Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทร02006 ประถมศึกษา

วิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทร02006 ประถมศึกษา

Published by Yuthika Kantho, 2021-06-20 05:31:15

Description: วิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทร02006 ประถมศึกษา

Search

Read the Text Version

     ใบงานที่ 9 เรื่อง การเตรยี มการและกระบวนการจดั ทําโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ คาํ ชแี้ จง ใหผ้ เู้ รียนตอบคําถามใหส้ มบรู ณ์ เร่อื งที่ 2 การวางแผนทาํ โครงงานและขัน้ ตอนกระบวนการทําโครงงาน ขอ้ ที่ 1 การกาํ หนดชอื่ ของโครงงาน ผเู้ รียนควรคาํ นึงถึงสิง่ ตา่ งๆ ตอ่ ไปน้ีอย่างไร จงอธิบายเปน็ ขอ้ ๆ พอเข้าใจ 1.1 ชอ่ื เรื่องควรกระชบั ชดั เจนและเฉพาะเจาะจง อธิบาย ............................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 1.2 ชอ่ื เรื่องควรสือ่ ความหมายท่ีบ่งบอกเป้าหมายทตี่ อ้ งการศกึ ษา อธบิ าย .................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 1.3 ช่ือเร่อื งควรดึงดดู ความสนใจ เชญิ ชวนให้นา่ ศกึ ษา อธบิ าย ........................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 1.4 ชอื่ เรอื่ งต้องใช้ภาษาวิชาการและสภุ าพเหมาะสม อธิบาย .................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  42 

     ขอ้ ท่ี 2 ใหผ้ ู้เรยี นเรยี งลําดับการจัดทาํ โครงงานให้ถูกตอ้ ง ข้นั ตอนการจดั ทําโครงงาน การจดั ลําดับขั้นตอน 1) การเขียนรายงานโครงงาน ลําดบั ที่ 2) การวางแผนการทาํ โครงงาน ลาํ ดับท่ี 3) การเลือกชอื่ โครงงาน ลาํ ดับที่ 4) การดําเนินงานโครงงาน ลําดบั ท่ี 5) การนําเสนอผลการจดั ทาํ โครงงาน ลาํ ดับที่ ขอ้ ที่ 3 ใหผ้ ูเ้ รยี น เขยี นองคป์ ระกอบของการเขยี นรายงานโครงงานทั้ง 3 ส่วน มาพอสังเขป .................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ขอ้ ท่ี 4 แผนปฏิบัตงิ าน หมายถึง อะไร ........................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  43 

     บทท่ี 5 การสะทอ้ นความคิดเห็นตอ่ โครงงานเพือ่ พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ สาระสําคญั กิจกรรมสุดท้ายของการทําโครงงาน คือ การสะท้อนความคิดเห็น ซึ่งเป็นทักษะที่ผู้เรียนจะต้อง พัฒนาข้ึน ท้ังนี้ทักษะดังกล่าวน้ีมีประโยชน์กว้างขวาง นอกจากนําไปสะท้อนโครงงานแล้ว ยังสามารถ ประยุกตใ์ ชก้ บั กิจกรรมในการดําเนินชีวิตของผูเ้ รียนไดอ้ ยา่ งหลากหลาย ผลการเรยี นทค่ี าดหวงั เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติที่ดี และสามารถสะท้อนความคิดเห็นต่อโครงงานเพ่ือ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา การสะท้อนความคิดเหน็ ตอ่ โครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ เรอ่ื งท่ี 1 แนวคดิ เรอ่ื งการสะท้อนความคิด เรือ่ งที่ 2 ความสําคัญของการสะท้อนความคดิ เรอ่ื งท่ี 1 แนวคิดเรือ่ งการสะท้อนความคิด (Reflection ) การสะท้อนความคิดเป็นรปู แบบหนงึ่ ของการคดิ แบบอภิปรัชญา (Metacognition) เปน็ การคิด เกยี่ วกบั การคดิ ของตนเอง การสะท้อนความคดิ จงึ ไมใ่ ชเ่ ปน็ การรายงานข้อมลู ความเปน็ จริงต่าง ๆ แต่เป็น การแสดงออกถึงความคาดหวัง การรบั รู้ และความรูส้ กึ เกี่ยวกบั ประสบการณ์ โดยผา่ นกระบวนพูด หรอื เขียน โดยมีจดุ ประสงค์เพ่อื วเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ วางแผน หรอื แก้ไขปญั หา สงิ่ เหลา่ นีเ้ ป็นการคิดระดับสงู กวา่ การคดิ ทั่วไป (รชั นกี ร ทองสขุ ด.ี 2545 : 45) ดิวอี (Dewey. 1933: 12 ) ในงานเขียนเร่ือง “How we Think” ให้ความหมายของการสะท้อน ความคิดว่า เป็นรูปแบบหนึ่งของการคิดพินิจพิเคราะห์ ตรึกตรอง ใคร่ครวญอย่างลึกซึ้ง โดยเริ่มจากความ สงสัยใคร่รู้ในเรื่องที่เก่ียวกับความคิดความเช่ือหรือองค์ความรู้ท่ียึดถือกันอยู่ และใช้ความพยายามในการ ค้นหาคาํ ตอบ โดยอาศยั เหตุผลและขอ้ มูลอา้ งอิง โนวลส์, โคล และ เพรสวูด (Knowles; Cole and Presswood. 1994 : 8-10) กล่าวว่าการ สะท้อนความคิดเป็นการใช้กระบวนการพินิจพิเคราะห์ ต้ังคําถามย้อนหลังกลับมายังสภาพที่เป็นอยู่อย่าง ครอบคลุมทุกด้าน แยกให้เห็นปัญหาที่เป็นเหตุผลในการปฏิบัติขณะน้ัน ทําให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และส่งผลต่อการแก้ปัญหาทีเ่ หมาะสม  หนงั สือเรยี นสาระทักษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  44 

     แยนซี (Yancey. 1998 ) กล่าวว่า การสะท้อนความคิดอาจหมายถึงการทบทวนในงานช้ินใดช้ิน หนง่ึ หรือการประเมนิ ตนเองหรือเป็นการวิเคราะห์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น นอกจากน้ี โคลเลน (Colloen. 1996 : 54 ) ได้เสนอความคิดเห็นว่า การสะท้อนความคิดเป็นปฏิกิริยาของสมองที่สะท้อนความคิดสิ่งท่ีบุคคลน้ัน คํานึงถึงอย่างใคร่ครวญ ละเอียดถี่ถ้วน เพ่ือถ่ายโอนความรู้สึกต่าง ๆ ของตนเองก่อนท่ีจะส่ือสารกับผู้อ่ืน ด้วยการพดู หรอื การเขียน จากความหมายดังกล่าว สรุปได้ว่าการสะท้อนความคิดเป็นกระบวนการภายในตัวบุคคลท่ีมีความ ซับซ้อน ถือเป็นการคิดระดับสูง ที่เรียกว่า อภิปรัชญา ซึ่งเป็นการคิดเก่ียวกับการคิดของตนเองรวมท้ังส่ิง สําคัญท่ีมีผลต่อความคิดน้ัน ดังน้ันการสะท้อนความคิดจึงข้ึนอยู่กับองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ตัว ผ้เู รยี น ความรเู้ กย่ี วกับสิง่ ทีจ่ ะต้องเรยี นรู้ และวิธีการในการเรยี นรู้ การสะท้อนความคิด มีหลายรูปแบบ ได้แก่การคิดทบทวนของบุคคลแต่ละคนโดยไม่ได้มีการ สื่อสาร ให้ผู้อื่นได้รู้ หรือการสะท้อนความคิดและมีการสื่อสารกันทางการสนทนา หรือการสะท้อนความคิด และใช้การสื่อสารทางการเขียน การที่ผู้สอนจัดกระบวนการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีโอกาสได้สะท้อน ความคิด จะทําให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง โดยได้สร้างองค์ความรู้ใหม่จากข้อมูลความจริงและ ทฤษฎีแนวคิดที่มีความหมายกับผู้เรียน ซึ่งถือเป็นก้าวแรกของการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วย (Kowalke. 1998:203-267) อีบี และ คจู าวา (Eby and Kujawa. 1994 : 6 ) ไดข้ ยายความหมายของการสะทอ้ นความคิดตาม นยิ ามของ Dewey โดยกลา่ วว่าคุณลกั ษณะของครูนกั คิด (reflective teacher ) ซ่ึงถือเป็นคุณลกั ษณะของ ครูมอื อาชพี หรือเปน็ คณุ สมบตั ิพื้นฐานของนักวจิ ัย น่าจะมลี กั ษณะดังน้ี 1) มีความสงสัยใคร่รู้ สามารถต้ังคําถามอย่างมีเหตุผล ต่อตนเอง ต่อทฤษฎีและวิธีปฏิบัติต่าง ๆ ในการจดั การเรียนการสอน จะไม่ถูกจงู ใจโดยง่ายใหป้ ฏิบัตติ ามก่อนที่จะได้ไตร่ตรองตรวจสอบ 2) มีความมุ่งมั่นในการติดตามความคิดของตนเอง เพ่ือแสวงหาคําตอบท่ีดีที่สุดในการนํามาใช้ แก้ปัญหาเพื่อประโยชนใ์ นการพัฒนาผเู้ รียนได้อยา่ งแทจ้ รงิ สรุปคําตอบจากหลักเกณฑ์และหลักฐานท่ีเช่ือถือ ได้ เรอื่ งท่ี 2 ความสาํ คัญของการสะท้อนความคิด การที่บุคคลมีโอกาสสะท้อนความคิดความคิดของตนเอง เป็นการเปิดโอกาสในการสังเกตและ วิเคราะห์ความคิดของตนและพัฒนาความมีระเบียบและทักษะในการสร้างและจัดลําดับความคิดได้สื่อสาร ความคิดของตนกับผู้อ่ืนถึงสิ่งที่ตนเข้าใจ และพัฒนาทักษะการวิเคราะห์และสังเคราะห์ของตนเอง ช่วย ส่งเสริมให้เป็นนักคิดท่ีดีขึ้นในการตั้งคําถามและให้เหตุผล (รัชนีกร ทองสุขดี. 2545 :47-48) ความสําคัญ ของการสะทอ้ นความคิดมีหลายประการดงั นี้ 1)สร้างความทา้ ทายทสี่ ร้างสรรค์ในการนาํ เสนอความคดิ ของตน  หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  45 

     2)เปดิ โอกาสในการจบั ประเด็นหรอื หวนคิดถึงส่งิ ทค่ี ิดในรูปแบบท่ีถาวรหรือปรับเสริมความคดิ ใหม่ 3) เป็นการพฒั นาความมรี ะเบียบและทักษะในการสรา้ งและจัดลาํ ดับความคดิ 4) เปดิ โอกาสในการสงั เกตและวิเคราะหค์ วามคิดของตนเอง 5) เปิดโอกาสในการสอื่ สารความคดิ ของตนเองกบั ผูอ้ น่ื ถงึ สิง่ ท่ตี นเองเข้าใจและพัฒนาทักษะการ วเิ คราะห์และสงั เคราะหข์ องตนเอง 6) เป็นการเชื่อมโยงองค์ความรู้เก่ากบั องคค์ วามรใู้ หมแ่ ละเปน็ การเติมเตม็ ระหวา่ งทฤษฎีกับการ ปฏบิ ตั ิ 7) ช่วยส่งเสริมให้เป็นนักคิดท่ีดีขึ้นในการตั้งคําถามและให้เหตุผล กรีน และ ด๊อบสัน (นภ เนตร ธรรมบวร. 2542 : 20-21 ; อา้ งอิงจาก Greene. 1973; & Dobson. 1993 ) กล่าวว่า ในการสะท้อน หรือการวเิ คราะห์ตนเองนน้ั ผสู้ ะทอ้ นความคดิ จาํ เป็นต้องมเี วลาหยดุ คดิ และนึกทบทวนไปถึงส่ิงท่ีตนทําหรือ ปฏบิ ัติในขณะเดียวกนั ผ้สู ะท้อนความคิดจําเป็นต้องมีโอกาสพูดคุยเกี่ยวกับประสบการณ์หรือเร่ืองราวท่ีผ่าน มาของตนกับบคุ คล สรุปได้ว่า การสะท้อนการความคิดเกิดข้ึนจากการท่ีผู้เรียนได้รับหรือรวบรวมข้อมูลเบ้ืองต้นจาก การเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน และนํามาพินิจพิเคราะห์อย่างใคร่ครวญจนเกิดความเข้าใจในความคิด ของตนอย่างถ่องแท้ ก่อนท่ีจะส่ือสารกับผู้อื่นด้วยการพูดหรือเขียน เป็นวิธีการสําคัญที่ช่วยให้ผู้เรียนได้คิด เกี่ยวกับพัฒนาการเรียนรู้ของตน และสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกันจนเกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเองไดใ้ นที่สดุ นอกจากนีก้ ารสะท้อนความคิดยังส่งผลต่อบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ในวันต่อ ๆ ไป ตลอด ระยะเวลาของภาคเรียน และช่วยให้ผู้สอนสามารถนําข้อมูลจากการสะท้อนความคิดของผู้เรียนไปปรับปรุง การจัดประสบการณก์ ารเรยี นร้ใู นวันตอ่ ไปหรอื ในคร้ังต่อไปดว้ ย เมื่อผู้เรียนได้รับทราบหลักการของการสะท้อนความคิดเห็นแล้ว เพ่ือฝึกฝนให้ตนเองมีทักษะใน การสะท้อนความคิดเห็นแล้ว จึงควรทดลองต้ังคําถามในใจและตอบคําถามที่ตนเองได้ดําเนินโครงงานไป แล้ว โดยอาจเร่ิมต้นตามลําดับขั้นตอนของการทําโครงงาน ซ่ึงการทดลองฝึกสะท้อนความคิดเห็นต่อการทํา โครงงาน จึงอาจจะเริ่มตั้งแต่ทําโครงงานไม่จําเป็นต้องรอให้การทําโครงงานเสร็จส้ินแล้วก็ได้ อย่างไรก็ตาม เม่ือเสร็จส้ินโครงการแล้วผู้เรียนควรสะท้อนความคิดอย่างจริงจัง และบันทึกผลการสะท้อนความคิดนั้นไว้ เป็นหลกั ฐานดว้ ย  หนงั สือเรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  46 

     กิจกรรมทา้ ยบท บทท่ี 5 ใบงานท่ี 10 เรอ่ื ง การสะท้อนความคิดเห็นต่อโครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ คาํ ชแี้ จง ใหผ้ เู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ วา่ การสะทอ้ นความคดิ มคี ณุ คา่ อยา่ งไรบา้ ง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. ......................................................................... . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. ......................................................................... . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .  หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพ่ือพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ (ทร 02006)  47 

     ใบงานที่ 11 เร่อื ง การสะทอ นความคิดเหน็ ตอโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรยี นรู คําชี้แจง ให้ผู้เรียนสรุปหลักการของการสะท้อนความคิด มีสาระสําคัญอย่างไรบ้าง อธิบายเป็นข้อ ๆ พอเขา้ ใจ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. ......................................................................... . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. ......................................................................... . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . . .  หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู้ รายวิชาเลอื กโครงงานเพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)  48 

       บรรณานุกรม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ, สาํ นกั งาน. คมู่ ือการจัดทาํ โครงงาน. บรษิ ทั ยงสวสั ด์อิ นิ เตอรก์ รุฟ จาํ กดั , อุบลราชธาน.ี 2552. จาํ นง หนนู ิล. คูม่ ือเรียนการพฒั นาและการเขยี นโครงงาน. บรษิ ทั สาํ นกั พิมพ์บรรณกิจ 1991 จาํ กดั . กรุงเทพมหานคร. พมิ พ์ครั้งที่ 1. 2546. วโิ รจน์ ศรโี ภคา และคณะ. การจดั การเรียนรู้แบบโครงงานสู่การปฏริ ปู การเรียนร.ู้ บรษิ ัท ธรรมสาร จาํ กัด. กรงุ เทพมหานคร. พิมพ์ครัง้ ท่ี 1. 2544. สง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ,สาํ นกั งาน. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ หลกั สตู ร การศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. นนทบรุ ี : บรษิ ทั ไทยพบั บลคิ เอ็ดดเู คช่ัน จาํ กดั , 2553. gotoknow. org/blog/ehealthpath/412404 lovechollada. igetweb. com/index. php?mo=3&art=187291 - แคช (รชั นีกร ทองสุขด.ี 2545 : 45) (Dewey. 1933: 12 ) (Knowles; Cole and Presswood. 1994 : 8-10) (Yancey. 1998 ) (Colloen. 1996 : 54 ) (Eby and Kujawa. 1994 : 6 ) (นภเนตร ธรรมบวร. 2542 : 20-21 ; อ้างองิ จาก Greene. 1973; & Dobson. 1993 ) th.wikipedia.org/wiki/การจัดการความรู้ www. 202. 143. 159. 117/learnsquare/courses/1/Unit17_50. Htm www. internationalschool. eduzones. com/noknik15clab/33086 www. itdestination. com/resources/tech/showtech. php?00005 www. krutong. net/computer1/2/3. html www. panyatwww. panyathai. or. th/wiki/index. www. tet2. org/index. PhpMlag=show&ac=article& ld. www. thaigoodview. com/library/contest2551/. . . /p01. html - หนังสือเรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006) 

       คณะผจู้ ดั ทาํ ทปี่ รึกษา เลขาธกิ าร กศน. นายประเสรฐิ บุญเรอื ง รองเลขาธกิ าร กศน. นายวชั รนิ ทร์ จําปี รองเลขาธกิ าร กศน. ดร.ชยั ยศ อม่ิ สวุ รรณ ผ้อู ํานวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา นางมาริสา โกเศยะโยธนิ ตามอธั ยาศยั กลุม่ เปา้ หมายพเิ ศษ ผยู้ กร่างและเรียบเรยี ง ครู คศ. 3 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา นางสาวศริ วิ รรณ ทองสกลุ ตามอัธยาศยั กลมุ่ เป้าหมายพเิ ศษ ข้าราชการบํานาญ สํานักงาน กศน. นายสุชาติ ศรีนวลนดั ผู้บรรณาธกิ าร ครู คศ. 3 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั กล่มุ เปา้ หมายพิเศษ นางสาวศริ วิ รรณ ทองสกลุ ข้าราชการบํานาญ สาํ นกั งาน กศน. นักวิชาการชํานาญการพิเศษ สํานักงาน กศน นายสชุ าติ ศรีนวลนดั นางเลิศลักษณ์ ณ พทั ลุง ครู คศ. 3 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ผู้พมิ พ์ตน้ ฉบบั ตามอัธยาศัยกล่มุ เป้าหมายพเิ ศษ นางสาวศริ วิ รรณ ทองสกลุ ข้าราชการบํานาญ สํานักงาน กศน. นายสชุ าติ ศรนี วลนัด หนงั สอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลอื กโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 02006)