Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง

Published by thanyalak.aommy, 2020-06-26 00:13:10

Description: เศรษฐกิจพอเพียง

Keywords: ทช๓๑๐๐๑

Search

Read the Text Version

42 | ห น้ า กิจกรรมที่ 5 1. ใหนักศึกษาแบง กลุม 5-10 คน วิเคราะห/ วิจารณ สถานการณข องประเทศไทย วาเกิดเศรษฐกิจ ตกตาํ่ เพราะเหตุใด 2. ใหผ เู รยี นเขยี นคาํ ขวัญเก่ียวกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. 3. ใหผเู รยี นประเมินสถานการณข องครอบครัวและวเิ คราะหว า จะนําปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมา ใชไดอยา งไร ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

ห น้ า | 43 บทที่ 5 การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการสรางรายได อยางม่นั คง ม่ังคัง่ และย่ังยืน สาระสําคัญ การประกอบตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี งเพ่ือการสรางรายได อยา งม่นั คง ม่ังค่ัง และยั่งยืน มุง เนน ใหผ เู รยี นมีการพจิ ารณาอยางรอบดาน มคี วามรอบคอบ และระมัดระวังในการวางแผนและการดาํ เนินงาน ทุกข้ันตอน เพื่อมิใหเกิดความเสียหายตอการพัฒนา เปนการประกอบอาชีพที่คํานึงถึงการมีรากฐานท่ี ม่นั คงแข็งแรง ใหเจริญเตบิ โตอยางมลี ําดบั ข้ัน สามารถยกระดบั คณุ ภาพชีวิตทั้งทางกายภาพและทางจิต ใจควบคูกนั การประกอบอาชึพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงมิไดขัดกับกระแสโลกาภิวัฒน ตรงกันขามกลับสงเสรมิ ใหกระแสโลกาภวิ ฒั นไดรบั การยอมรบั มากข้นึ ดวยการเลือกรบั การเปลี่ยนแปลงท่ี สง ผลกระทบในแงดีตอ ประเทศ ในขณะเดียวกันตอ งสรางภมู คิ ุม กันในตัวทด่ี ตี อการเปลย่ี นแปลงในแงทไี่ มด ี และไมอ าจหลีกเลีย่ งได เพื่อจาํ กัดผลกระทบใหอ ยูในระดบั ไมก อ ความเสยี หายหรอื ไมเปนอันตรายรา ยแรง ตอ ประเทศ ผลการเรียนรูที่คาดหวงั ตระหนกั ในความสําคัญของการการประกอบอาชีพตามหลักของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการสราง รายได อยางมั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน พัฒนาประเทศภายใตกระแสโลกาภิวัฒนและเลือกแนวทางหลัก ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยกุ ตใชใ นการดําเนินชีวิตอยางสมดุลและพรอมรับตอความเปลี่ยนแปลง ของประเทศภายใตก ระแสโลกาภิวัฒน

44 | ห น้ า ขอบขา ยเน้อื หา เรื่องที่ 1 แนวทางการประกอบอาชีพ 1.1 การเขา สอู าชพี 1.2 การพฒั นาอาชพี เรอื่ งท่ี 2 การสรา งงานอาชีพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5 กลมุ อาชพี ใหม 2.1 เกษตรกรรม 2.2 อตุ สาหกรรม 2.3 พาณิชยกรรม 2.4 ความคิดสรา งสรรค 2.5 การอาํ นวยการและอาชพี เฉพาะทาง เร่อื งที่ 3 แนวทางการประกอบอาชพี ใหประสบความสาํ เรจ็ 3.1 มีความรู คอื ตอ งรอบรู รอบคอบ และระมดั ระวัง 3.2 คุณธรรมทส่ี ง เสรมิ การประกอบอาชีพประสบความสําเร็จคือ ความสาํ เรจ็ สุจรติ ขยัน อดทน แบง ปน 3.3 ขอ ดีของการประกอบอาชพี อสิ ระ 3.4 ตวั อยา งองคป ระกอบที่สาํ คญั ของโครงการประกอบอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 3.5 ตวั อยา งการเลยี้ งปลาดกุ ในบอพาสติกตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.6 กรอบแนวคิดในการประกอบอาชพี เพอื่ สรา งรายไดอยา งมั่นคง มั่งคั่งและยง่ั ยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ห น้ า | 45 เร่อื งท่ี 1 แนวทางการประกอบอาชพี อาชีพ หมายถึงชนิดของงานหรือกิจกรรมของบุคคลประกอบอยู เปนงานที่ทําแลวไดรับ ผลตอบแทนเปนเงินหรอื ผลผลิต อาชพี ตามหลักของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื งานทีบ่ คุ คลทาํ แลว ไดรับผลตอบแทนเปน เงินผลผลติ โดยหยึดหลกั 5 ประการทีส่ ําคัญในการดําเนนิ การ ไดแ ก ทางสายกลางในการดําเนนิ ชีวิต 1. ทางสายกลางในการดํารงชีวิต 2. มคี วามสมดุลระหวา งคน ชมุ ชนและส่งิ แวดลอ ม 3. มคี วามพอประมาณ พอเพยี งในการผลติ การบริโภคและการบริการ 4. มภี มู คิ ุมกนั ในการดําเนินชวี ิตและการประกอบอาชีพ 5. มีความเทาทันสถานการณชุมชน สังคม แนวทาง กระบวนการประกอบอาชพี ของผเู รียนที่ไมมีอาชีพตองเขาสูอาชีพใหม และผูท่ีมีอาชีพ อยูแลวตองการพัฒนาอาชีพเดิม ผูเรียนจะตองเปนนักริเริ่ม รอบรู คิดคน พัฒนา ชอบความอิสระ มคี วามมงุ ม่ัน ม่นั ใจ พรอมทีจ่ ะเส่ียง ทาํ งานหนัก ขยัน อดทน คิดกวาง มองลึก มีความรูเขาใจในอาชีพท่ี ตนเองทําอยางดี ยอมรับการเปล่ียนแปลงอยูเสมอ มีมนุษยสัมพันธที่ดี ยิ้มแยมแจมใส มีจิตบริการ ใช ขอมูลหลายดา น ศึกษาสภาพแวดลอม ปจ จยั ท่จี ะทาํ ใหการประกอบอาชีพประสบผลสําเรจ็ แนวทางการประกอบอาชีพ แบงออกได 2 แนวทางคอื 1. การเขาสูอาชีพใหม 2. การพัฒนาอาชพี เดิม ทัง้ 2 แนวทางน้ี การทีจ่ ะประกอบอาชีพไดผลดีมีความตอเนื่อง มีโอกาสประสบความสําเร็จตาม วัตถุประสงคตอ งพิจารณาสิ่งตอ ไปน้ี 1. พจิ ารณาศักยภาพหลักชมุ ชน 5 ดา น ประกอบการตัดสนิ ใจ ไดแ ก 1.1. ศกั ยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในชุมชน เชน ชุมชนที่อยูอาศัยและประกอบอาชีพดาน เกษตรกรรม มีวัตถุดิบ หรือผลผลิตทางการเกษตรตางๆท่ีมีราคาถูกเหมาะสมท่ีจะแปรรูปเปนสินคาได ผูเรียนยอมสามารถลดปญหาการขนสง ลดปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบดานการแปรรูปก็ควรไดรับการ พิจารณาเลือกเปน อาชพี หลังจากผูเ รียนสาํ เร็จการศึกษา 1.2. ศักยภาพของภูมิอากาศ สภาพของภูมิอากาศเปนสําคัญอยางหน่ึงท่ีตองพิจารณาให เหมาะสมสอดคลองกับการประกอบอาชพี เชนสภาพในชมุ ชนของเรามีอากาศหนาวเย็น เราตองพจิ ารณา การประกอบอาชีพท่เี กยี่ วขอ งกบั การทอ งเที่ยว การทาํ ของที่ระลึก การปลูกพชื ผัก ผลไม ไมดอก

46 | ห น้ า ไมป ระดบั เมืองหนาว เปน ตน 1.3. ศกั ยภาพของภมู ิประเทศ ถาภูมปิ ระเทศเปน ชายทะเล นา้ํ ตก ภเู ขาซ่ึงเหมาะกับอาชีพการ ทอ งเท่ียว อาชีพตา งๆทเ่ี กี่ยวขอ งกับการทอ งเที่ยวกค็ วรไดร บั การพจิ ารณาเปนอนั ดบั แรก 1.4. ศกั ยภาพดา นทําเลท่ตี ง้ั ที่ตัง้ ของบา นพักอาศยั หรือประกอบอาชีพเปนทาํ เลทีเ่ หมาะสมกับ การทําการคา หรืออตุ สาหกรรมในครอบครวั ตอ งพจิ ารณาใหถ ูกตอ ง 1.5. ศักยภาพดานศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ใหพิจารณาวา ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ของชมุ ชนจะสามารถสง เสริมการประกอบอาชีพไดอยางไรบา ง ศกั ยภาพหลกั ของชุมชนทงั้ 5 ดานน้ี ถอื เปน ตนทุนทส่ี าํ คัญ ซงึ่ ผปู ระกอบอาชีพ ไมจ ําเปนตองใช เงินซื้อหามาเปน สง่ิ ท่เี รามอี ยแู ลว จึงมคี วามจาํ เปนทีผ่ ศู ึกษาจะตองนาํ ตนทนุ ดงั กลา วมาใชใหเกิดประโยชน สูงสดุ ในการประกอบอาชีพ อยา งไรกด็ ียังตอ งพิจารณาองคประกอบอ่นื อกี 2. การนํากระบวนการ “คิดเปน” มาใชในการวิเคราะหขอมูลความพรอม กอนตัดสินใจ ประกอบอาชีพ 3 ดา นดงั นี้ 2.1. การวิเคราะหต นเอง การวิเคราะหตนเองดานความคิด ความชอบ ในดานที่จะเขาสูอาชีพ เพราะถาเรา ประกอบอาชพี ทเ่ี ราชอบ มีใจรัก จะทําใหเ รามีความสขุ อยากทาํ และทําไดดี 2.2. วเิ คราะหสภาพแวดลอ มของครอบครวั ชุมชน วิถีชีวิต ทรพั ยากรในทอ งถนิ่ ทาํ เลที่ต้ัง เชน ถา เราสนใจจะเล้ียงปลาดกุ เพือ่ การจําหนาย เราตอ งดสู มาชิกในครอบครวั ของเราเหน็ ดวยสนับสนุนหรือไม มีพื้นท่ีพอจะทําบอเลี้ยงปลาดุกหรือไม ใกลแหลงจัดซ้ือ จัดหาพันธุปลาดุกมาเลี้ยง ถาเลี้ยงปลาดุกแลว สามารถนําไปจาํ หนา ยในชุมชน ชุมชนใกลเ คยี ง ผคู นในทอ งถน่ิ นิยมบริโภคหรอื ไม ปลาดกุ สามารถนําไป ประกอบอาหารไดหลายรปู แบบเชน นําไปยาง นําไปทําลาบ นําไปแกง นําไปทําเปนผลติ ภณั ฑพ วกน้ําพริก

ห น้ า | 47 พรอ มท้ังพิจารณาเงนิ ทนุ ในการเล้ียงปลาดกุ ดวย 2.3. วิเคราะหความรูทางวิชาการ คือความรูดานการเลี้ยง การดูแลรักษา การจําหนาย การแปรรูปเพ่ือเพิ่มมูลคา การฝกอบรมทกั ษะทจี่ าํ เปน ตองฝกเพม่ิ เติม เชน การขยายพันธุปลาดุกเพ่ือการจําหนาย การแปรรูปเพิ่ม มลู คาผลผลติ ชองทางการตลาด การสง เสริมการขาย การจดบันทกึ การขาย การวเิ คราะหร ายรบั -รายจาย ขอควรคํานงึ ในการตัดสนิ ใจประกอบอาชพี การตัดสินใจที่จะประกอบอาชีพอะไรก็ตาม จะตองมีสิ่งที่จะตองคิดหลายดานทั้งตองดูขอมูล มคี วามรู มีทนุ แรงงาน สถานที่ มีกลวธิ กี ารขายและคณุ ธรรมในการประกอบอาชีพดวย ขอ ควรคาํ นงึ ในการ ตัดสนิ ใจประกอบอาชีพมี ดงั น้ี 1. การตัดสินใจประกอบอาชพี โดยใชข อมูลอยางเหมาะสม ในการประกอบอาชพี ผเู รียนตอ งใชข อมูลหลายๆ ดาน มาเพื่อการตดั สนิ ใจ ขอ มูลที่สําคัญ คือ ตองรูจ กั ตนเองวา มคี วามชอบหรอื ไม รจู ักสภาพแวดลอมวาเหมาะสมกับการประกอบอาชีพน้ัน ๆ หรือไม และขอมลู ที่สาํ คัญคือความรทู างวิชาการ 2. มีความรวู ชิ าชีพนนั้ ๆ การประกอบอาชีพอะไรกต็ องมีความรูในวิชาชพี นั้นๆ เพราะมีความรูในวิชานั้นๆ อยางดีจะทํา ใหส ามารถปรบั ปรงุ พฒั นาอาชีพนน้ั ๆ ไดด ีย่ิงขน้ึ 3. มีทนุ แรงงาน และสถานที่ ทุน แรงงาน สถานท่ี เปน องคป ระกอบสําคัญในการประกอบอาชพี ทาํ ใหเกิดความม่ันใจในการ ประกอบอาชพี เปนไปอยางราบร่ืน 4. มวี ธิ กี ารปฏบิ ัติงานและจดั การอาชีพ ขั้นตอน กระบวนการ การจัดการท่ีเหมาะสม มีประสิทธิภาพ ทําใหงานประสบความสําเร็จ ลดตน ทนุ การผลิต มผี ลผลิตไดมาตรฐานตามทีต่ ้งั เปา หมายไว 5. มีกลวิธีการขาย การตลาด กลวิธีการขาย การตลาดทสี่ ามารถตอบสนองความตองการ ความพึงพอใจของลูกคา ยอ มทําให ยอดขายเปน ไปตามเปา หมาย 6. มีการจดั การการเงินใหมเี งนิ สดหมุนเวียนสามารถประกอบอาชพี ไปไดอยา งตอ เนื่องไมข ดั ขอ ง

48 | ห น้ า 7. การจัดทําบญั ชรี ายรับ – รายจายเพ่อื ใหทราบผลการประกอบการ 8. มีมนุษยสัมพันธและมีจิตบริการ การมีมนุษยสัมพันธท่ีดีกับลูกคา มีความเปนกันเอง โดยเฉพาะการใชคาํ พูดท่เี หมาะสมเพอื่ สรา งความพึงพอใจใหก ับลูกคา ไปพรอ มกบั การมีจิตบรกิ ารใหลกู คา ดว ยความจรงิ ใจตอ งการเห็นลกู คามคี วามสขุ ในการบริโภคสินคา 9. มีคณุ ธรรมในการประกอบอาชีพ ผูผลิตและผูขายมคี วามซื่อสตั ยต อ ลกู คาใชวตั ถุดบิ ทมี่ ีคณุ ภาพ ไมใ ชส ารเคมีท่ีมีพิษในผลิตภัณฑ ซ่งึ สง ผลตอสขุ ภาพ สง่ิ แวดลอม และการดําเนินชีวิตของลูกคา เร่ืองท่ี 2. การสรางงานอาชพี ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 5 กลุม อาชพี ใหม การสรา งงานอาชีพตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ไดแบงกลุมอาชีพ 5 กลุมอาชีพใหม คือ 1. เกษตรกรรม 2. อุตสาหกรรม (ในครอบครัว) 3. พาณิชยกรรม. 4. ดานความคิดสรางสรรค 5. การอาํ นวยการและอาชพี เฉพาะทาง โดยจะวิเคราะหแบงกลุม 5 กลุมอาชีพใหมเปนดานการผลิตกับ ดา นการบรกิ ารดงั น้ี กลุม อาชีพ ดา นการผลิต ดา นการบรกิ าร 1. เกษตรกรรม 1. แปรรปู ผลผลิต * พชื ตนไม ตวั อยา งการ ตกแตงตน ไม การจัดดอกไม 2. อุตสาหกรรม - อาหารหลกั ประดบั ในงานมงคล งานศพ การ (ในครอบครัว) - อาหารวาง - ขนม ดแู ลตนไม การจดั สวน - เครือ่ งดื่ม (น้าํ ตะไคร กระเจย๊ี บ * สัตว เชน เลี้ยงสนุ ัข การ ใบเตย ขงิ สปั ปะรด เสาวรส ฯลฯ) ดแู ลตดั ขน 2. เพาะเห็ด (แปรรปู ) 3. เพาะพนั ธไุ ม * บรรจสุ ินคา 4.การเลีย้ งไกไ ข * สงสนิ คาตามบา น รา น โดย 5. ขยายพันธุพชื ใชจ กั รยานยนต 6. ปลูกสมุนไพร * ประกอบสนิ คา/ผลติ ภัณฑ เชน 1. ไมนวดเทา ไมกดเทา 2. ผลิตภณั ฑจากกะลามะพรา ว 3. ผลติ เคร่ืองประดบั ทํามอื 4. ผลติ สนิ คา จากวสั ดเุ หลือใช

ห น้ า | 49 กลุมอาชพี ดานการผลิต ดานการบรกิ าร 3. พาณชิ ยกรรม 5. รองเทา แตะ เคร่ืองใช ประดับตกแตง ประกอบชอดอกไม 4. ดานความคดิ สรางสรรค 6. ตะกราจากกาบหมาก 7. เกาอ้ีทางมะพราว * การขายตรง 5. การอํานวยการและ 1. นาํ้ เตาหูกบั ปาทองโก * การขายปลกี อาชพี เฉพาะทาง 2. เครือ่ งด่ืม นํา้ เตาหู กาแฟ * การขายสง 3. ผลิตปุยชีวภาพ น้ําหมัก * บริการผูกผาตบแตง งานพธิ ี 1. ออกแบบบรรจุภณั ฑ (ผา กระดาษ ตา งๆ พลาสตกิ ฯลฯ) * ลําตดั หมอลาํ 2. ออกแบบเครอื่ งใชต างๆ (ดวยวสั ดุ * รองเพลงพนื้ บา น เหลือใช) * เปาขลุย 3. ออกแบบเฟอรน ิเจอร 4. ดนตรพี ืน้ บาน (โปงลาง อังกะลุง) * หวั หนางาน 5. การออกแบบเครอ่ื งประดับ * Organizer รับจัดงานวนั เกดิ การแพทยท างเลอื ก (การนวดแผนไทย ฉลองงานแตง ผอ นคลาย บําบัด รักษา) * รบั ตกแตง สถานที่

50 | ห น้ า เรือ่ งท่ี 3 แนวทางการประกอบอาชพี ใหป ระสบผลสําเรจ็ 3.1 มคี วามรูค อื ตอ งรอบรู รอบคอบและระมดั ระวงั ความรอบรู มคี วามหมายมากกวาคําวา ความรูคือนอกจากจะอาศัยความรูในเชิงลึกเกี่ยวกับ งานท่ีจะทําแลว ยังจําเปนตองมีความรูในเชิงกวาง ไดแกความรู ความเขาใจในขอเท็จจริงเก่ียวกับ สภาวะแวดลอ มและสถานการณท เ่ี กี่ยวพันธก บั งานทจี่ ะทําทงั้ หมด ความรอบคอบ คือ การทํางานอยา งมีสติ ใชเวลาคดิ วเิ คราะห ขอมูลรอบดาน กอนลงมือทํา ซื่งจะลดความผดิ พลาด ขอ บกพรอ งตา ง ๆ ทําใหง านสาํ เรจ็ ไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ ใชตนทุนต่ํา ระมัดระวัง คือ ความไมประมาท ใหความเอาใจใสในการทํางานอยางตอเน่ืองจนงานสําเร็จ ไมเกดิ ความเสยี หายตอชวี ติ และทรัพยส ิน หรืออบุ ัตเิ หตุอนั ไมควรเกดิ ขน้ึ 3.2 คณุ ธรรมท่ีสง เสริมการประกอบอาชพี ใหป ระสบความสําเร็จ คือ ความซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน แบงปนการประกอบอาชพี ตองสมั พันธเกยี่ วของกบั บคุ คล สังคมและสิ่งแวดลอ มอยา งหลีกเลี่ยงไมได เพื่อใหการประกอบอาชีพประสบผลสําเรจ็ ตามเปาหมาย ไดร บั การสนับสนุนจากผเู ก่ียวขอ ง ผูรว มงาน และ ลูกคา ผูประกอบอาชพี ตองมีคุณธรรม ซ่ือสตั ย สุจรติ ขยนั อดทน แบงปน ความขยัน อดทน คือ ความต้ังใจเพียรพยายามทําหนาท่ีการงาน การประกอบอาชีพอยาง ตอเนื่อง สม่ําเสมอ ความขยันตองปฏิบัติควบคูกับการใชสติปญญา แกปญหาจนงานเกิดผลสําเร็จผูท่ี มีความขยัน คือผูท่ีตั้งใจประกอบอาชีพอยางจริงจังตอเน่ือง ในเร่ืองที่ถูกที่ควร มีความพยายามเปนคน สูงาน ไมท อถอย กลาเผชิญอปุ สรรค รกั งานทที่ ํา ต้ังใจทาํ หนาทอ่ี ยา งจรงิ จงั ซื่อสัตย คือการประพฤติตรง ไมเอนเอียง จริงใจไมมีเลหเหลี่ยมผูที่มีความซื่อสัตย คือผูท่ี ประกอบอาชีพตรงไปตรงมา ไมคดโกง ไมเอาเปรียบผูบริโภค ไมใชวัตถุที่เปนอันตราย และคํานึงถึง ผลกระทบกับสภาพแวดลอ ม ความอดทน คอื การรักษาสภาวะปกตขิ องตนไวจ ะกระทบกระท่งั ปญ หาอุปสรรคใด ผูมีความ อดทน ในการประกอบอาชีพ นอกจากจะอาศัยปญญาแลว ลวนตองอาศัย ขันติ หรือความอดทนในการ ตอสูแ กไขปญหาตางๆ ใหง านอาชพี บรรลคุ วามสาํ เรจ็ ดวยกันทงั้ ส้ิน การแบงปน / การให คือการแบงปนสิ่งที่เรามี หรือสิ่งที่สามารถใหแกผูอ่ืนไดและเปน ประโยชนแกผ ูทรี่ ับ การใหผูอ่นื ทบ่ี รสิ ุทธ์ใิ จไมหวังส่ิงตอบแทนจะทาํ ใหผใู หไ ดรับความสขุ ท่เี ปน ความทรงจํา ทยี่ าวนาน การประกอบอาชพี โดยขยัน อดทน ซือ่ สตั ย รูจ ักการแบง ปนหรือใหส ่ิงตาง ๆ ทีส่ ามารถใหไดแก ลูกคาและชมุ ชนของเรายอมไดรับการตอบสนองจากลูกคาในดา นความเช่ือถอื

ห น้ า | 51 3.3 ขอดขี องการประกอบอาชพี อิสระ 1. จดั ตงั้ งายประกอบอาชีพไดรวดเรว็ 2. มคี า ใชจา ยและตน ทุนต่าํ 3. มคี วามใกลช ดิ กบั ลูกคา สอื่ สารไดท นั ที โฆษณาปากตอปาก 4. มคี วามคลอ งตัวสงู ปรับเปลีย่ น ปรบั ปรุงไดรวดเร็ว 5. สามารถขอรับการสนับสนนุ ดา นการเงนิ จากองคกรทองถ่นิ ไดแ ละ 6. มีแหลงเงนิ ทนุ กเู พอ่ื ขยายกจิ การไดงาย เชน ธนาคารออมสนิ ธนาคาร ธกส . และสถาบนั การเงินในหมบู าน 3.4 ตัวอยางองคประกอบท่ีสาํ คัญของโครงการการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง องคประกอบทส่ี าํ คญั ของการประกอบอาชีพ…………………………………………………….. 1. ศักยภาพของผูเรียน / ผปู ระกอบอาชพี ความพรอมเรอ่ื ง  เงนิ ทุน……………………………………………………………………………………  ทาํ เล……………………………..……………………………………………………….  ทตี่ ้ัง…………………………..………………………………………………………….  ความรูดานงานอาชพี …………………………………………………………………... 2. การตลาด  ภาพรวมอาชีพ…………………………………………………………………………...  สภาพการบริโภคในชุมชน………………………………………………………………  แนวโนม พฤตกิ รรมของผบู รโิ ภค……………………………………………………….  สวนแบง การตลาด………………………………………………………………………  กลมุ ลกู คาเปาหมาย ไดแก… ……………………………………………………………. 3. ดา นผลติ ภณั ฑ ( ตองผลิตใหส นิ คามคี ณุ ภาพ ปรมิ าณ ความปลอดภัย ไดมาตรฐาน)  คดิ คน สูตรใหม… …………………………………………………….………….………  สินคา หลากหลาย………………………………………..………………………….……  การสรา งตราสนิ คา ( brant) ………………………………………………………………....

52 | ห น้ า 4. ดานสถานท่ี  การจัดตกแตงราน…………………………………………………………………..….  การจดั หาวัสดุ อุปกรณ… ………………………………………………………….…… 5. ชองทางการจดั จาํ หนาย  รานคา……………………………………………………….……….………………….……  Supermarket…………………………………………………………………….…..……  Delivery……………………………………………………………………………………… 6. การกาํ หนดราคาขาย  ราคาขายปลกี ………………………………………………………………………..……..  ราคาขายสง…………………………………………………………………………….……. 7. การสง เสรมิ การขาย การประชาสมั พันธ  แผน พับ  แผนปลวิ  ปา ย  โปรโมชน่ั 8. การผลติ การใชแ รงงาน  การใชแรงงานตนเอง  การใชแ รงงานตนเองและครอบครวั  การใชแรงงานในชุมชน  การใชแ รงตนเองสมาชิกกลุม การใชว ัตถุดบิ  มอี ยใู นครอบครวั ตนเอง  มีอยใู นชมุ ชน 9. การจัดการสนิ คา  การเกบ็ รกั ษา…………….……………………..…………  การจัดสง การกระจาย ………………………………… 10. โครงสรา งองคก ร  มอบหมายผรู บั ผดิ ชอบชดั เจน  เราทาํ เองทกุ ขั้นตอน 11. การลงทนุ  พื้นที่ ตรม………………………………………………………………………..……  ดูแลธุรกิจคา ใชจา ย/งบประมาณการลงทุน……………………….…………….……. ลาํ ดบั รายการ จาํ นวนเงิน (บาท/สตางค)

งบประมาณคาใชจายตอ 1 เดอื น ห น้ า | 53 ลาํ ดับ รายการ จาํ นวนเงิน (บาท/สตางค) 12. ระยะเวลาคนื ทุน  1 เดอื น  2 เดอื น  3 เดอื น  4 เดอื น  5 เดือน  6 เดอื น 13. เงอื่ นไขและขอ จาํ กัดที่สาํ คญั  ปจ จัยทส่ี ง ผลใหป ระสบความสาํ เรจ็  การไมละเลย กํากบั ดแู ลธรุ กจิ  ทาํ เล ทตี่ ง้ั การจัดตกแตง ราน  การผลิตทกุ ขน้ั ตอนไดมาตรฐานและปลอดภยั  พัฒนาสินคา และบรกิ ารตอ เนอื่ ง  อนื่ ๆ ...........................................................................................................................  ขอ ควรระวงั ทส่ี ง ผลใหเกดิ ความลมเหลว................................................................... ………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………. 3.5 กรณีตวั อยางวิธกี ารเล้ียงปลาในบอ พลาสตกิ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง การเลยี้ งปลาในบอ พลาสติกเปนการเร่ิมตน การเลย้ี งปลาอกี วิธีหน่งึ ท่ใี ชต น ทนุ ตาํ่ ใชพ น้ื ที่ไมมาก สามารถใชแรงงานในครวั เรอื นในการขุดบอและดูแล ซง่ึ มขี ั้นตอนดังนี้ 1. การเตรยี มบอ เลี้ยงปลา 1.1 การเลือกสถานทข่ี ดุ บอเล้ยี งปลา ควรเลอื กพนื้ ทีโ่ ลงไมมีตนไมใหญคลุมเน่ืองจากใบไมที่ หลน ใสบอ จะสง ผลตอ คุณภาพของน้ําทใี่ ชเล้ียงปลา หรืออาจใชตาขายขึงเหนือบอปลา เพ่ือกันไมใหใบไม หลนลงบอปลาก็ไดนการเรม่ิ ตนการเล้ียงปลาอีกวิธีหน่งึ ทีใ่ ทุ 1.2 การขุดบอ เม่อื เลือกพืน้ ทไ่ี ดแ ลว ขดุ บอขนาดกวา ง 2 เมตร ยาว 4 เมตร ความลึกไมเกิน 1 เมตร 1.3 การปพู ลาสติก เม่ือขดุ บอ ไดขนาดทีต่ อ งการแลว ตอไปเปนข้ันตอนของการปูพลาสติก กอนปูพลาสตกิ ตอ งตรวจสอบกนบอ กอ นวา มเี ศษวสั ดุ รากไมห รือไม ถามตี องเก็บออก และหากระสอบปุย ปพู น้ื บอกอนปพู ลาสติกเพื่อกันไมใ หเ ศษวสั ดุเหลา น้ันแทงพลาสตกิ ชายของพลาสตกิ ท้ัง 4 ดาน เก็บพันไว ท่ขี อบบอ ตกแตงขอบบอใหส วยงาม ปลูกพืชผัก สวนครัวร ซึง่ มขี ้นั ตอนดงั น้ี

54 | ห น้ า 1.4 การปรับสภาพน้ํา เตรียมหัวเช้ือ EM 1 ลิตร มูลวัว 1 บุงกี๋ และดินเหนียว 1 บุงก๋ี ผสมกนั และใสไ วท ่ีกน บอ ใสน ้าํ ใหเ ตม็ บอ ทิง้ ไว 7-10 วนั ชวงนีส้ ามารถปลูกผักบุง ผกั กระเฉด พ้ืนท่ี 1 ใน 3 ของบอ สังเกตดูถาผักท่ีปลูกในนํ้าทอดยอด หมายถึง นํ้ามีระดับความพรอมท่ีจะปลอยลูกปลา 2. การปลอ ยลูกปลาและการใหอ าหาร 2.1 ปลาดกุ ขนาด 1 เซนตเิ มตร จะปลอย 200 - 300 ตัวตอ 1 บอ ราคาตัวละประมาณ 75 สตางค 2.2 อาหารและการใหอ าหาร สําหรับอาหารเปน อาหารสําหรับปลาดกุ เล็กใชเล้ียงตลอด 2 เดือนครึ่ง ถึง 3 เดือน แลวจึงเปล่ียนอาหารใหปลาดุกขนาดกลางและอาหารปลาดุกใหมโดยใหอาหาร วันละ 2 คร้งั เชา - เย็น ปรมิ าณอาหารใหอ าหารครัง้ ละ 1 กโิ ลกรัมตอ 1 บอ 3. การถายเทน้าํ ขณะเลย้ี งปลา การเลย้ี งปลาในบอพลาสติก ไมต องถายเทน้ําทิ้ง แตใหสังเกตน้ําในบอ ถานํ้าขุนมากให นาํ นาํ้ ในบอรดตน ไม พชื ผกั สวนครัวขอบบอ และบรเิ วณใกลเคียง และเติมน้ําใหไดระดับเดิมและหากน้ํามี กลิ่นเหม็น ใหเตมิ หวั เช้ือ EM 1 ลิตร เพ่อื ปรบั สภาพนาํ้ 4. การจบั ปลาและผลผลติ เม่ือเลี้ยงปลาไปได ประมาณ 4 เดือนเศษ ปลาดุกมีขนาด 6 ตัวตอ 1 กิโลกรัมในการจับ ปลา ถาทยอยจับเพื่อบรโิ ภคจะใชก ารตกปลา เพราะถา ใชว ิธกี ารตกั ปลาในบอ ปลาทเี่ หลือจะไมก ินอาหาร ใน 1 บอ จะไดปลาดุก 80 กโิ ลกรมั ราคาจําหนา ยกโิ ลกรัมละ 40 บาท (ราคาขนึ้ ลงตามราคาตลาด) 5. ตลาดและผลตอบแทน การเล้ยี งปลาในบอ พลาสติก เปน การเลีย้ งปลาแบบครบวงจรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยขอบบอจะปลูกพืชผักสวนครัว ใชนํ้าจากบอปลารดพืชผัก พืชผักท่ีเหลือจากการบริโภค สามารถ จําหนายได เชนเดียวกับปลาในบอท่ีใชบริโภคในครัวเรือน เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนสามารถ จาํ หนายในชมุ ชนได 6. ตนทนุ การผลติ (ราคาขนึ้ ลงตามราคาตลาด) การเล้ียงปลา 1 บอ มีการลงทุน ดังน้ี 1. คาพลาสตกิ 500 บาท 2. คาตาขา ยกน้ั ขอบบอ 100 บาท 3. คา อาหารปลา 2 กระสอบ ๆ ละ 400 บาท เปน เงิน 800 บาท 4. คาลูกปลาดกุ 200 บาท รวม 1,600 บาท

ห น้ า | 55 7. ตัวอยางการทําอาหารปลาดกุ สว นผสม 1. รําละเอียด 2 กระสอบปุย 2. กากมะพราว 1 กระสอบปุย 3. ปลาปน 6 กโิ ลกรมั 4. กากถว่ั เหลอื ง 6 กโิ ลกรมั 5. จลุ นิ ทรยี  EM 1 ลิตร 6. กากนาํ้ ตาล 1 กิโลกรมั 7. นาํ้ มันพชื 1 – 2 ลติ ร วิธีทาํ 1. นําสวนผสมขอ 1 จาํ นวน 1 กระสอบ ขอ 2,3,4 คลุกใหเ ขากนั 2. นาํ สว นผสม ขอ 5 ,6 ผสมน้ํา 20 ลิตร เพ่ือคลุกเคลาสวนผสม ขอ 1 หมักไว 12 ช่ัวโมง 3. นําสวนผสมท่ีหมักไวในขอ 1,2 ผสมกับรําละเอียด 1 กระสอบและน้ํามันพืช 1 – 2 ลิตรคลุกเคลา นําเขาเคร่อื งอัดเม็ดผง่ึ แดด 2 วนั เก็บไวใชไ ด 2 เดอื น เกร็ดความรู 1. การซอื้ พันธุปลากอนการเคลอื่ นยายใหปลาอดอาหาร 1 – 2 วัน เพื่อปองกันปลาดิ้นและ ทาํ ใหป ลาไสข าดเวลาเลย้ี งปลาจะไมโ ต 2. การเคลือ่ นยายปลาใหเตรียม นํ้ามนั พืช 30 ซีซี : เกลือ 1 ชอนโตะ คนใหเขากันตักใส ในถุงหรอื ท่ีมพี นั ธปุ ลา อยูป ระมาณ 1 ชอนชา เพือ่ ปองกนั ปลาบาดเจ็บ 3. การปองกันปลาหนีจากบอเวลาฝนตก ใชวิธีหากมีฝนตกใหหวานอาหารใหปลากิน สกั 2 – 3 ครง้ั เพ่อื หลอกวา เวลาฝนตกจะไดกนิ อาหารแลว ปลาจะไมหนี 4. การเปลี่ยนถายน้ําใหดูดนํ้าออก 1 สวน ใน 3 สวน และนําน้ําท่ีใสใหมใหทําเปนละออง ฝอยโดยใชส ายยางเพ่ือเพม่ิ ออกซเิ จนใหแ กป ลา 5. การจบั ปลาเพื่อบรโิ ภค โดยใชวิธใี ชส ายยางฉดี นาํ้ เหมือนกบั ฝนตกปลาจะเลนน้ําจากน้ัน ใชสวิงตกั ปลา ทเ่ี ลน น้ําทันที ปลาจะไมร สู ึกถึงอนั ตรายและจะกนิ อาหารตอ และไมห นี ขอดีของการเลีย้ งปลาดุกในบอพลาสติก 1. ใชพนื้ ท่เี ลี้ยงนอย สามารถเลีย้ งไดท กุ ที่ 2. การสรางบอเลยี้ งไดง าย 3. ระยะเวลาเลย้ี งสัน้ 4. เลี้ยงงา ย อดทนตอสภาพนาํ้ ไดด ี 5. บรโิ ภคเองในครวั เรอื น และมเี หลอื จาํ หนา ย

56 | ห น้ า การเลอื กสถานที่สรางบอ 1. อยูใกลบ า น 2. อยูที่รม หรือมหี ลังคา 3. สามารถเปล่ียนถา ยนํา้ ไดสะดวก

กรอบแนวคิดในการประกอบอาชพี เพ่ือสรางรายไดอ ยางม่นั ค งานทีชอบ งานทีรัก งานทีอยากทาํ งานทีทาํ แลว้ มีความสุข คิดเป็นดว้ ยขอ้ มลู ดา้ น ตดั สินใจประกอบอาชีพ พจิ ารณาทรัพยากร ดา้ น

ห น้ า | 57 คง มง่ั ค่งั และยัง่ ยืน ตามหลักของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มอี งคค์ วามรูด้ ี มีทุน แรงงาน สถานที ผลการประกอบการ เหมาะสม P นกั ศกึ ษา กศน.มี มกี ารปฏิบตั ิงานและการ อาชีพมีรายได้ จดั การเป็นขนั ตอน ใชว้ งจร มนั คง มงั คงั ยงั ยนื มีการขาย การตลาด A PDCA D หลากหลาย พฒั นาอาชีพ ต่อเนือง มีคุณธรรมในการประกอบ อาชีพ C ใชฐ้ านเศรษฐกิจพอเพียง

58 | ห น้ า กจิ กรรมการเรยี นรู ใหผ เู รยี นวางแผนแนวทางการประกอบอาชีพของตนเอง ทงั้ ผทู ีต่ อ งการเขา สอู าชพี ใหมและพฒั นา อาชพี โดยมขี ั้นตอนดงั นี้ ขั้นตอนที่ 1 ใหแ บง กลมุ ผเู รยี นออกเปน กลุม ละ 5 – 7 คน แตล ะกลมุ ใหเ ลอื ก หวั หนากลมุ 1 คน และเลขากลมุ 1 คน รวมระดมพลังสมองแลกเปล่ียนเรียนรตู ามหัวขอ ดังตอ ไปน้ี 1. การประกอบอาชีพตามแนวของหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. อาชีพทีเ่ ช่ือมน่ั วา สามารถทําไดใ นชมุ ชนของเรา 3. รว มกนั รางรายละเอยี ด สง่ิ ทต่ี องใช สง่ิ ท่ตี อ งทําในการประกอบอาชพี นัน้ ๆ (ทํา 1- 2 อาชพี ) ท้ังนี้ใหป ระธานเปนผดู าํ เนินการ เลขากลุมจดบนั ทกึ สรปุ สาระสาํ คัญเพอื่ นาํ เสนอ ขน้ั ตอนที่ 2 ใหทุกกลมุ รวมกนั คัดเลือกอาชีพจากกจิ กรรมท่ี 1 ตามที่กลมุ ตกลงรวมท้ังอาชีพที่ สามารถทําเปน รายบุคคล และเปนกลุม นํามาเขียนเปนโครงการประกอบอาชีพที่สามารถนําไปปฏิบัติได จริง ขน้ั ตอนท่ี 3 ใหผเู รียนแตล ะคน แตละกลมุ นาํ โครงการประกอบอาชีพทนี่ าํ เสนอ (ตรวจสอบความ สมบรู ณ) ไปประกอบอาชพี โดยมีการรวมระดมทุน จดั หาทนุ การแบง งานกันทาํ การลงมตริ ว มกนั ตัดสินใจ ระยะเวลาดําเนินการภายใน 1 ภาคเรยี นแลว สรุปผลการประกอบอาชพี เสนอครู กศน.

ห น้ า | 59 บรรณานุกรม คณะอนกุ รรมการขบั เคลอี่ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร. กรุงเทพฯ : สํานักงาน คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ, 2550. คณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจพอเพยี ง. การสรา งขบวนการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ พอเพยี ง. (พิมพ ครั้งที่ 2). กรงุ เทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ, 2548. สํานักบรหิ ารงานการศึกษานอกโรงเรียน.สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ. แนวทางการ จัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งชุมชน โดยกระบวนการ การศกึ ษานอกโรงเรียน. กรงุ เทพฯ : หา งหนุ สว นจาํ กดั โรงพิมพอ ักษรไทย (นสพ. ฟา เมอื งไทย).2550. ศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคกลาง.สํานักบรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน. สํานกั งาน ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร.กระทรวงศึกษาธกิ าร.หลักสตู รเศรษฐกจิ พอเพียง สาํ หรบั เกษตรกร. ศนู ยการศึกษานอกโรงเรียนภาคกลาง. 2549. (เอกสารอัดสําเนา) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ. คณะอนกุ รรมการขบั เคล่ือน เศรษฐกิจพอเพียง. นานาคําถามเกยี่ วกับปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง. 2548. สาํ นกั งานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ. เศรษฐกจิ พอเพียง.2547. จตุพร สขุ อนิ ทร และมงั กโรทัย. “สรา งชวี ติ ใหมอ ยา งพอเพยี งดว ยบญั ชีครวั เรือน” เดลนิ ิวส หนา 30 ฉบบั วนั จนั ทรท ่ี 20 เมษายน พ.ศ. 2522 จินตนา กิจม.ี “เกษตรพอเพยี ง แหงบานปาไผ” .มตชิ น หนา 10 ฉบับวันเสารท ่ี 28 มนี าคม พ.ศ. 2552. ผกาพันธ วัฒนปาณี. “การจัดกระบวนการเรียนรู การจดั สภาพแวดลอ มเพ่ือสงเสรมิ การดาํ เนินชีวิตตาม หลักเศรษฐกิจในครัวเรอื น”. เอกสารอัดสาํ เนา,๒๕๕๓ เอกรนิ ทร สีม่ หาศาล และคณะ คุณธรรมนาํ ความรสู ู...... เศรษฐกิจพอเพยี ง ป.6. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อักษรเจรญิ ทศั น อาท จาํ กัด. มปพ.

60 | ห น้ า หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รายช่อื ผูเขารวมประชมุ ปฏิบตั ิการพฒั นาหนงั สอื เรียนวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครง้ั ที่ 1 ระหวา งวันท่ี 10 – 13 กุมภาพนั ธ 2552 ณ บา นทะเลสีครีม รสี อรท จังหวัดสมทุ รสงคราม 1. นายศรายทุ ธ บรู ณเ จรญิ ผอ. กศน. อาํ เภอจอมพระ จงั หวดั สรุ ินทร 2. นายจาํ นง หนูนลิ สาํ นักงาน กศน. อําเภอเมือง จังหวดั นครศรธี รรมราช ครัง้ ท่ี 2 ระหวา งวนั ที่ 29 มิถนุ ายน 2552 – วันที่ 3 กรกฎาคม 2552 ณ โรงแรมแกรนด เดอวิลล กทม. นางพัฒนสุดา สอนซ่อื กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน รายช่ือผูเ ขา รว มประชุมบรรณาธกิ ารหนังสือเรียนวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง ครั้งท่ี 1 ระหวางวันที่ 7 – 10 กนั ยายน 2552 ณ โรงแรมอทู องอินน จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา นางพฒั นส ดุ า สอนซื่อ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน ครัง้ ที่ 2 ระหวา งวันท่ี 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอูท องอนิ น จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา 1. นางพัฒนสดุ า สอนซือ่ ขาราชการบาํ นาญ 2. นายอชุ ุ เช้อื บอคา สํานักงาน กศน. อําเภอหลงั สวน จงั หวดั ชุมพร 3. นางสาวพชั รา ศิริพงษาโรจน สํานักงาน กศน. จังหวัดกระบ่ี 4. นายวิทยา บูรณะหิรญั สํานักงาน กศน. จงั หวดั พังงา รายช่ือผเู ขา รว มประชุมปฏบิ ตั กิ ารปรับปรุงเอกสารประกอบการใชหลักสตู รและสอื่ ประกอบการเรียนหลกั สูตร การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระหวางวันท่ี 4 – 10 พฤศจิกายน 2554 ณ โรงแรมมริ ามา กรุงเทพฯ 1. นางผกาพันธ วัฒนปราณี ขาราชการบํานาญ 2. ส.อ.อวยพร ศิรวิ รรณ ผอ. กศน. อาํ เภอบางสะพานนอย จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ 3. นางฤดี ศิริภาพ ผอ. กศน. อาํ เภอบางบัวทอง จงั หวัดนนทบรุ ี 4. นางสาวสุรตั นา บรู ณะวิทย สถาบนั กศน.ภาคตะวันออก 5. นางสาวธนสรวง ชยั ชาญทพิ ยุทธ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 6. นางสาวเยาวรตั น คาํ ตรง กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

ห น้ า | 61 ที่ปรกึ ษา บุญเรือง คณะผูจัดทาํ 1. นายประเสรฐิ อิม่ สุวรรณ 2. ดร.ชัยยศ จาํ ป เลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รินทร แกว ไทรฮะ รองเลขาธิการ กศน. 4. ดร.ทองอยู ตณั ฑวฑุ โฒ รองเลขาธิการ กศน. 5. นางรกั ขณา ทปี่ รกึ ษาดา นการพฒั นาหลกั สตู ร กศน. ผูอาํ นวยการกลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ผเู ขียนและเรียบเรียง บูรณเ จรญิ 1. นายศรายทุ ธ หนูนลิ ผอ.กศน.อําเภอจอมพระ จงั หวัดสรุ นิ ทร 2. นายจํานง สอนซอ่ื กศน. อาํ เภอเมือง จังหวดั นครศรีธรรมราช 3. นางพฒั นสดุ า กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน ผบู รรณาธิการ และพฒั นาปรับปรุง ขา ราชการบํานาญ 1. นางพัฒนส ุดา สอนซ่อื สํานักงาน กศน. อาํ เภอหลังสวน จงั หวดั ชมุ พร 2. นายอชุ ุ เชอ้ื บอคา สํานักงาน กศน. จังหวัดกระบ่ี 3. นางสาวพชั รา ศริ ิพงษาโรจน สาํ นักงาน กศน. จังหวดั พงั งา 4. นายวิทยา บูรณะหริ ัญ ผูพ มิ พต น ฉบับ คะเนสม กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน เหลืองจติ วฒั นา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 1. นางสาวปย วดี กวีวงษพพิ ฒั น กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางสาวเพชรินทร ธรรมธิษา กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ บา นชี กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. นางสาวชาลีนี 5. นางสาวอลิศรา

62 | ห น้ า คณะทํางาน 1. นายสรุ พงษ มั่นมะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดิษฐ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางสาวเพชรินทร เหลืองจติ วฒั นา ผูออกแบบปก นายศภุ โชค ศรีรตั นศิลป

ห น้ า | 63 คณะผูพฒั นาและปรบั ปรุง ครั้งที่ 2 ทปี่ รกึ ษา บญุ เรือง เลขาธิการ กศน. 1. นายประเสรฐิ อิม่ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชัยยศ จําป รองเลขาธกิ าร กศน. 3. นายวชั รินทร จนั ทรโ อกลุ ผเู ชี่ยวชาญเฉพาะดานการพฒั นาสือ่ การเรยี นการสอน 4. นางวทั นี ผาตินินนาท ผเู ช่ียวชาญเฉพาะดานเผยแพรทางการศกึ ษา 5. นางชลุ พี ร ธรรมวธิ ีกลุ หัวหนาหนว ยศกึ ษานิเทศก 6. นางอญั ชลี งามเขตต ผอู ํานวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 7. นางศทุ ธนิ ี ผูพฒั นาและปรับปรุง คร้ังท่ี 2 1. นางผกาพันธ วฒั นปาณี ขา ราชการบํานาญ ผอ. กศน. อําเภอบางสะพานนอย จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ 2. ส.อ.อวยพร ศิรวิ รรณ ผอ. กศน. อําเภอบางบัวทอง จงั หวดั นนทบรุ ี สถาบนั กศน.ภาคตะวันออก 3. นางฤดี ศิรภิ าพ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวสุรัตนา บูรณะวทิ ย 5. นางสาวธนสรวง ชัยชาญทิพยทุ ธ 6. นางสาวเยาวรตั น คาํ ตรง

64 | ห น้ า คณะผปู รบั ปรุงขอมลู เก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตรยิ ป  พ.ศ. 2560 ทปี่ รึกษา จําจด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 1. นายสรุ พงษ ปฏบิ ตั ิหนาทร่ี องเลขาธิการ กศน. 2. นายประเสริฐ ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 3. นางตรีนชุ สุขสุเดช กศน.บางกอกใหญ ผปู รบั ปรงุ ขอมลู ตนั ตถิ าวร นางสาวจริ าภรณ คณะทํางาน 1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อําไพศรี กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 4. นางเยาวรตั น ปน มณวี งศ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวาง 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน 8. นางสาวชมพนู ท สงั ขพิชยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook