้างทฤษฎี ไมส่ ามารถอ้างทฤษฎี แตไ่ ม่สามารถอา้ ง เพอ่ื มารองรับผลการ เพ่อื มารองรับผลการ ทฤษฎีเพื่อมารองรับ ทดลอง ทดลอง ผลการทดลอง การจดั ทำขอ้ มูล สามารถรวบรวมข้อมลู สามารถรวบรวมขอ้ มลู ไม่สามารถรวบรวม จากการ สงั เกต จากการ สังเกต ข้อมูลจากการ สังเกต ทดลอง สอบถาม และ ทดลอง สอบถาม แต่ ทดลอง สอบถาม และ จัดทำข้อมลู ได้อย่าง จดั ทำขอ้ มูลไม่เปน็ จัดทำข้อมูลไมเ่ ป็น เปน็ ระบบ ระบบ ระบบ การนำเสนอข้อมูล นำเสนอด้วยวธิ ีการ นำเสนอตามลำดับ นำเสนอไมเ่ ปน็ ไป กระชบั ชดั เจน เปน็ ไป ขน้ั ตอน ไมก่ ระชับ ไม่ ตามลำดบั ข้นั ตอนไม่ ตามลำดบั ขน้ั ตอน ไม่ ชัดเจนเท่าที่ควร กระชับ ไม่ชัดเจน สบั สน
แบบสังเกตพฤตกิ รรมดา้ นเจตคติ คำชี้แจง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในระหว่างเรียนแล้วขีด √ ลงในช่องที่ตรงกับระดับ คะแนน ประเด็นการประเมนิ / ระดบั คะแนน ซ่ือสัตย์ มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่ันใน มีจิต รวม ลำดับ ชื่อ-สกุล สจุ รติ การทำงาน สาธารณะ 20 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 คะแนน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเฉลยี่ ...........คะแนน ลงชอื่ …………………………..………………… (นายวิทวัส หอมขจร) ผสู้ อน ……………../……………………/………………. เกณฑ์การใหค้ ะแนนระดับคุณภาพมรี ายละเอียด ดังน้ี ชว่ งคะแนน 15-20 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีมาก ช่วงคะแนน 10-14 หมายถงึ มรี ะดับคุณภาพดี ชว่ งคะแนน 5-9 หมายถงึ มรี ะดับคุณภาพพอใช้ ช่วงคะแนนต่ำกว่า 5 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพควรปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ไดร้ ะดับคณุ ภาพดขี น้ึ ไปผา่ นเกณฑ์
เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบพฤตกิ รรมด้านเจตคติ ประเดน็ การ ระดบั คะแนน ประเมนิ 4 3 21 1. ซ่ือสัตยส์ ุจริต ไมล่ อกเลียนแบบงาน ไม่ลอกเลียนแบบงาน ลอกเลียนแบบงาน ลองเลยี นแบบงาน ของผ้อู ืน่ ทำงานได้ ของผู้อนื่ ของผอู้ ืน่ บ้างเปน็ ของผ้อู น่ื ถูกต้อง บางครง้ั 2. มวี ินัย จดั ระเบียบวนิ ยั การ จดั ระเบียบวินยั การ จัดระเบียบวนิ ัยการ ไมม่ วี ินัยในการ ทำงานปฏิบัติตาม ทำงานปฏิบตั ติ าม ทำงานปฏบิ ตั ิตาม ทำงานไมป่ ฏบิ ตั ติ าม กฎระเบยี บตาม กฎระเบยี บตาม กฎระเบียบตาม กฎระเบยี บตาม ข้อตกลงในการทำงาน ข้อตกลงในการทำงาน ข้อตกลงในการ ขอ้ ตกลงการทำงาน และทำกจิ กรรมได้อย่าง และทำกิจกรรมได้ ทำงาน แต่ขาดความ ละเอียด อยา่ งละเอยี ดปานกลาง ละเอียดในกิจกรรม 3. ใฝ่เรียนรู้ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมศึกษา ปฏิบตั กิ ิจกรรมศกึ ษา ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมศึกษา ปฏบิ ตั ิกิจกรรมศึกษา ข้อมูลได้อยา่ งถกู ต้อง ขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ขอ้ มูลไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ขอ้ มลู ไดไ้ ม่ถกู ต้อง ครบถ้วนเสร็จตามเวลา ครบถว้ นเสร็จเกินเวลา ครบถว้ นเสร็จเกิน ไม่เสร็จตามเวลาท่ี และส่งงานทันเวลาที่ 1-5 นาทแี ละส่งงาน เวลา 5-10 นาทแี ต่ กำหนด และส่งงาน กำหนด ทันเวลาท่กี ำหนด สง่ งานไม่ทนั เวลาที่ ลา่ ช้า กำหนด 4. มุ่งมน่ั ในการ มกี ระบวนการแสวงหา มีกระบวนการแสวงหา มกี ระบวนการ มีกระบวนการ ทำงาน ความรูจ้ ากการสบื คน้ ความรู้จากการสบื คน้ แสวงหาความรูจ้ าก แสวงหาความรูจ้ าก ขอ้ มลู รวบรวมข้อมลู ขอ้ มูลรวบรวมขอ้ มูล การสบื คน้ ขอ้ มูล การสืบคน้ ข้อมลู อยา่ งเพียงพอก่อนจะ อยา่ งเพยี งพอกอ่ นจะ รวบรวมขอ้ มลู อยา่ ง รวบรวมขอ้ มลู อย่าง ลงข้อสรปุ หรือแสดง ลงข้อสรุปหรือแสดง เพียงพอ ไม่เพียงพอ ความคดิ เห็นอย่างมี ความคิดเห็นอย่างมี เหตุผลและเป็นระบบ เหตผุ ล 5. มีจิตสา มีนำ้ ใจชว่ ยเหลอื สว่ นใหญ่มนี ำ้ ใจ มนี ้ำใจชว่ ยเหลือ ไม่มีน้ำใจชว่ ยเหลอื สาธารณะ แบ่งปันส่งิ ของใหก้ บั ชว่ ยเหลอื แบง่ ปัน แบ่งปนั สงิ่ ของใหก้ ับ แบ่งปนั สิง่ ของใหก้ บั ผอู้ นื่ และมีความ สง่ิ ของให้กับผอู้ น่ื และมี ผอู้ ่นื และมีความ ผู้อ่นื และไม่มคี วาม เสียสละเสมอ ความเสียสละเสมอ เสยี สละบางคร้ัง เสยี สละ
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: