Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการหลวงดอยคำ(DOI KHAM)

โครงการหลวงดอยคำ(DOI KHAM)

Published by mysrbk, 2017-11-15 14:10:56

Description: โครงการหลวงดอยคำ(DOI KHAM)โครงการของในหลวงรัชกาลที่ 9 เพื่อชาวไทย

Keywords: ดอยคำ

Search

Read the Text Version

โครงการหลวงอาหารสาเรจ็ รูป (ดอยคา) ROYAL PROJECT (DOI KHAM)นายวงศกร จันทร์จติ วิริยะ รหสั นสิ ติ 60661867นายวชิรวิทย์ วนิ จิ จตรุ งค์ รหัสนิสติ 60661881นางสาววรนั ธร ทายา รหสั นสิ ติ 60661942นางสาวศศิธร โลหาวธุ รหสั นสิ ิต 60662079นางสาวศศิพา ชแู กว้ รหัสนสิ ติ 60662086นางสาวศริ นิ ทิพย์ พารัตน์ รหสั นิสติ 60662123นางสาวศริ นิ นั ท์ อดุ ม รหัสนสิ ติ 60662130นางสาวศริ ริ กั ษ์ บวั เคน รหสั นิสติ 60662147รายงานนีเ้ ปน็ สว่ นหน่งึ ของรายวิชาสารสนเทศศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาค้นควา้ (001221) มหาวิทยาลัยนเรศวร ปกี ารศกึ ษา 2560 กล่มุ เรยี นที่ 1

โครงการหลวงอาหารสาเรจ็ รูป (ดอยคา) ROYAL PROJECT (DOI KHAM)นายวงศกร จันทร์จติ วิริยะ รหสั นสิ ติ 60661867นายวชิรวิทย์ วนิ จิ จตรุ งค์ รหัสนิสติ 60661881นางสาววรนั ธร ทายา รหสั นสิ ติ 60661942นางสาวศศิธร โลหาวธุ รหสั นสิ ิต 60662079นางสาวศศิพา ชแู กว้ รหัสนสิ ติ 60662086นางสาวศริ นิ ทิพย์ พารัตน์ รหสั นิสติ 60662123นางสาวศริ นิ นั ท์ อดุ ม รหัสนสิ ติ 60662130นางสาวศริ ริ กั ษ์ บวั เคน รหสั นิสติ 60662147รายงานนีเ้ ปน็ สว่ นหน่งึ ของรายวิชาสารสนเทศศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาค้นควา้ (001221) มหาวิทยาลัยนเรศวร ปกี ารศกึ ษา 2560 กล่มุ เรยี นที่ 1

คานา รายงานฉบบั นีเ้ ปน็ สว่ นหนึ่งของรายวิขาสารสนเทศศาสตรเ์ พ่ือการศึกษาคน้ คว้า (001221) โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ระลกึ ถึงพระมหากรณุ าธิคุณของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชทีม่ ตี ่อประชาชนชาวไทย และเพือ่ ใหค้ วามรู้พร้อมชี้ให้ตระหนักถึงความสาคัญและประโยชน์ของโครงการหลวงอาหารสาเรจ็ รูป (ดอยคา) ซ่ึงรายงานน้มี เี นอื้ หาเก่ยี วกบั ความเป็นมาของโครงการหลวงดอยคา อนัเน่อื งมาจากพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช รวมทง้ั วตั ถุประสงค์ ผลติ ภณั ฑ์และประโยชน์ของโครงการฯ คณะผจู้ ดั ทาหวงั เปน็ อยา่ งยิ่งว่ารายงานฉบบั นีจ้ ะเป็นประโยชน์ต่อผอู้ ่านไม่มากกน็ ้อย หากรายงานฉบับนมี้ ีข้อผดิ พลาดประการใดก็ขออภยั ไว้ ณ ทน่ี ้ีด้วย คณะผูจ้ ดั ทา

ชอ่ื หัวข้อโครงงาน โครงการหลวงอาหารสาเร็จรูป (ดอยคา)ผดู้ าเนนิ โครงงาน นายวงศกร จันทร์จิต นายวชิรวิทย์ วินจิ จตุรงค์ นางสาววรันธร ทายา นางสาวศศธิ ร โลหาวุธ นางสาวศศิพา ชแู กว้ นางสาวศริ นิ ทพิ ย์ พารัตน์ นางสาวศิรนิ นั ท์ อดุ ม นางสาวศิรริ ักษ์ บัวเคนทปี่ รึกษาโครงงาน รศ.ดร. สุชาติ แยม้ เมน่คณะ สหเวชศาสตร์ปกี ารศึกษา 2560............................................................................................................................. ........................... บทคัดยอ่ ในปจั จบุ ันปัญหาท่ีเก่ยี วกับฝิ่นและความทกุ ขย์ ากของประชาชนชาวไทยลดลงไปมาก เน่ืองดว้ ยโครงการหลวงอาหารสาเรจ็ รูป(ดอยคา) อนั เปน็ โครงการในพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช(ในหลวงรัชกาลท่ี 9) ท่ที รงสนับสนนุ ให้ประชาชนยตุ กิ ารปลูกฝ่นิ และหันมาปลกู พืชชนิดอื่นทดแทน และนามาแปรรปู เพ่ือเพิ่มมลู ค่า จนทาให้ปัญหายาเสพติด และความทุกข์ยากลดลง ดว้ ยความสนใจในเรื่องโครงการหลวงอาหารสาเร็จรปู (ดอยคา)ทางคณะผู้จดั ทา จงึ ไดศ้ ึกษาหาข้อมูลและจดั ทารายงานฉบับน้ีขน้ึ เพือ่ เผยแพร่ความรู้ และให้ผอู้ ่านไดต้ ระหนักและเหน็ คณุ คา่ ของโครงการหลวงฯและระลึกถึงพระมหากรณุ าธิคณุ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช(ในหลวงรัชกาลที่ 9) ที่ทรงมีต่อปวงชนชาวไทย นอกจากนที้ างคณะผูจ้ ัดทาได้จดั ทารปู แบบส่ือนาเสนอท้ังรปู เล่มรายงาน Power Point และจดั ทาเปน็ หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-book) และเผยแพร่แบบสาธารณะทาให้สามารถเขา้ ถงึ ได้รวดเรว็ ยงิ่ ข้ึน

กติ ตกิ รรมประกาศ ในการทารายงานเร่ืองโครงการหลวงอาหารสาเร็จรูปครั้งน้ี คณะผู้จดั ทาขอขอบพระคุณอาจารยท์ ่ีปรึกษา รศ.ดร. สชุ าติ แยม้ เม่น และอาจารย์สมัทรชา เนียมเรือง ที่ให้ความอนุเคราะห์และใหค้ าปรึกษาชแี้ นะแนวทางในการทารายงาน ขอบคุณสมาชิกผ้จู ดั ทาทุกคนท่ีใหค้ วามรว่ มมือ และเสนอคาแนะนาท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ การจัดทารายงาน จนรายงานเลม่ น้ีประสบความสาเรจ็ ลลุ ว่ งด้วยดี คณะผจู้ ัดทา

สารบัญ หน้าคานาบทคัดย่อ..................................................................................................................... ...........................กกติ ติกรรมประกาศ.................................................................................................................................ขสารบัญ....................................................................................................................... ............................คสารบัญตาราง.........................................................................................................................................งสารบัญรูป.................................................................................................................... ..........................จบทท่ี 1 บทนา........................................................................................................................................1 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั .............................................................................................1 1.2 วัตถปุ ระสงค์................................................................................................................. .....1 1.3 ขอบเขตการศึกษา.............................................................................................................1 1.4 ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั ...........................................................................................................1 1.5 งบประมาณและทรพั ยากรท่ีต้องใช.้ ..................................................................................2บทท่ี 2 หลักการและทฤษฎที ่ีเกย่ี วขอ้ ง..................................................................................................3 2.1 โครงการหลวง (Royal Project).......................................................................................4 2.1.1 การกอ่ ต้งั โครงการหลวง...................................................................................5 2.2 กาเนิด “ดอยคา” เกษตรเพื่อชมุ ชน ผลผลติ เพอ่ื คนไทย...................................................6 2.2.1 การดาเนินธรุ กิจ...............................................................................................7 2.3 โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูป............................................................................................8 2.3.1 โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู ท่ี 1 (ฝาง)...........................................................9

2.3.2 โรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รูปที่ 2 (แมจ่ นั ).......................................................10 2.3.3 โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู ที่ 3 (เต่างอย).....................................................12 2.3.4 โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปที่ 4 (ละหานทราย).............................................14 2.4 การก่อต้ังตราสญั ลกั ษณ์พระราชทาน................................................................................15 2.4.1 องคป์ ระกอบสญั ลกั ษณ์และความหมาย...........................................................16 2.5 ผลติ ภัณฑต์ รงดอยคา.........................................................................................................18 2.6 ประโยชน์ของโครงการหลวงอาหารสาเร็จรูปดอยคา.........................................................19บทที่ 3 วธิ ีศึกษาค้นคว้า..........................................................................................................................21 3.1 วัตถปุ ระสงค์.......................................................................................................................21 3.2 เคร่อื งมือท่ีใช้ในการศกึ ษาค้นคว้า......................................................................................21 3.3 ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ.......................................................................................................21 3.4 แผนการดาเนนิ การ............................................................................................................22บทที่ 4 ผลการศึกษาคน้ คว้า...................................................................................................................23บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ...........................................................................................25 5.1 สรุป....................................................................................................................................25 5.2 ปญั หาและอปุ สรรคในการค้นคว้า......................................................................................25 5.3 ข้อเสนอแนะ.......................................................................................................................25เอกสารอ้างองิ .........................................................................................................................................26ภาคผนวก................................................................................................................. ...............................27ประวตั ิคณะผู้จดั ทา............................................................................................................................ .....30

สารบัญตารางตารางท่ี หนา้3.4 แผนการดาเนินการ.....................................................................................................................22

สารบัญรูปรูปที่ หนา้1. ภาพพระบรมฉายาลักษณ์ในหลวงรัชกาลที่ 9 .....................................................................32. ในหลวงรชั กาลที่ 9 เสด็จเยย่ี มชาวเขา.................................................................................43. ในหลวงรชั กาลท่ี 9 ทรงตรสั ถามความเป็นอยขู่ องชาวเขา...................................................64. โรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รปู ...............................................................................................85. โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปท่ี 1 (ฝาง)...............................................................................96. โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปที่ 2 (แม่จนั )...........................................................................107. โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปท่ี 3 (เตา่ งอย).........................................................................128. เครอ่ื งหมายการคา้ ดอยคาร่วมกบั มูลนธิ ิโครงการหลวง........................................................159. ตราสัญลักษณ์ “ดอยคา” ปี พ.ศ.2543................................................................................1610. ตราสัญลกั ษณด์ อยคา ปจั จบุ ัน..............................................................................................1611. วงกลมสเี หลอื งทอง...............................................................................................................1712. รปู จว่ั สเี ขียวเข้ม.....................................................................................................................1713. รปู จ่วั สเี ขยี วอ่อน....................................................................................................................1714. ลายเส้นเลข ๙........................................................................................................................1715. ผลิตภัณฑ์ตราดอยคา.............................................................................................................18

บทท่ี 1 บทนาความเปน็ มาและความสาคัญ ด้วยพระราชวิสยั ทศั น์อนั กว้างไกลของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลเดช ทที่ รงเหน็ความทุกข์ยากของประชาชน และทรงพบวา่ ปญั หานน้ั เกิดจากการปลกู ฝนิ่ เนื่องจากชาวบา้ นและชาวเขาไมม่ ีอาชพี ท่ีสามารถหาเลยี้ งตัวเองได้ จงึ ต้องปลกู ฝนิ่ ขายและทาไร่เล่ือนลอยแทน ซง่ึ สร้างปัญหาการตัดไม้ทาลายปา่ และจากการทาไร่เล่ือนลอย ท่สี าคญั คือปัญหายาเสพติดทีเ่ ป็นภยั ต่อความมัน่ คงของชาติ จงึ พระราชทานแนวพระราชดารใิ หจ้ ัดต้ัง “โครงการพระบรมราชานเุ คราะห์ชาวเขา” ขนึ้ เพอ่ื สรา้ งงาน สร้างอาชีพให้ชาวไร่และชาวเขา โดยมเี งอ่ื นไขว่าจะต้องเปน็ การเกษตรท่ียัง่ ยืนเท่านัน้ เพ่ือให้ทุกคนสามารถยืนหยัดอยู่ได้ด้วยตนเองวตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณุ และพระราชวิสัยทศั นข์ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิ พลอดุลยเดช (ในหลวงรชั กาลท่ี 9) 2. เพือ่ ให้ความรู้และชีใ้ ห้เหน็ ความสาคัญและประโยชนข์ องโครงการหลวงดอยคาขอบเขตการศกึ ษา จดั ทารายงาน เรอ่ื ง “โครงการหลวงอาหารสาเรจ็ รปู (ดอยคา)” โดยรวบรวมขอ้ มูลจากสารสนเทศประเภทต่าง ๆจากแหล่งข้อมูลทีน่ ่าเชื่อถือ แล้วนามาวเิ คราะหแ์ ละทารปู เล่มรายงานผลที่คาดว่าจะไดร้ บั 1. ผ้ทู ศ่ี กึ ษาหรอื อ่านรายงานเลม่ นี้จะได้รับความรแู้ ละมคี วามเข้าใจในความสาคญั และวตั ถปุ ระสงค์ ทใ่ี นหลวงรชั กาลท่ี 9 ทรงมีพระราชดาริให้ก่อต้งั โครงการหลวงดอยคาข้ึน 2. ผูท้ ศ่ี ึกษาตระหนักและเหน็ ถงึ ประโยชน์ของโครงการหลวงดอยคา และช่วยกนั สานต่อเจตนารมณ์ ของในหลวงรัชกาลที่ 9

23. ผ้ทู ่ีศกึ ษาสามารถนาความร้ทู ี่ไดไ้ ปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้งบประมาณและทรัพยากรที่ต้องใช้ = 10 บาท = 100 บาท 1. ค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนินงานประกอบด้วย หมวดค่าวสั ดุ - ค่ากระดาษปกหนา้ – หลัง - ค่าเอกสารรูปเลม่

บทที่ 2 หลกั การและทฤษฎที เ่ี กีย่ วขอ้ ง “เรือ่ งท่ีเราจะชว่ ยชาวเขา และโครงการชาวเขานั้น มีประโยชนโ์ ดยตรงกับชาวเขา ที่จะส่งเสริมใหช้ าวเขามคี วามกินอยดู่ ีขึน้สามารถเพาะปลูกส่งิ ท่เี ปน็ ประโยชนแ์ ละเป็นรายได้กับเขาเอง ทม่ี ีโครงการนี้ จดุ ประสงคอ์ ย่างหนง่ึ กค็ ือ มนุษยธรรม หมายถงึ ใหผ้ ูอ้ ยถู่ ิน่ทุรกันดาร สามารถท่จี ะมคี วามรู้ และพยุงตัวมคี วามเจรญิ ได้ อกี อยา่ งหนึ่งกเ็ ปน็ เรอื่ งชว่ ยในทางทีท่ ุกคนเห็นว่าควรช่วย เพราะเปน็ ปัญหาใหญ่ กค็ ือปัญหายาเสพติด ถ้าสามารถช่วยชาวเขาปลูกพชื ที่เปน็ ประโยชน์บ้าง เขาจะเลิกปลูกยาเสพตดิ คือฝ่นิทาใหน้ โยบายปราบปราม การสบู ฝิ่นและการคา้ ฝ่ินไดผ้ ลดี อันเป็นผลอย่างหน่ึง ผลอีกอย่างหนึ่งซึ่งสาคญั มากก็คือ ชาวเขาเป็นผทู้ ี่ทาการเพาะปลูกโดยวธิ ที ่ีจะทาใหบ้ า้ นเมืองของเราไปสูห่ ายนะไดโ้ ดยถางปา่ แล้วปลูกโดยวิธีท่ีไม่ถกู ต้อง ถา้ พวกเราทุกคนไปช่วยเขาก็เท่ากบั ไปช่วยบ้านเมืองให้มีความอยู่ดีกนิ ดี แบะความปลอดภัยอีกได้ท่ัวประเทศ” พระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช พระราชทานเมื่อคร้ังเสดจ็ พระราชดาเนินทรงเยี่ยมคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ วันท่ี 10 มกราคม พ.ศ. 2517

41. โครงการหลวง ( Royal project ) ตลอดช่วงพุทธศักราช 2502 พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลเดช ไดเ้ สดจ็ พระราชดาเนนิไปทรงเย่ียมราษฎรในถิน่ ทรุ กันดารห่างไกลการคมนาคม ซ่ึงตอ้ งใช้เวลาหลายช่ัวโมงกวา่ จะเดินทางไปถึง แต่ก็ไม่ทรงย่อท้อแม้เส้นทางจะลาบากเพยี งใด พุทธศักราช 2507 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดาเนินแปรพระราชฐานไปพระทับแรม ณ ตาหนกั ภพู ิงคราชนเิ วศน์ จงั หวดั เชียงใหม่ พระองคไ์ ดเ้ สดจ็ เยีย่ มเยยี นชาวไทยภเู ขาตามยอดดอยตา่ ง ๆ ซีง่ ขณะนัน้ การเดนิ ทางเป็นไปอย่างยากลาบาก ทอดพระเนตรชวี ิตของชาวบ้านบนดอย ทาให้ทรงพบเหน็ สภาพความเป็นอยู่ทแี่ รน้ แค้นและความยากจนของชาวไทยภูเขาในภาคเหนือท่ปี ระกอบอาชพี ปลกู ขา้ วเพ่ือบริโภคควบคู่กับการปลกู ฝ่นิ ซง่ึ สรา้ งปัญหาการทาลายปา่ ไมจ้ ากการทาไรเ่ ลือ่ นลอย และท่ีสาคัญคือปัญหายาเสพติดทแี่ พรห่ ลายจากชุมชนชนบทไปสู่เมือง จนกลายเป็นภัยตอ่ ความมัน่ คงของชาติ และเปน็ ปัญหาทส่ี าคัญของประเทศในยุคนัน้ จึงมีพระราชดารเิ พื่อชว่ ยเหลือชาวเขาและขจดั พ้ืนที่ปลกู ฝิ่น โดยมีพระราชดารวิ ่า “ถา้ จะให้ชาวเขาเลิกปลกู ฝิน่ ก็ต้องหาพชื อืน่ ท่ีขายไดร้ าคาดกี ว่า และมีความเหมาะสมปลกู ในที่สงู มาให้ชาวเขาปลกู ทดแทน” จึงเป็นท่ีมาในการรเิ ริ่ม “โครงการหลวงพระบรมราชานเุ คราะหช์ าวเขา”

51.1 การกอ่ ตั้งโครงการหลวง โครงการหลวงก่อตงั้ เมื่อ พ.ศ. 2512 เป็นโครงการสว่ นพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลเดช เพ่ือสง่ เสริมการปลูกพืชเมืองหนาวแก่ชาวเขาเป็นการหารายได้ทดแทนการปลูกฝิ่น ทรงมีพระราชดารใิ ห้มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรส์ ารวจความเป็นไปได้ พร้อมพระราชทานพระราชทรพั ยจ์ านวน200,000 บาท เปน็ ทุนตั้งต้นสาหรบั ก่อตั้งโครงการฯ และทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ แตง่ ตัง้ หม่อมเจ้าภีศเดช รชั นี เป็นประธานมูลนธิ โิ ครงการหลวง ในระยะแรกน้นั เป็นโครงการอาสาสมัคร มีอาสาสมัคร จากมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ สถาบันเทคโนโลยกี ารเกษตรแมโ่ จ้ กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ และกองทพั อากาศช่วยกันดาเนนิ โครงการฯ โดยส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกท้อและลิน้ จี่ก่อน ต่อมาจงึ มีการส่งเสรมิ ใหป้ ลกู แอปเปิลมนั ฝรั่ง ขา้ วโพดหวาน ถวั่ แดงเหลอื ง และมินท์ รวมถงึ แนะนาให้มกี ารเลี้ยงสัตว์ เช่น ปลาและแกะด้วยปจั จบุ นั โครงการหลวง ดาเนินงานใน 4 จังหวดั ภาคเหนอื คอื เชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน พะเยา และแม่ฮ่องสอน มสี ถานวี จิ ยั หลัก 6 สถานี และสถานสี ่งเสรมิ ปลกู พืชทดแทนฝน่ิ เรยี กว่า ศนู ยพ์ ฒั นาโครงการจานวน 21 ศูนย์ และหมู่บา้ นพฒั นาอีก 6 หมู่บา้ น รวมหมู่บา้ นในเขตปฏบิ ตั ิการทัง้ สิน้ 267 หมู่บ้าน ผลผลติ จากโครงการหลวงในปจั จบุ ัน ประกอบดว้ ย ผักปลอดภยั สารพิษ สมนุ ไพร ถั่วและธญั พชืผลไม้ เหด็ ดอกไม้เมืองหนาว ผลติ ผลปศสุ ัตว์ ผลติ ผลประมง ผลิตผลป่าไม้ ดอกไม้แหง้ ผลิตภณั ฑ์จากแฝก ไม้กระถาง และผลิตภัณฑแ์ ปรรูปในช่อื การคา้ “ดอยคา”

62. กาเนิดดอยคา “ดอยคา” เกษตรเพ่อื ชุมชน ผลิตผลเพอ่ื คนไทย ด้วยพระราชวิสัยทัศน์ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชท่ีกว้างไกล และลึกซ้ึง ในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและ ทุกข์ยากของราษฎร เมื่อปีพุทธศักราช 2512 พระองค์ทอดพระเนตรความทุกข์ยากลาบาก ของราษฎร และปัญหาการปลูกฝ่ิน อันเป็นภัย ต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นการทาลาย ทรัพยากรธรรมชาติ จึงพระราชทานแนวพระราชดาริ ให้จัดตั้ง “โครงการพระบรมราชานุเคราะห์ชาวเขา” ขึ้น และทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทาน วัตถุประสงค์ให้โครงการหลวงดังนี้ คือ• เพื่อชว่ ยชาวเขาในฐานะเป็นเพือ่ นมนุษย์ดว้ ยกัน• ลดการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ คอื ปา่ ไม้ และต้นนา้ ลาธาร• ยุติการปลูกฝนิ่ โดยสง่ เสรมิ พืชทดแทน• ใชพ้ น้ื ทอ่ี ย่างถูกตอ้ ง เพื่อผลิตพืชอนั เปน็ ประโยชน์ ตอ่ เศรษฐกิจของประเทศ ทรงส่งเสริมให้มีการปลูกพืชผัก ผลไม้ หลากหลายชนิดทดแทนฝ่ิน แต่เน่ืองจากพ้ืนท่ีเพาะปลูกท่ี ได้รับการส่งเสริม อยู่ห่างไกลจากตัวเมืองและแหล่งรับซ้ือ จึงเกิดปัญหาการถูกพ่อค้าคนกลางกดราคา ประกอบกับในบางช่วงฤดูจะมีผลผลิตที่ล้นตลาด หรือบางคร้ังอาจไม่ได้ขนาดท่ีเหมาะสมสาหรับการ จาหน่ายผลสด กระท่ังปีพุทธศักราช 2515 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงมีพระราชดาริ ให้จัดต้ัง “สหกรณ์ชาวเขา” และ “โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูป” แห่งแรกข้ึน เพื่อช่วยเหลือด้านการรับซื้อผลผลิตจากพืชที่ส่งเสริมในราคาเป็นธรรม โดยนามาแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ในเคร่ืองหมายการค้า “ดอยคา” เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตทางการเกษตร ตลอดจนการ จัดหาช่องทางกระจายสินค้าสู่ตลาด รวมถึงจัดให้มีการค้นคว้า วิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

7 ตามแนวพระราชดาริ“อุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการพัฒนาชนบท” ในเวลาต่อมา โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูป ถือกาเนิดขึ้นอีก 3 แห่ง ด้วยวัตถุประสงค์ท่ีใกล้เคียงกัน โรงงานหลวงฯ เพ่ืออุตสาหกรรมการเกษตรของบริษัทฯ ในแต่ละแห่ง ได้ถูกออกแบบตามภูมิสังคม เพื่อให้กลมกลืน และสอดคล้องกับวิถีชีวิตในแต่ละพ้ืนที่ และดาเนินการตามวัตถุประสงค์ขององค์กรในการให้ความช่วยเหลือและส่งเสริมด้านเกษตรกรรม รวมท้ังยังพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชน และรักษาส่ิงแวดล้อม เพื่อความอยู่ดี กินดี และมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างย่ังยืน ดังคาขวัญที่ว่า “โรงงานหลวงฯ เพื่อปวงชน” ต่อมา ในปีพุทธศักราช 2537 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชกระแสให้สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ รับช่วงดาเนินกิจการโรงงานหลวงฯ ต่อจากมูลนิธิโครงการหลวง โดยจัดตั้งเป็นนิติบุคคลภายใต้ช่ือ “บริษัท ดอยคาผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด” เพ่ือดาเนินกิจการในรูปแบบ ธุรกิจเพ่ือสังคม (Social Business)2.1 การดาเนนิ ธุรกจิ บรษิ ัท ดอยคาผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด มีวัตถปุ ระสงคห์ ลกั ตามกระแสพระราชดาริ การดาเนินกิจการจึงเน้นการตลาดเฉพาะผลิตภัณฑแ์ ละผลผลติ ทไ่ี ด้จากการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของชนเผ่าทอ่ี ยู่อาศยั บนท่ีสูงเป็นอนั ดับแรก ปกติพนื้ ทสี่ งู มีอณุ หภูมเิ หมาะสมต่อการปลูกพชื เมืองหนาวโดยเฉพาะพืชประเภทผัก ผลไม้และดอกไมเ้ มืองหนาว

83. โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูป เมอ่ื พ.ศ. 2515 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมพี ระราชดาริให้จัดตั้ง โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปแหง่ แรกขน้ึ เพ่ือชว่ ยเหลือดา้ นการรบั ซ้ือผลผลติ จากพืชทีส่ ง่ เสริมในราคาเป็นธรรม โดยนามาแปรรปู เป็นผลิตภัณฑ์อาหารสาเรจ็ รูป เพื่อเพ่มิ มูลค่าให้ผลผลิตทางการเกษตร ตลอดจนจดั หาช่องทางกระจายสินคา้ ส่ตู ลาด รวมถึงจดั ให้มกี ารค้นคว้า วจิ ัย และพฒั นาผลติ ภัณฑ์อาหารตามแนวพระราชดาริอตุ สาหกรรมเกษตรเพ่ือการพัฒนาชนบท โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู มี 4 แห่ง ได้แก่

93.1 โรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รูปที่ 1 (ฝาง) โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู ท่ี 1 (ฝาง) ตั้งอยู่ที่ บา้ นยาง ตาบลแม่งอน อาเภอฝาง จงั หวัดเชยี งใหม่กอ่ ตัง้ ขนึ้ ราวปีพุทธศกั ราช 2515 เปน็ โรงงานหลวงฯ แหง่ แรกท่ีก่อตง้ั ตางแนวพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช เพ่อื แกไ้ ขปัญหาความเดอื ดรอ้ นของราษฎรจากการถูกพ่อคา้ คนกลางกดราคา โดยในระยะแรกของการดาเนินการ โรงงานมีลกั ษณะเป็นเพียงรถยนตด์ ดั แปลงให้เปน็ โรงงานเคลอ่ื นท่ีเพื่อออกรบั ซื้อผลผลิตจากเกษตรกร ต่อมาได้ใชอ้ าคารของโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนเปน็ โรงงานช่วั คราวหลังจากนนั้ ได้มีการสรา้ งโรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รปู ข้นึ ในบรเิ วณทเ่ี ป็นตลาดร่มเกลา้ และสหกรณ์แม่งอนเดิม จนกระท่ังการกอ่ สร้างโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปแล้วเสร็จจงึ ได้มีการแบ่งบุคลากรออกเป็น 3 ฝา่ ยหลกั คือ ผจู้ ัดการที่มีความร้เู รื่องการถนอมอาหาร เจา้ หนา้ ทคี่ วบคุมคุณภาพ และช่าง การดาเนินงานจะมีลกั ษณะเป็นการพัฒนาชนบท โดยมักเริ่มต้นด้วยการพัฒนาทอ้ งท่ี มีการจดั ต้งัสถานีอนามยั และศูนยโ์ ภชนาการเด็ก เพอ่ื ส่งเสริมสุขภาพอนามยั ของชมุ ชนควบคุมกบั การกอ่ ตั้งโรงงานหลวงไปด้วย ซ่ึงเปน็ การสะท้อนแนวคิดในการช่วยเหลือประชาชนบนพนื้ ท่ีสงู ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช

10 โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปท่ี 1 (ฝาง) เคยประสบภัยพบิ ัตคิ ร้ังใหญ่ถึง 2 ครั้ง ครัง้ แรกไดเ้ กดิ อุทกภัยขึ้นเมอื่ วนั ท่ี 13 – 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 และในครั้งท่สี อง ได้เกิดอุทกภยั และดนิ โคลนถลม่ ข้นึ เม่อืวันที่ 8 – 11 ตุลาคม พ.ศ. 2549 โรงงานหลวงฯ ที่ 1 ซง่ึ เป็นโรงงานเพยี งแห่งเดียวทตี่ งั้ อยู่ในพน้ื ทีป่ ระสบภัยจงึ ไดผ้ ลิต “นา้ ดมื่ ตราดอยคา” ขน้ึ เพื่อออกแจกจ่ายเพ่อื บรรเทาความทุกข์ยากของผ้ปู ระสบภยั ในคร้ังนน้ัและเปน็ ผลิตภัณฑ์ออกจาหน่ายภายใตต้ ราสญั ลักษณ์ “ดอยคา” มาจนปัจจุบนั หลงั อุทกภยั สานักงานทรัพย์สินสว่ นพระมหากษตั รยิ ์ จงึ วางแนวทางการฟื้นฟโู รงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รปู ท่ี 1 เปน็ 4 ดา้ น ได้แก่ ดา้ นการผลิตและฟน้ื ฟโู รงงาน ด้านการเรียนรู้ ดา้ นธรุ กิจสนบั สนุน และด้านงานพิพธิ ภัณฑ์ ปจั จบุ ัน โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปที่ 1 (ฝาง) เป็นโรงงานหลักทเ่ี ปน็ กาลงั สาคญั ในการผลติผลิตภัณฑ์ภายใตต้ ราสินคา้ “ดอยคา” มีสายการผลติ สาคัญ 6 สายการผลติ ได้แก่ ผลติ ภัณฑ์กระปอ๋ ง ขวดแก้ว อบแหง้ นา้ ด่ืม ผลิตภัณฑแ์ ช่แข็ง และนา้ ผลไม้เข้มข้น3.2 โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปที่ 2 (แม่จนั ) โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู ท่ี 2 (แมจ่ ัน) ตั้งอยู่ท่ี หมูบ่ า้ นปากหา้ ตาบลปา่ ซาง อาเภอแมจ่ นั จังหวดัเชียงราย ก่อตั้งข้ึนราวปพี ุทธศกั ราช 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ อมร ภมู ิรัตน ในนามของสถาบัน

11ค้นคว้าและพฒั นาผลติ ภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปน็ ผู้อานวยการ ดาเนนิ การเช่นเดียวกันกับท่โี รงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รูปที่ 1 (ฝาง) โดยมจี ดุ ประสงค์เพ่ือการรับซ้ือผลผลิตจากเกษตรกรที่ไดร้ บั การส่งเสรมิ ให้มีการเพาะปลูกพืชเมืองหนาว โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปท่ี 2 (แม่จัน) ไดเ้ ปิดทาการทดลองผลิตขา้ วโพดฝักอ่อน นมถ่ัวเหลอื งผงซ่งึ ได้รบั พระราชทานทนุ ทรัพยส์ ่วนพระองค์ 100,000 บาท และยังมีเงินทุนสนับสนนุ จากประชาชนในพืน้ ท่ีบรษิ ัทตา่ งประเทศ และรัฐบาลตา่ งประเทศ โดยเสดจ็ พระราชกุศลถวายเงิน ท่ีดิน เครอ่ื งจกั ร อุปกรณ์ และส่งิปลกู สร้างด้วย นอกจากจะมีการสรา้ งโรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รูปแล้ว ยงั มีการจัดต้ังสหกรณก์ ารเกษตร เพ่ือจัดจาหน่ายปุย๋ สารเคมี และเครื่องอุปโภคบรโิ ภคทางการเกษตรแกเ่ กษตรกรในราคาถกู และยังมีการจดั ตั้งศูนย์โภชนาการเด็ก และพระราชทานสถานีอนามัย(ปัจจุบนั เป็นโรงพยาบาลชมุ ชน) เพ่ือใช้ชาวบา้ นสามารถเขา้ มารบั คาแนะนาและใชบ้ รกิ ารด้านสขุ อนามยั ได้ดว้ ย โรงงานหลวงฯจะรับซอ้ื ผลผลิตจากอาเภอแมส่ าย อาเภอแม่จนั อาเภอเชียงแสน และอาเภอเมอื งจงั หวดั เชียงราย โดยมผี ลติ ภณั ฑ์ทแี่ ปรรูปจากถว่ั เหลืองเป็นผลติ ภณั ฑท์ ่ีสร้างชอื่ เสยี งให้กับโรงงานหลวงฯแห่งน้ีเนอื่ งจากมเี คร่ืองจกั รผลติ แป้งถวั่ เหลอื งไขมนั เต็มรปู แบบ เปน็ แหง่ แรกของประเทศไทย ปจั จุบัน โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปที่ 2 (แม่จัน) เป็นโรงงานหลักทเ่ี ป็นกาลงั สาคัญในการผลติผลติ ภัณฑ์ภายใต้ตราสนิ คา้ “ดอยคา” โดยมีสายการผลิตสาคัญ เช่น น้าผลไมพ้ ร้อมดื่ม ผลไม้แชแ่ ขง็ และ แปง้ถัว่ เหลือง

123.3 โรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รูปแห่งที่ 3 (เตา่ งอย) โรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รปู แห่งท่ี 3 (เต่างอย) ตั้งอยู่ท่ี อาเภอเต่างอย จงั หวดั สกลนคร ถือกาเนิดขึ้นระหวา่ งทพี่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชประทับอยทู่ ี่พระตาหนักภพู านราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร ทอดพระเนตรเหน็ ความเป็นอยูท่ ่ีแร้นแค้นของราษฎร จงึ มพี ระราชดาริใหห้ มอ่ มเจ้าจกั รพันธเ์ พ็ญศิริจกั รพันธุ์ และศาสตราจารย์ อมร ภมู ริ ัตน เข้าดาเนนิ การ โดยมีพระราชดารเิ กย่ี วเนอื่ งกับการพัฒนา คือปรบั ปรุงสภาพความเป็นอยูใ่ ห้ดขี น้ึ สง่ เสริมให้มีรายได้ และหลงั จากพัฒนาแลว้ ชาวบ้านสามารถรกั ษาสภาพความเป็นอยู่และพัฒนาตอ่ ไปไดด้ ้วยตนเอง เมอ่ื เรม่ิ โครงการพัฒนาน้นั ประชาชนขาดแคลนอาหารและน้าสาหรับการอปุ โภคและบรโิ ภค อีกทง้ัพน้ื ท่บี รเิ วณดงั กลา่ วยังถูกรบกวนโดยพรรคคอมมิวนสิ ต์แห่งประเทศไทย รัฐบาลจึงจัดให้เป็นพืน้ ทีส่ แี ดง เมื่อเรม่ิ เข้าไปพัฒนา สารวจพบว่ายังมหี มู่บา้ นทีย่ ากจนเชน่ กนั อีกจานวน 3 หม่บู ้าน คอื หมู่บา้ นห้วยหวด หมบู่ า้ นกวนปุ่น และหมู่บ้านโคกกลาง พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชจงึ มีพระมหากรุณาธิคณุ รับหมูบ่ ้านดังกล่าวใหอ้ ย่ใู นโครงการเพิม่ เตมิ ต่อมาได้มีการจดั ตั้งโรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รปู ข้ึนเสริมรายได้ของราษฎรในเขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบนใหย้ ั่งยืน ด้วยการปลกู มะเขือเทศและสง่ เสรมิการแปรรปู ผลผลิตมะเขือเทศ ตอ่ มาจึงไดม้ ีการสง่ เสริมใหป้ ลกู ขา้ วโพดฝักอ่อน และแปรรูปสินค้าเพ่ือจาหน่ายทั้งในและต่างประเทศ

13 โรงงานหลวงแห่งท่ี 3 (เต่างอย) ถือเป็นโรงงานหลวงฯแห่งแรกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพ่ือแปรรปู ผลผลิตมะเขือเทศในลุ่มแม่นา้ โขง นาร่องให้เกดิ โรงงานแปรรปู ผลผลติ มะเขือเทศ และการส่งเสรมิ การปลูกมะเขือเทศของภาคเอกชนตามมาอย่างมากมาย รวมเป็นพื้นทส่ี ง่ เสริมการปลูกมะเขือเหศถึง 23,000 ไร่ จนมีคาเรียกพ้ืนทตี่ ลอดฝงั่ แม่น้าโขงวา่ “เสน้ ทางสายมะเขือเทศ” (Tomato Belt) ในด้านการพัฒนาชุมชนที่ดาเนินการควบคู่ไปน้ัน ได้มีการสร้างศูนย์โภชนาการเด็ก เพ่ือลดสภาพการขาดสารอาหารในเด็ก นอกจากนั้นยังมีการสร้างสถานีอนามัย การจัดทาธนาคารข้าว การบูรณปฏิสังขรณ์วัด การขุดบ่อน้าบาดาล การจัดหาถังเก็บน้าฝน และงานสุขาภิบาลชุมชน ในด้านการพัฒนาอาชีพน้ัน ส่งเสริมให้มีการปลูกมะเขือเทศ ข้าวโพดฝักอ่อน ไผ่ตง และมะละกอ โดยโรงงานหลวงฯแห่งน้ี รับซ้ือผลผลิตส่วนใหญ่จากเกษตรกรในพื้นท่ีกิ่งอาเภอเต่างอย กิ่งอาเภอโคกศรีสุพรรณ อาเภอกุดบาก และอาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร และได้ขยายตลาดการรับซ้ือไปถึงจังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดหนองคาย ต่อมาในปีพุทธศักราช 2553 เคร่ืองจักรผลิตหลักของโรงงานหลวงฯ ได้ชารุดทรุดโทรม ตามอายุการใช้งาน คณะผู้บริหารจึงทูลเกล้าฯ ถวายรายงานแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช-กุมารี จึงมีพระราชดาริให้สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในฐานะผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของ บริษัทดอยคาผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด ทาการปรับปรุงโรงงานหลวงฯ แห่งน้ี โดยการปรับปรุงกระบวนการผลิตและเพ่ิมกาลังการผลิตอาหารสาเร็จรูปประเภทต่าง ๆ ด้วยเทคโนโลยี และเครื่องจักรท่ีทันสมัย ตามมาตรฐานโรงงานผลิตอาหารสาเร็จรูประดับสากลและเร่ิมดาเนินการผลิตอีกครั้งในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ปจั จุบนั โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู แหง่ ท่ี 3 (เตา่ งอย) เป็นโรงงานหลักที่เป็นกาลงั สาคัญในการผลิตผลติ ภัณฑภ์ ายใตต้ ราสนิ ค้า “ดอยคา” โดยมีสายการผลติ สาคญั ได้แก่สายการผลติ มะเขือเทศเข้มข้นเพ่อื ป้อนตลาดผลติ ภณั ฑ์ซอสมะเขือเทศ เป็นสายการผลิตหลกั ของโรงงานทีม่ ีกาลังการผลิตสงู สุด 300 ตนั /วนัสารการผลติ ผลไมอ้ บแห้งเชน่ มะม่วง ฝรัง่ กระท้อน แคนตาลปู โดยมีกาลงั การผลิต 6 ตัน/วนัน้าผลไมบ้ รรจกุ ระปอ๋ งรองรบั สานการผลิตนา้ ธัญพชื ตา่ ง ๆ อาทิ นา้ ขา้ วกล้องงอก นา้ มะเขือเทศ และนา้ สารอง โดยมีกาลงั การผลิต12,000 กระป๋อง/วัน

14ขา้ วกล้องบรรจถุ ุงเปน็ สายการผลิตใหม่ของโรงงาน เพ่อื รองรับผลิตภณั ฑ์บรรจขุ า้ วชนดิ ต่าง ๆ อาทิ ข้าวกล้องงอก และขา้ วมนั ปูโดยมีกาลงั การผลิตเฉล่ยี 1 ตัน/วนั3.4 โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู แห่งที่ 4 (ละหานทราย) โรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รูปแหง่ ท่ี 4 (ละหานทราย) ตง้ั อยทู่ ่ี อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ก่อตั้งเมื่อ พทุ ธศักราช 2526 เนือ่ งจากในระหว่างปี พ.ศ. 2521 ถงึ ปี พ.ศ. 2524 ได้มีภัยคุกคามจากขบวนการพรรคคอมมวิ นิสตแ์ หง่ ประเทศบริเวณแนวชายแดนไทย – กัมพชู า ในชว่ งที่มกี ารตอ่ สู้ ชาวบ้านในพื้นท่ีจาเปน็ ต้องอพยพลภี้ ัยไปอยใู่ นค่ายพักชั่วคราวและสถานท่ปี ลอดภยั รอบ ๆ หมู่บ้าน สถานการณเ์ ช่นน้ที าให้ชาวบา้ นไดร้ ับผลกระทบจนมีความเป็นอยทู่ ่ีแร้นแคน้ ดว้ ยทรงมีความห่วงใยต่อราษฎรในพ้ืนทน่ี ี้ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจงึ มีพระราชดารสั ให้รฐั บาลจดั ต้งั โครงการพฒั นาครงั้ ใหญ่ คือ โครงการพัฒนาเพ่อื ความมน่ั คงในเขตพืน้ ทอ่ี าเภอละหานทราย จังหวดั บรุ ีรมั ย์ ตามพระราชดาริ ซง่ึ ครอบคลุมถงึ 40 หมบู่ ้านในเขตพ้นื ท่ีน้นั โดยจัดหาที่ดินทากนิ ใหแ้ ก่ชาวบ้าน จดั ตั้งหมู่บ้านใหม่ พัฒนาแหลง่ น้า และพฒั นาสังคม และได้มีการจัดตั้งโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู แห่งท่ี 4 ขึ้น เพื่อรับซื้อผลผลติ การเกษตร ไดแ้ ก่ มะเขือเทศ ข้าวโพดฝกั อ่อน ในราคาประกันจากเกษตรกรในจงั หวัดบรุ ีรัมย์ นครราชสีมา มหาสารคาม รอ้ ยเอด็ สรุ นิ ทร์ และศรีสะเกษ ต่อมาในปี 2543 บริษัทฯ ไดร้ ับผลกระทบจากวกิ ฤตเศรษฐกิจ และอัตราแลกเปลย่ี นเงนิ ตรา จงึ ส่งผลใหต้ ้องปิดกิจการโรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รปู ท่ี 4 จังหวดั บุรีรมั ย์ ปัจจุบันจึงมโี รงงานหลวงฯ ดาเนินกจิ การเพียง 3 แหง่ เท่าน้ัน

15 4. การกอ่ ต้งั ตราสญั ลักษณพ์ ระราชทาน งานของโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปได้ขยายออกไปอย่างกว้างขวาง ตามหลักการดาเนินการของโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู โดยผลิตและจดั จาหนา่ ยผลิตภัณฑ์ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ ภายใต้เครอ่ื งหมายการคา้ “ดอยคา” ซงึ่ ไดร้ บั พระราชทานช่ือ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชเพ่อื ใช้ในการจัดจาหน่าย เมอ่ื ปี พ.ศ. 2521 โดยในช่วงแรก ใช้เคร่อื งหมายการค้ารว่ มกบั มลู นิธิโครงการหลวง มลี ักษณะเครื่องหมายการคา้ ดงั น้ี ต่อมาในปี พ.ศ. 2537 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระบรมราโชบายให้สานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เข้ารับช่วงดาเนินกิจการโรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปจากมูลนิธิโครงการหลวง และจัดตั้งเป็นนิติบุคคล ในช่ือ “บริษัท ดอยคาผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด” เม่ือวันท่ี 8สิงหาคม พ.ศ. 2537 และพัฒนาการจัดจาหน่ายให้มีการขยายตลาดเพิ่มมากข้ึน และได้ปรับเปลี่ยนเครื่องหมายการค้าใหม่ให้ทันสมัยในปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา

16 ตราสัญลักษณ์ “ดอยคา” ใหม่ (ในปี 2543) ได้นาตราสัญลักษณ์พระราชทานเดิมวางไว้ท่ีตาแหน่งสูงสุด และกาหนดให้เป็นสีทองเพื่อแสดงถึงการสืบสานแนวพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและใต้ลงมาคือตัวอักษร “ดอยคา” ซึ่งเป็นตัวอักษรประดิษฐ์ในลักษณะที่อ่อนช้อยงดงาม มีลีลาท่ีเป็นลักษณะเฉพาะโดดเด่นอยู่บนพื้นฉากหลังสีเขียวรูปขนมเปียกปูน แสดงถึงความเป็นไทยผลิตภัณฑ์ดอยคา ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง จากกลุ่มผู้รักและใส่ใจสุขภาพ ท้ังชาวไทย และต่างชาติ กระแสการดูแลตัวเอง และรูปแบบการใช้ชีวิตท่ีทันสมัย ทาให้ฐานผู้บริโภคจากเดิมเน้นกลุ่มครอบครัว ขยายสู่กลุ่มคนรุ่นใหม่และวัยทางาน ท่ีมีเอกลักษณ์ ความเป็นตัวตนชัดเจน ดอยคาจึงปรับเปล่ียนตราสัญลักษณ์ใหม่ ให้ส่ือถึงความเป็นแบรนด์ท่ีเข้าถึงง่าย ชัดเจน และทันสมัย โดยแนวคิดการออกแบบได้กลับไปสู่ตราสัญลักษณ์เริ่มต้นที่ก่อต้ังในปี 2515 สื่อถึงอุดมคติแห่งความสมบูรณ์ของชีวิตและหัวใจ ของความเป็นผลผลิตแบบดอยคา โดยเร่ิมใช้ในทุกผลิตภัณฑ์ในปี 25594.1 องค์ประกอบสัญลักษณ์และความหมาย

174.1.1 รปู วงกลมสีเหลอื งทองหมายถึง ดวงอาทิตย์ สัญลักษณ์ ผู้ให้กาเนิดความอบอุ่น และสร้างสรรค์พสิ่งบนโลกเปรียบเสมือนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซ่ึงเป็นผู้ให้ชีวิตกับพสกนิกรชาวไทย4.1.2 รปู จว่ั สีเขียวเข้มหมายถึง ภูเขาสีเขียวแห่งความอุดมสมบูรณ์ท่ีแปรเปล่ียนมาจากความแห้งแล้งอันเนื่องมาจากการทาการเกษตรโดยไม่คานึงถึงสภาพแวดล้อม4.1.3 รปู จ่ัวสีเขยี วอ่อนหมายถึง ลักษณะหน้าจั่วของบ้านไทยในภาคเหนือซ่ึงเป็นจุดกาเนิดโครงการและเปรียบได้ด่ังราษฎรในผืนแผ่นดินไทย4.1.4 ลายเสน้ เลข ๙ มลี กั ษณะคลา้ ยหยดน้าหมายถึง น้าพระทัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชท่ีหยดลงบนภูเขาและทาให้เกิดความอุดมสมบูรณ์

18 4.1.5 ภาพอดุ มคตแิ ห่งความสมบรู ณ์ของชวี ติ หัวใจของความเป็นผลิตผลแบบดอยคา5. ผลิตภณั ฑต์ ราดอยคา ผลติ ภณั ฑต์ ราดอยคา แบ่งเป็นประเภท ดังน้ี 1. น้าผัก ผลไม้ นา้ สมุนไพร ธญั พืชพรอ้ มดืม่ 2. น้าผลไม้สกัดเข้มข้น 3. ผลไมอ้ บแห้ง 4. น้าผลไม้เข้มขน้ 5. ผลิตภณั ฑ์ทาขนมปงั 6. ผลไม้แชแ่ ข็ง

19 7. ผัก ผลไม้กระป๋อง 8. ผลไม้เข้มขน้ และกึง่ เข้มข้น 9. แป้งถั่วเหลอื ง 10. น้าดืม่ 11. เครอื่ งดื่มสมนุ ไพรซอง ปจั จบุ ัน บริษทั ดอยคาผลิตภณั ฑอ์ าหาร จากัด ดาเนินงานผา่ นโรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รูปทัง้ 4 แหง่เพ่ือดาเนินการส่งเสริม รับซ้ือ พัฒนา และแปรรูปผลผลิตให้เป็นผลิตภัณฑ์คุณภาพระดับพรีเมียมในราคาที่จับต้องได้ ภายใต้ตราสัญลักษณ์ “ดอยคา” ผู้นาธุรกิจอุตสาหกรรมนา้ ผลไม้ และอาหารแปรรูปเพ่ือสังคม 6. ประโยชน์ของโครงการหลวงอาหารสาเร็จรปู ดอยคา โครงการหลวงอาหารสาเร็จรูปดอยคา เป็นโครงการท่ีพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดารใิ หก้ ่อต้ังข้ึน เพ่ือให้ชาวเขาเลิกปลูกฝิ่นแลว้ หนั มาปลูกพชื ชนิดอ่นื ทดแทน แล้วนาผลผลติ ทไ่ี ด้จากการเกษตรมาขายใหก้ ับทางโครงการฯเพื่อเปน็ การแกป้ ัญหาการถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง นอกจากนโ้ี ครงการหลวงฯยังเปน็ การแก้ไขปัญหาการปลูกฝน่ิ ในภาคเหนือ และเปน็ การลดจานวนยาเสพติด(ฝนิ่ ) อนั เปน็ ภัยตอ่ ความมั่นคงชาตดิ ว้ ย ทั้งยังเปน็ การรกั ษาส่ิงแวดล้อมและป่าต้นน้าอีกทางหนง่ึ โครงการหลวงฯ นอกจากจะช่วยเหลอื และส่งเสริมด้านการเกษตรแลว้ ยังพัฒนาคุณภาพชวี ิตความเปน็ อยูข่ องชุมชน และรักษาส่ิงแวดลอ้ ม เพื่อความอยูด่ ี กินดี และมีคุณภาพชวี ิตที่ดีอย่างยัง่ ยืน ดงั คาขวัญทีว่ ่าเกษตรเพื่อชุมชน ผลิตผลเพอื่ คนไทย จะเหน็ ได้ว่าตลอดระยะเวลา 70 ปีท่พี ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ เดชทรงครองราชย์พระองค์ทรงงานหนักอยตู่ ลอดเวลาเพอ่ื พัฒนาความเป็นอยู่ของปวงชนชาวไทย แม้พน้ื ที่นั้นจะทุรกนั ดารมากเพียงใดก็ทรงเสด็จไปโดยมทิ รงย่อท้อเลย เพราะทรงหว่ งใยประชาชนของพระองค์ จนเกิดเป็นโครงการตา่ ง ๆกวา่ 4,000 โครงการทไี่ ด้พระราชทานให้กบั พสกนิกรของพระองค์ นับเป็นคุณอเนกอนันตท์ ท่ี รงทาเพ่ือประชาชนชาวไทยทกุ ชนชน้ั ทุกหมเู่ หลา่ อย่างแท้จรงิ และยังเปน็ การพฒั นาประเทศชาติ

20ใหเ้ ดนิ ไปข้างหน้าอย่างสมดุลทา่ มกลางกระแสทุนนยิ มในโลกยคุ ปจั จุบนั ทมี่ ุ่งเนน้ ผลกาไรเป็นหลัก ด้วยพระราชปณิธานของพระองค์ทท่ี รงยดึ มนั่ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชจะทรงสถติ อยู่ในใจของพสกนิกรไทยไปตลอดกาล

บทท่ี 3 วิธีศกึ ษาคน้ คว้าวตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณุ และพระราชวิสยั ทัศนข์ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิ พลอดลุ ยเดช (ในหลวงรัชกาลท่ี 9) 2. เพือ่ ใหค้ วามรู้และช้ใี หเ้ ห็นความสาคัญและประโยชน์ของโครงการหลวงดอยคาเครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการศึกษาคน้ คว้า เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการศกึ ษาค้นคว้า คอื สื่อสารสนเทศ อาทิ หนังสือ และเว็บไซต์ ตามแหล่ง สารสนเทศต่าง ๆ ทงั้ หอสมดุ และอนิ เทอรเ์ นต็ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 1. การเตรยี มงาน 1.1 วิเคราะห์หัวข้อที่ใช้ทารายงาน 1.2 ประชมุ วางแผน 1.3 มอบหมายงานใหส้ มาชกิ ในกลมุ่ 2. การเรม่ิ งาน 2.1 สบื ขอ้ มูลตามที่ไดร้ บั มอบหมาย จากแหล่งสารสนเทศต่าง ๆ 2.2 รวบรวมขอ้ มูล 2.3 วิเคราะหข์ ้อมลู และประเมินความนา่ เชื่อถือของแหลง่ ท่ีมา 2.4 ตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู 3. หลังการดาเนินงาน 3.1 จัดทารปู เล่มรายงาน และ ส่ือประกอบการนาเสนอ 3.2 นาเสนอรายงาน

22แผนการดาเนินการ ข้ันตอนการดาเนินงาน ระยะเวลา ผรู้ บั ผดิ ชอบ หมายเหตุวิเคราะห์หัวขอ้ ทีใ่ ชท้ ารายงาน 10 ต.ค. 2560 นางสาวศริ ริ กั ษ์ บวั เคนประชุมวางแผน 12 ต.ค. 2560 นางสาวศศิพา ชูแก้วและ คณะมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ใน 12 ต.ค. 2560 นางสาวศิรริ กั ษ์ บัวเคนกล่มุสืบคน้ ข้อมูลตามที่ไดร้ บั 15 ต.ค. – 20 ต.ค. 2560 นายวชริ วทิ ย์ วนิ จิ จตุรงค์มอบหมาย จากแหล่ง และคณะสารสนเทศรวบรวมข้อมลู 25 ต.ค. – 27 ต.ค. 2560 นายวชริ วทิ ย์ วินจิ จตุรงค์ และคณะวิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความน่าเชื่อถอื ของข้อมลู 28 ต.ค.-1 พ.ย. 2560 นายวชิรวทิ ย์ วนิ ิจจตุรงค์ตรวจสอบความถูกตอ้ งของ และคณะข้อมูลจัดทารูปเล่มรายงาน และส่ือ 3 พ.ย. – 5 พ.ย.2560 นางสาวศริ ิรักษ์ บวั เคนประกอบการนาเสนอนาเสนอ 17 พ.ย. – 25 พ.ย. นางสาวศศธิ ร โลหาวุธ และ 2560 คณะ 30 พ.ย. 2560 นางสาว และคณะ

บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาค้นคว้า ในการศึกษาคน้ คว้าเกย่ี วกบั โครงการหลวงอาหารสาเร็จรปู (ดอยคา) จากแหลง่ สารสนเทศตา่ ง ๆเมือ่ ได้ข้อมูลท่ีแนน่ อนแล้ว ผูจ้ ัดทาไดน้ าข้อมลู นั้นมาวเิ คราะห์และประเมินความเช่อื ถือ เพอ่ื ทารายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ ผจู้ ดั ทาได้รบั ความรู้ดังน้ี 1. ได้ตระหนักถงึ พระมหากรุณาธคิ ณุ ที่พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวง รชั กาลที่ 9) ทท่ี รงมตี ่อชาวไทย 2. ได้รบั ความรูใ้ นเร่ืองการจัดตัง้ โครงการอาหารสาเร็จรูป (ดอยคา) 3. ไดท้ ราบถึงวตั ถปุ ระสงค์ในการกอ่ ตัง้ โครงการหลวงอาหารสาเร็จรูปดอยคา 4. ได้รับความรใู้ นเรื่องเครือ่ งหมายการคา้ และความหมายของตราการค้าดอยคา 5. ได้รบั ความรูใ้ นเร่ืองโรงงานและผลติ ภัณฑข์ องโครงการหลวงอาหารสาเร็จรปู (ดอยคา) โครงการหลวงดอยคาเปน็ โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ก่อต้ังเม่ือ พ.ศ.2515 โดยมีวัตถุประสงค์ ดังน้ี 1. เพ่อื ชว่ ยเหลอื ชาวเขาให้มอี าชีพ สามารถเลี้ยงดูตนเองได้ 2. เพ่ือยตุ ิการปลูกฝ่ิน ซึง่ เปน็ ภยั สารเสพตดิ ที่เปน็ อันตรายต่อความม่นั คงของชาติ และสง่ เสรมิ การปลกู พชื ชนดิ อนื่ ทดแทน 3. เพื่อลดการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ คือ ปา่ ไม้ และตน้ น้าลาธาร 4. เพ่ือช่วยเหลือด้านการรับซ้ือผลผลิตจากพืชท่ีส่งเสริมในราคาเป็นธรรม เป็นการตัดปัญหาการถูก กดราคาจากพ่อค้าคนกลาง โดยนามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ในเคร่ืองหมายการค้า “ดอยคา” เป็นการเพ่ิมมูลค่าให้กับผลผลิตทางการเกษตร โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูป มีท้ังหมด 4 แห่ง ได้แก่ 1. โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู ที่ 1 (ฝาง) บ้านยาง ตาบลแม่งอน อาเภอฝาง จงั หวดั เชียงใหม่ 2. โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรปู ที่ 2 (แม่จัน) หมู่บ้านปากหา้ ตาบลป่าซาง อาเภอแมจ่ นั จงั หวดั เชยี งราย 3. โรงงานหลวงอาหารสาเรจ็ รปู แหง่ ที่ 3 (เตา่ งอย) อาเภอเตา่ งอย จังหวัดสกลนคร

24 4. โรงงานหลวงอาหารสาเร็จรูปแห่งที่ 4 (ละหานทราย) อาเภอละหานทราย จงั หวัดบุรีรัมย์เครื่องหมายการคา้ ของผลติ ภัณฑต์ ราดอยคา “ภาพอดุ มคติแหง่ ความสมบูรณ์ของชีวติ หัวใจของความเป็นผลิตผลแบบดอยคา” ผลติ ภณั ฑท์ ่อี ยูภ่ ายใต้การผลิตของบริษัท ดอยคาผลิตภัณฑ์อาหาร จากัด มหี ลายประเภท อาทิน้าผัก ผลไม้ น้าสมนุ ไพร ธญั พืชพร้อมดม่ื ผลไมอ้ บแห้ง นา้ ผลไม้เขม้ ขน้ แยมทาขนมปัง ฯลฯแต่ที่เปน็ ที่นิยมและรจู้ ักอยา่ งแพรห่ ลายก็คือ น้าผกั -ผลไม้ โดยเฉพาะ นา้ มะเขือเทศเขม้ ข้น 100% ท่เี ปน็ ทีน่ ิยมในกลุ่มคนรักสุขภาพ และอยากมีผวิ ทสี่ วยสุขภาพดี เนื่องจากดมื่ ง่าย ไม่เหนียวข้นเกินไป และมปี ระโยชนม์ ากในราคาทีป่ ระหยัดด้วย ทา่ มกลางกระแสทนุ นิยม ท่ีมุ่งเนน้ ผลกาไรเปน็ หลัก แตโ่ ครงการหลวงอาหารสาเรจ็ รปู (ดอยคา) ก็ยังคงยึดพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลเดช เป็นหลกั งานในการทางาน ดงัคาขวัญ เกษตรเพ่อื ชมุ ชน ผลติ ผลเพอ่ื คนไทย ตง้ั แต่อดตี จนถึงปัจจบุ ัน

บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ด้วยพระปรีชาสามารถและวสิ ัยทศั น์อนั กว้างไกลของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทีอ่ ยากแก้ไขปญั หาความทุกขย์ ากของชาวเขา ท่ีทรงเห็นครั้นเสดจ็ ไปประทบั ณ ตาหนกั ภูพิงคราชนิเวศน์จงั หวดั เชียงใหม่ เนอื่ งจากชาวเขาเหล่านนั้ ไมม่ ีอาชีพทส่ี ามารถเล้ียงดตู วั เองได้ จึงต้องปลูกฝิน่ และทาไรเ่ ล่ือนลอย จนทาให้เกิดปัญหายาเสพตดิ และการทาลายป่าไม้ จึงพระราชดาริ ใหจ้ ัดตั้ง “โครงการหลวงพระราชบรมราชานเุ คราะหช์ าวเขา”ข้ึน เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ชาวเขาหยุดปลูกฝิน่ และปลูกพืชชนดิ อนื่ ทดแทน ดังพระราชดารัสความวา่ “ถา้ จะให้ชาวเขาเลิกปลูกฝิ่นก็ต้องหาพืชอ่ืนท่ขี ายได้ราคาดีกว่า และมีความเหมาะสมปลูกในท่ีสูงมาใหช้ าวเขาปลูกทดแทน” ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2515 ไดม้ ีการกอ่ ตง้ั โครงการหลวงอาหารสาเรจ็ รูป (ดอยคา) ขนึ้ เพื่อรับซื้อผลผลติ ทางการเกษตรจากชาวเขา แล้วนาไปแปรรปู เพอ่ื เพ่ิมมลู ค่าให้กับสนิ ค้า ผลจากการแก้ไขปัญหาของพระองค์จะเหน็ ได้วา่ มทีการปลูกฝน่ิ ของชาวเขาน้อยลง ชาวเขามีอาชีพทส่ี ามารถเลี้ยงตวั เองได้ มคี วามเป็นอยู่และคณุ ภาพชีวติ ท่ีดีข้ึนปัญหาและอปุ สรรคในการค้นคว้า 1. ขอ้ มูลท่สี ืบคน้ ไดจ้ ากแหลง่ สารสนเทศมีน้อยเกินไป 2. เวลาว่างของสมาชิกในกล่มุ ไม่ตรงกัน จงึ ต้องติดต่องานผา่ นโซเซยี ลเน็ตเวิรค์ข้อเสนอแนะ ควรทาสอ่ื วดี ีทศั น์เก่ยี วกับการก่อตั้งโครงการหลวงอาหารสาเรจ็ รูป (ดอยคา) เช่น แอนิเมชัน

เอกสารอ้างองิกรงุ ศรี กรู .ู โครงการหลวงดอยคาเกษตรเพอ่ื ชมุ ชนท่พี ่อสรา้ งเพ่อื คนไทย. สืบคน้ เมอื่ 20 ตุลาคม 2560. จาก https://www.krungsri.com/bank/th/krungsri-guru/in-remembrance-of-king-bhumibol/ october-2017/doikham-for-thai-people.htmlโครงการหลวงดอยคา:โครงการในพระราชดาริ เพอื่ ชาวไทยภเู ขาและชาวไทยทงั้ ปวง. สืบค้นเมือ่ 20 ตลุ าคม 2560. จาก https://www.isamare.net/news-social/royalproject03-2/.ประวัติองคก์ ร. สืบค้นเมือ่ 20 ตลุ าคม 2560. จาก http://www.doikham.co.th/Doi-Kham-History.ฝา่ ยวิชาการสถาพรบคุ๊ ส์. (2560). โครงการพระราชดาริดอยคา. กรุงเทพ: บรษิ ทั พิมพ์ดี จากดั .มลู นิธิโครงการหลวง. ความเป็นมา. สบื ค้นเมื่อ 20 ตลุ าคม 2560. จาก http://www.royalprojectthailand.com/about.มูลนิธิเสริมสรา้ งเอกลกั ษณ์ของชาติ สานักงานเสรมิ สร้างเอกลักษณ์ของชาต.ิ (2554). พระเมตตาใตฟ้ า้ เดียวกัน. กรุงเทพฯ: บริษทั อมรนิ ทร์พริน้ ต้ิงแอนดพ์ ับลิชช่งิ จากดั (มหาชน).

ภาคผนวก

28 ประชมุ วางแผนและแบง่ หน้าทใ่ี หส้ มาชิกในกลุม่สืบค้นข้อมูลจากแหล่งสารสนเทศ (หอสมดุ มหาวิทยาลัยนเรศวร)

29 รวบรวมขอ้ มูลและจัดทารูปเล่มทาส่อื Power Point และ E-book

ประวัตผิ ู้จัดทาช่อื นายวงศกร จันทรจ์ ติ วริ ยิ ะภูมิลาเนา 379/1 หมู่ 13 ตาบลวัดไทร อาเภอเมือง จังหวดั นครสวรรค์ประวัตกิ ารศึกษา - จบมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จากโรงเรยี น นครสววรรค์ - ปัจจบุ นั กาลงั ศกึ ษาในระดับปรญิ ญาตรี ช้นั ปีที่ 1 สาขาทัศนมาตรศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์Email: [email protected]ชอ่ื -สกุล นายวชริ วทิ ย์ วินจิ จตรุ งค์ภมู ลิ าเนา 20/150 เขตคลองสามวา แขวงสามวาตะวนั ตก ถนนเลียบคลองสอง กรุงเทพมหานครประวตั กิ ารศึกษา- ม.ปลาย โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสน)ี 2- ปจั จุบนั กาลังศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี ช้ันปีท่ี 1 สาขาทัศนมาตรศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์E-mail: [email protected]

ชอ่ื นางสาววรนั ธร ทายาภูมลิ าเนา จังหวัด อุตรดติ ถ์ประวตั กิ ารศึกษา- จบมัธยมศึกษาปที ่ี 6 จากโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลยั พิษณุโลก- ปัจจุบนั กาลังศกึ ษาในระดับปริญญาตรี ชัน้ ปที ่ี 1 คณะสหเวชศาสตร์ สาขากายภาพบาบัดE-mail: [email protected]ชอ่ื นางสาววิรดา นันทช์ ัยภมู ิลาเนา 252 ม.12 ต.ศรีภมู ิ อ.ทา่ วงั ผา จ.น่านประวัติการศึกษา- จบมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสตรีศรีน่าน- ปจั จุบนั กาลังศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี ช้ันปที ี่ 1 คณะสห เวชศาสตร์ สาขากายภาพบาบัดE-mail: [email protected]ชือ่ นางสาวศศิธร โลหาวุธภูมิลาเนา 404 ม.2 ต.เขาทา่ พระ อ.เมอื ง จ.ชยั นาทประวตั ิการศึกษา- จบมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นนครสวรรค์- ปจั จุบันกาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี ช้ันปที ี่ 1 สาขาทัศนมาตรศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์E-mail: [email protected]

ชอื่ นางสาวศศพิ า ชแู กว้ภมู ลิ าเนา 45/682 หมู่บ้านพงษศ์ ริ ิชัย ถนนมาเจริญ แขวงหนองคา้ งพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯประวตั ิการศึกษา- จบชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลายจาก โรงเรียนกรพิทักษ์ศกึ ษา- ปจั จบุ นั กาลังศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี ชน้ั ปีที่ 1 สาขากายภายบาบดั คณะสหเวชศาสตร์ชอ่ื นางสาวศิรินทิพย์ พารตั น์ภมู ิลาเนา 52 หมู่ 5 ตาบล หว้ ยขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐมประวัตกิ ารศึกษา- จบมธั ยมปลายโรงเรียนราชินีบูรณะ จงั หวัดนครปฐม- ปจั จบุ ันกาลงั ศึกษาในระดับปรญิ ญาตรี ชน้ั ปีท่ี 1 สาขากายภายบาบัด คณะสหเวชศาสตร์E-mail : [email protected]

ชื่อนางสาวศริ ินนั ท์ อุดมภมู ิลาเนา 91 หมู่ 4 ต.สะเอียบ อ.สอง จ.แพร่ประวัติการศึกษา- จบมธั ยมศึกษาตอนปลายโรงเรยี นสองพิทยาคม จ.แพร่- ปจั จบุ ันกาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี ชัน้ ปที ่ี 1 สาขากายภายบาบดั คณะสหเวชศาสตร์E-mail:[email protected]ชือ่ นางสาวศิรริ ักษ์ บวั เคนภูมลิ าเนา 350 ม.3 ต.นางัว อ.นา้ โสม จ.อุดรธานีประวตั กิ ารศึกษา- จบมธั ยมศึกษาตอนปลายโรงเรยี นนา้ โสมพทิ ยาคม- ปัจจุบันกาลังศึกษาในระดบั ปริญญาตรี ช้นั ปีท่ี 1 สาขาทัศนมาตรศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์E-mail: [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook