Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 115 DBD Accounting Oct'21

Description: DBD Accounting October 2021 Issue No.115

ข่าวประชาสัมพันธ์
1. รางวัล "สำนักงานบัญชีดิจิทัลดีเด่น"
2. โครงการบ่มเพาะต้นกล้าสำนักงานบัญชีคุณภาพ
(อบรมออนไลน์)
3. บริการหนังสือรับรองและสำเนาเอกสารทางทะเบียนนิติบุคคลด้วยลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ (digital signature) และวิธีการตรวจสอบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์
4. มาตรการบรรเทาผลกระทบจากสถานการณ์โรคโควิด-19
สำหรับสมาชิก ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี และผู้ฝึกหัดงาน

รอบรู้มุมต่างประเทศ
5 ปัจจัยเปลี่ยนอนาคตการบัญชี

Search

Read the Text Version

DBD Accounting e-Magazine ฉบับที่ 115 ประจำเดือนตุลาคม 2564 ข่ า ว ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ห น้ า กรมพัฒนาธุรกิจการค้า 2 รางวัล \"สำนักงานบัญชีดิจิทัลดีเด่น\" โครงการบ่มเพาะต้นกล้าสำนักงานบัญชีคุณภาพ 4 (อบรมออนไลน์) บริการหนังสือรับรองและสำเนาเอกสารทางทะเบียน 5 นิติบุคคลด้วยลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ (digital signature) และวิธีการตรวจสอบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ สภาวิชาชีพบัญชี 7 มาตรการบรรเทาผลกระทบจากสถานการณ์โรคโควิด-19 สำหรับสมาชิก ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี และผู้ฝึกหัดงาน บทความ ห น้ า รอบรู้มุมต่างประเทศ 8 5 ปัจจัยเปลี่ยนอนาคตการบัญชี www.dbd.go.th 1570 DBD Public Relations

ข่าวประชาสัมพันธ์ DBD ACCOUNTING หน้า 2 รางวัลสำนักงานบัญชีดิจิทัลดีเด่น Best Digital Accounting Firm Award ปัจจุบันเศรษฐกิจโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันมีสำนักงานบัญชีที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จำนวน จากการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล จนเกิดปรากฎ 166 รายจากทั่วประเทศ และกรมฯ ยังส่งเสริมและพัฒนา การณ์ \"Digital Transformation\" ประกอบกับวิกฤติโรค สำนักงานบัญชีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ระบาดโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อคนทั่วโลก ไม่ เว้นแม้แต่ในประเทศไทย DBD ในฐานะหน่วยงานกำกับดูแล ในปี 2564 นี้ DBD ได้นำแนวคิด \"Transform to Digital การจัดทำบัญชีของธุรกิจ ได้พัฒนาต่อยอดสำนักงานบัญชี Accounting Firm\" เพื่อพัฒนาสำนักงานบัญชีคุณภาพให้ คุณภาพให้เปลี่ยนเป็นสำนักงานบัญชีดิจิทัล โดยในปีพ.ศ. เป็นสำนักงานบัญชีดิจิทัล ส่งเสริมให้ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี 2563 ได้เริ่มจัดประกวด Best Digital Accounting Firm ได้เตรียมความพร้อม ทั้งในเรื่ององค์ความรู้และเครื่องมือ Award ครั้งที่ 1 เพื่อเฟ้นหาสำนักงานบัญชีคุณภาพที่มี ทางด้านเทคโนโลยีให้พร้อมรับกับระบบเศรษฐกิจดิจิทัล ที่มี ศักยภาพเป็นต้นแบบในการพัฒนาสู่สำนักงานบัญชีดิจิทัล การบริหารงานภายในและให้บริการแก่ลูกค้าด้วยเทคโนโลยี ซึ่งมีสำนักงานบัญชีคุณภาพที่เข้าประกวดรวมทั้งสิ้น 28 สารสนเทศ (Information Technology) แบบครบวงจร ราย โดยมีสำนักงานบัญชีที่ได้รับประกาศเกียรติคุณ 10 ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการของธุรกิจสำนักงาน ราย และมีสำนักงานบัญชีที่ได้รับรางวัลสำนักงานบัญชี บัญชีจากแบบดั้งเดิม Traditional services ไปสู่การเป็น ดิจิทัลดีเด่น 12 ราย Digital Accounting Firm ซึ่งจะเป็นธุรกิจบริการที่มีมูลค่า สูง (High Value Services) ประเทศไทยมีธุรกิจที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลจำนวน 810,509 ราย (30 ก.ย.64) โดยในจำนวนนี้เป็นธุรกิจขนาด จากการต่อยอดแนวคิดดังกล่าวข้างต้น DBD จึงได้จัดให้มี กลางและขนาดเล็กหรือที่เรียกว่า SME ประมาณ 90 % ซึ่ง การประกวดสำนักงานบัญชีดิจิทัลดีเด่นอย่างต่อเนื่อง โดย การส่งเสริมให้ธุรกิจ SME มีการจัดทำบัญชีให้ถูกต้อง จัดสรรรางวัลออกเป็น 3 ระดับ คือ PLATINUM AWARD , สามารถใช้ข้อมูลทางบัญชีให้เกิดประโยชน์สูงสุด สำนักงาน GOLD AWARD และ SILVER AWARD เพื่อเป็นการ บัญชีเป็นองค์กรแรกที่ DBD ส่งเสริม ด้วยมีธุรกิจ SME ที่ กระตุ้นให้สำนักงานบัญชีคุณภาพปรับตัวเข้าสู่การ ใช้บริการของสำนักงานบัญชีไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 % เปลี่ยนแปลงยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งในการประกวดได้รับ ความร่วมมือจากกรรมการซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ เมื่อ 12 ปี ที่แล้ว DBD ได้รับโอกาสไปศึกษาดูงาน ณ เชี่ยวชาญจากหลายหน่วยงาน โดยในปี 2564 นี้มีสำนักงาน ประเทศญี่ปุ่น DBD จึงได้นำแนวคิดจากการ บัญชีคุณภาพที่ผ่านหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาการ ดูงานในครั้งนั้นมาจัดทำ “โครงการรับรองคุณภาพ ประกวดได้รับประกาศเกียรติคุณ จำนวน 7 ราย และมี สำนักงานบัญชี” เพื่อยกระดับสำนักงานบัญชีไทยสู่เกณฑ์ สำนักงานบัญชีคุณภาพที่ได้รับรางวัลสำนักงานบัญชีดิจิทัล มาตรฐานคุณภาพ โดยประยุกต์จากมาตรฐานระบบบริหาร ดีเด่น (Best Digital Accounting Firm Award) จำนวน งานคุณภาพ (ISO 9001) และการควบคุมคุณภาพ 12 ราย ประกอบด้วย PLATINUM AWARD จำนวน 4 ราย มาตรฐานสากล 1 (International Standard on Quality และ SILVER AWARD จำนวน 8 ราย Control (ISQC) 1)

ข่าวประชาสัมพันธ์ DBD ACCOUNTING หน้า 3 รางวัลสำนักงานบัญชีดิจิทัลดีเด่น ประจำปี 2564 PLATINUM AWARD กรุงเทพมหานคร ระยอง บริษัท สำนักงาน เอ็ม เอ็ม เอ็น ซินดิเคท จำกัด ประจวบคีรีขันธ์ บริษัท ทีพีเค ตรวจสอบบัญชีและกฎหมาย จำกัด กรุงเทพมหานคร บริษัท หัวหินการบัญชีและกฎหมาย จำกัด บริษัท ดี ดับเบิลยู คอนซัลแทนท์ แอนด์ เมเนจเม้นท์ จำกัด นนทบุรี เชียงใหม่ SILVER AWARD กรุงเทพมหานคร อุบลราชธานี บริษัท เจ พี การบัญชีและที่ปรึกษา จำกัด นนทบุรี บริษัท โพรเฟสชั่นแนล แอคเคาน์ติ้ง เซอร์วิส จำกัด กรุงเทพมหานคร บริษัท สำนักงานทองทวีการบัญชีและกฎหมาย จำกัด กรุงเทพมหานคร บริษัท แก้วจิรภัทร การบัญชี จำกัด ชลบุรี บริษัท ทรัพย์แสนดีการบัญชี จำกัด บริษัท บีอีเอซี แอคเคาน์ แอนด์ ออดิท จำกัด บริษัท ซี.แอล.การบัญชีและกฎหมาย จำกัด บริษัท แคทแอคเคาน์ติ้งแอนด์แท็กซ์ จำกัด รางวัลสำนักงานบัญชีดิจิทัลดีเด่น ประจำปี 2563 PLATINUM AWARD กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร บริษัท ซี แอนด์ ฮิล จำกัด กรุงเทพมหานคร บริษัท สำนักงานณรงค์การบัญชี (2518) จำกัด บริษัท พี.เอ็ม.การบัญชี และที่ปรึกษา จำกัด เชียงใหม่ GOLD AWARD กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร บริษัท ฟินิกซ์ แอคเค้าน์ติ้ง โซลูชั่น จำกัด กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ SILVER AWARD กรุงเทพมหานคร นนทบุรี บริษัท ดี ดับเบิลยู คอนซัลแทนท์แอนด์ เมเนจเม้นท์ จำกัด กรุงเทพมหานคร บริษัท สำนักงาน เอ็ม เอ็ม เอ็น ซินดิเคท จำกัด นนทบุรี บริษัท สำนักงานบัญชีคราฟท์ จำกัด บริษัท เจ แอนด์ เจ คอนซัลแท้นส์ กรุ๊ป จำกัด บริษัท ซีดับบลิว โปรเฟสชั่นแนล จำกัด บริษัท ทรัพย์แสนดีการบัญชี จำกัด บริษัท เน็ทเวิร์ค แอ็ดไวเซอรี ทีม จำกัด บริษัท รังแตน ออฟฟิต จำกัด

ข่าวประชาสัมพันธ์ DBD ACCOUNTING หน้า 4 โครงการบ่มเพาะต้นกล้าสำนักงานบัญชีคุณภาพ (อบรมออนไลน์) วันที่ 23 - 24 ธ.ค. 64 จังหวัดราชบุรี

ข่าวประชาสัมพันธ์ DBD ACCOUNTING หน้า 5 บริการหนังสือรับรองและสำเนาเอกสารทางทะเบยี นนิติบุคคลด้วยลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ Digital Signature เพื่อยกระดับการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนในการให้บริการของภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลตาม แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย กรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้ให้บริการออกหนังสือรับรองและรับรอง สำเนาเอกสารนิติบุคคล (DBD e-Service) โดยการลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Signature) ของนายทะเบียนมาตั้งแต่ปี 2561 โดยในปี 2564 นี้ กรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้ขยายการใช้ลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์บนหนังสือรับรองในส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ ลดการเดิน ทาง ลดต้นทุนทางธุรกิจ และเกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจต่อทุกภาคส่วน โดยเอกสารที่ให้บริการดังกล่าวถือเป็นรูปแบบการลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มีความปลอดภัยสามารถ ตรวจสอบได้ และมีผลทางกฎหมายตามมาตรา 9 และมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 เช่นเดียวกับลายมือชื่อบนกระดาษที่ใช้ กันโดยทั่วไป ทั้งนี้ ผู้ประกอบการสามารถตรวจสอบหนังสือรับรองนิติบุคคลรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ได้จาก QR Code และ Ref.No. ที่ปรากฏตรงส่วนล่างของหนังสือฯ โดยต้องมีข้อมูลปรากฏตรงกัน และในส่วนของรูป แบบกระดาษ สามารถตรวจสอบได้จาก 1) QR Code 2) Ref.No. 3) Micro Text ข้อความขนาดเล็ก ซึ่งหาก ถ่ายสำเนาจะไม่สามารถอ่านได้ และ 4) ลายน้ำตราสัญลักษณ์ DBD ต้องคมชัด ซึ่งหากนำเอกสารตัวจริงไปถ่าย สำเนาจะมีสีเข้มขึ้น ไม่คมชัด

ข่าวประชาสัมพันธ์ DBD ACCOUNTING หน้า 6 วิธีการตรวจสอบหนังสือรับรองรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ DBD e-Certificate file

ข่าวประชาสัมพันธ์ DBD ACCOUNTING หน้า 7 มาตรการบรรเทาผลกระทบจากสถานการณ์โรคโควิด-19 สำหรับสมาชิก ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ผู้ฝึกหัดงาน และนิติบุคคล

รอบรู้มุมต่างประเทศ DBD ACCOUNTING หน้า 8 5 ปัจจัยเปลี่ยนอนาคตการบัญชี 5 forces remaking accounting วิชาชีพบัญชีเป็นอาชีพที่ผู้คนต่างให้ความนับถือ ที่ผ่านมา เป้าหมายสูงสุดขององค์กรโดยทั่วไปคือ มานาน คอยรับหน้าที่บันทึกบัญชีให้ถูกต้องและ สร้างผลตอบแทนให้นักลงทุน ทั้งผู้ถือหุ้นและเจ้า ดูแลด้านการเงินของกิจการต่างๆ แต่เมื่อบริบท หนี้ แต่ว่าเมื่อ ESG เข้ามามีบทบาทมากขึ้น ภาค ทางสังคมเปลี่ยนไป เทคโนโลยีเริ่มเข้ามามีบทบาท ธุรกิจจะต้องร่วมพิจารณาถึงผลกระทบต่อสังคม มากขึ้นจนส่งผลกระทบต่อวิชาชีพบัญชีเป็นวง ในวงกว้าง ซึ่งการเข้าใจและรับรู้มูลค่าของปัจจัยที่ กว้าง นักบัญชีจะต้องปรับการทำงานเพื่อเป็นผู้ ส่งผลต่อการเกิดภาวะโลกร้อนคือตัวแปรสำคัญที่ ช่วยสำคัญขององค์กรในการติดตามและรายงาน จะสะท้อนการเปลี่ยนแปลงต่างๆ และจะกลายเป็น ตัวเลขทางการเงินต่อไป หนึ่งในมาตรวัดความสำเร็จขององค์กรต่อไป ในปัจจุบัน นวัตกรรมใหม่ๆ ทั้ง AI สินทรัพย์ดิจิทัล ผู้เขียนจึงสรุป 5 ปัจจัยสำคัญที่ทำให้นักบัญชีต้อง และ regtech (regulatory technology) กำลัง ปรับตัวก้าวผ่านไปให้ได้ และรวมรวมความเห็นจาก เข้ามาเปลี่ยนอนาคตของการทำบัญชี และยังมีแนว อาจารย์ของมหาวิทยาลัย MIT ดังนี้ โน้มว่าผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีจะต้องสามารถวัด มูลค่าสินทรัพย์ไม่มีตัวตนมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งตราสิน 1.ESG and climate impact ค้าของบริษัท เทคโนโลยี ทรัพยากรมนุษย์ และ 2.Artificial intelligence (AI) and วัฒนธรรมองค์กร อีกทั้งภาวะโลกร้อนที่ทวีความ รุนแรงมากขึ้น หลายๆองค์กรต้องการรู้มูลค่าของ machine learning ปัจจัยหรือสิ่งที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สังคม 3.Blockchain and cryptocurrencies และการกำกับดูแล หรือ Environmental, Social 4.Regtech (regulatory technology) and Governance (ESG) 5. Intangibles

รอบรู้มุมต่างประเทศ DBD ACCOUNTING หน้า 9 (1) ESG* and climate impact Nemit Shroff ผลกระทบของ ESG และสภาพอากาศ Assistant professor of accounting at MIT Sloan ในปัจจุบัน นักลงทุนเริ่มหันมาให้ความสำคัญต่อ รายงานของบริษัทในด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และ คนจะนึกถึงปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออก การกำกับดูแล หรือ ESG มากขึ้นอย่างที่ไม่เคย ไซต์เมื่อพูดถึงปั ญหาโลกร้อน อาจเป็นเพราะเรา ปราฎมาก่อน กลายเป็นแรงกดดันให้บริษัทต่างๆ สามารถวัดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้เป็นตัวเลข ต้องการแสดงผลกระทบด้านบวก ผลการศึกษา ที่ชัดเจน หลายบริษัทจึงเลือกใช้ปริมาณการปล่อย จาก Moody พบว่า ความต้องการแสดงรายงาน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และแนวทางแก้ไขในการ ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการกำกับดูแล หรือ ประเมินผลกระทบด้าน ESG เช่น การปลูกต้นไม้ ESG เพิ่มถึง 14 เปอร์เซ็นต์จากช่วงไตรมาสก่อน เพื่อช่วยซึบซับปริมาณคาร์บอนในอากาศ หรือแตะที่ระดับ 80.5 พันล้านดอลล่าร์เหรียญ สหรัฐในไตรมาสที่ 3 และจากการที่ Larry FInk ในปีพ.ศ. 2554 การก่อตั้ง Sustainability (CEO ของบริษัทการจัดการการลงทุน Accounting Standards Board (SASB) มี BlackRock) ออกมากล่าวว่าหลายๆบริษัทควรช่วย วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการออกมาตรฐานกลาง กันลดการปล่อยแก็สเรือนกระจกให้หายไปภายใน ในการประเมินความเสี่ยงให้เป็นตัวเลข เพื่อเป็น ปีค.ศ. 2050 ให้ได้ ทำให้นักลงทุนเริ่มหันมาให้ความ แนวทางสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี อีกทั้งยังมี สนใจต่อประเด็น ESG มาตรฐานทางเลือกที่ออกโดย Task Force on Climate-Related Financial Disclosures ภาคธุรกิจเริ่มตระหนักว่าวัตถุประสงค์สูงสุดของ (TCFD) กำหนดกรอบรายงานสำหรับบริษัทมหาชน องค์กรไม่ใช่แค่สร้างกำไรสูงสุดเพื่อตอบแทน เพื่อเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงและโอกาสที่ ผู้ถือหุ้นอีกต่อไปแล้ว แต่เนื่องจากยังไม่มีมาตรฐาน เกี่ยวข้องสภาพอากาศ กลางมากำหนดว่าจะต้องวัดมูลค่าหรือรายงานผล ประกอบการด้าน ESG บนงบการเงินอย่างไร ทำให้ ในปีพ.ศ.2564 มูลนิธิมาตรฐานการรายงาน การรายงานด้าน ESG ยังคงเป็นสิ่งที่คลุมเครือของ ทางการเงินระหว่างประเทศ หรือ IFRS วิชาชีพบัญชี Foundation ได้ประกาศจัดตั้ง International Sustainability Standards Board (ISSB) ซึ่ง Chloe Xie ถือเป็นก้าวสำคัญในการยกระดับมาตรฐานสากล เพื่อการออกรายงานเกี่ยวกับความยั่งยืน โดย Assistant professor of accounting หน่วยงานตั้งใหม่นี้จะมีหน้าที่กำหนดมาตรฐาน at MIT Sloan กลางสากลสำหรับการรายงานที่ไม่ใช่ทางการเงิน ในเรื่องของภูมิอากาศและความยั่งยืน *ESG = Environment, Social and Governance

รอบรู้มุมต่างประเทศ DBD ACCOUNTING หน้า 10 (2) AI and Machine learning (3) Blockchain and cryptocurrencies ปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน และสกุลเงินดิจิทัล AI เข้ามามีบทบาทในวิชาชีพบัญชีมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะสามารถช่วยให้การวิเคราะห์ข้อมูลรวดเร็วและ ในปัจจุบัน cryptocurrencies หรือ สินทรัพย์ แม่นยำมากขึ้น ผลการสำรวจของ EY พบว่า 53 ดิจิทัลเริ่มเป็นที่แพร่หลายในวงการการเงินและ เปอร์เซ็นต์ของผู้บริหารที่ตอบแบบสอบถามเชื่อว่า ธนาคารถึงขั้นที่อาจจะสามารถจำแนกแยกเป็น ภายใน 3 ปีข้างหน้า งานมากกว่าครึ่งในฝ่ายการ สินทรัพย์อีกประเภทหนึ่ง โดยกองทุนรวม ETF เงินที่ปัจจุบันใช้คน จะถูกแทนที่โดย AI ทั้งหมด บิตคอยน์ (Exchange Traded Fund หรือ กองทุนรวมดัชนีที่จดทะเบียนซื้อขายใน AI จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อวิธีการตรวจจับการ ตลาดหลักทรัพย์) ที่พึ่งออกเร็วๆนี้ได้กลายเป็นก ฉ้อโกง หรือพฤติกรรมต่างๆที่หล่อแหลม โดย องทุนที่มีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 2 เฉพาะในการออกงบการเงิน และการตรวจสอบ ภายในเพื่อที่จะรับรองว่าไม่มีการฉ้อโกงเกิดขึ้น หลักการบัญชีที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไป หรือ เมื่อเทคโนโลยีพัฒนาต่อไปเรื่อยๆ AI จะเปลี่ยนวิธี Generally Accepted Accounting Principles การทำบัญชีและบทบาทของนักบัญชีอย่างสิ้นเชิง (GAAP) จัดประเภทให้สินทรัพย์ดิจิทัลเป็น โดยการทำบัญชีจะช่วยให้บริษัทลดความเสี่ยงหรือ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน และออกหลักเกณฑ์วัดมูลค่า ข้อบกพร่องในการรายงานทางการเงิน ไม่ว่าจะ ดังนี้ หากราคาตลาดของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนต่ำ โดยเจตนาหรือไม่ได้เจตนาได้ดียิ่งขึ้น กว่าราคาที่ซื้อมา จะถือว่าสินทรัพย์ด้อยค่าและ กิจการจะต้องลดมูลค่าตามบัญชี แต่หากราคา Nemit Shroff ตลาดของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนสูงกว่าราคาที่ซื้อมา จะไม่อนุญาตให้บันทึกส่วนเกินทุนนี้ Assistant professor of accounting at MIT Sloan วิธีจัดการกับสินทรัพย์ดิจิทัลที่ง่ายที่สุด และเป็นวิธี ที่หน่วยงานกำกับรับรู้ คือให้การลงทุนในสินทรัพย์ ดิจิทัลเป็นเหมือนการลงทุนในหลักทรัพย์ (securities) เนื่องจากสินทรัพย์ดิจิทัลมีราคาตลาด ที่สังเกตได้ และในมุมมองของบริษัทมหาชนที่มีการ ลงทุนในเหรียญดิจิทัล การซื้อเหรียญดิจิทัลก็ เหมือนกับการซื้อหุ้นของบริษัทอื่นในตลาด แต่หากพิจารณา GAAP ที่มีมาตรฐานการบัญชีแยก ไว้แล้วสำหรับสินทรัพย์ดิจิทัล ผมคิดว่านี่เป็นวิธีที่ สะท้อนมูลค่าของสินทรัพย์ดิจิทัลได้อย่างที่ควรจะ เป็น และเรายังคงต้องหาวิธีที่ดีที่สุดในการบันทึก บัญชีสินทรัพย์ดิจิทัลไปพร้อมๆกับที่ตลาดสกุลเงิน ดิจิทัลเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น อีกทั้งกิจการอาจเริ่ม ถือเหรียญดิจิทัล เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยง

รอบรู้มุมต่างประเทศ DBD ACCOUNTING หน้า 11 (4) Regtech Regtech คือการใช้เทคโนโลยีหรือ ซอฟต์แวร์มาเพิ่มประสิทธิภาพงานด้าน Regulatory technology การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์หรือรายงาน เพื่อดูแลความปลอดภัยของผู้บริโภค เมื่อ 20 ปีก่อน หลายบริษัทเพิ่มค่าใช้จ่ายด้านการ ควบคู่ไปกับการรักษาความมั่นคงของ ตรวจสอบ และจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินมากขึ้น ระบบการเงิน เพื่อรับมือกับกฎระเบียบและข้อบังคับที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ Sarbanes-Oxley แต่ในปัจจุบัน มีการ (อ้างอิงข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย) ใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยติดตามและตรวจสอบการ ปฏิบัติตามข้อบังคับของหน่วยงานต่างๆแบบ real time เนื่องจากการกำกับที่มีมากขึ้น และค่าปรับที่ สูงขึ้น โดย Regtech ยังสามารถใช้ในการตรวจ จับเหตุการณ์ไม่ปกติในตลาดการเงิน ทั้งความ เคลื่อนไหวของราคา การตรวจจับการโกงบน บล็อกเชน การทำรายงานด้านภาษี และอื่นๆอีก มากมาย Andrew Sutherland Assistant professor of accounting at MIT Sloan ธนาคารถูกเพ่งเล็งมากขึ้น เนื่องจากมูลค่าเงินทุนที่ถืออยู่ และปั ญหาการคุ้มครองผู้บริโภคที่หลากหลาย ในปี 2019 สถาบันการเงินของภาครัฐใช้จ่ายเงินมากถึง 10 พันล้านดอลล่าร์สหรัฐเพื่อลงทุนใน regtech เทียบกับ จำนวนเงินเพียง 2.2 พันล้านเพื่อใช้จ่ายด้านการสอบบัญชี และมีการคาดการณ์ต่อไปในอนาคตว่าค่าใช้จ่ายใน regtech อาจเพิ่มสูงขึ้นในอัตรา 40% ต่อปี ในส่วนของบริษัทหลักทรัพย์ ที่เป็นนายหน้ารับซื้อ-ขายหลักทรัพย์ต่างๆ หน่วยงานกำกับต้องการทราบว่าบริษัทของ คุณมีเงินทุนเพียงพอ และแยกแยะลูกค้าออกจากสินทรัพย์ได้อย่างถูกต้อง Regtech จะช่วยเป็นช่องทางให้ภาคธุรกิจได้แสดงให้เห็นว่า บริษัทมีการดำเนินการตามกฎเกณฑ์ตลอดเวลา ไม่ เพียงแค่เฉพาะช่วงสิ้นงวดหรือระหว่างทำงบการเงิน และ regtech ก็จะต้องอาศัยการเก็บบันทึกธุรกรรมต่างๆ การจัดเก็บข้อมูล และการรายงานที่ดีของภาคธุรกิจ

รอบรู้มุมต่างประเทศ DBD ACCOUNTING หน้า 12 (5) Intangibles ผมคิดว่า เมื่อสินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เกิดจากภายใน กิจการเพิ่มมากขึ้น ทำให้เราไม่สามารถหามูลค่า สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ของสิ่งนั้นได้ โดยเฉพาะในบริษัท tech ขนาดใหญ่ ที่สินทรัพย์ประเภทนี้อาจมีมูลค่าสูงที่สุดขององค์กร เราจะตีมูลค่าระบบต่างๆ (ecosystem) ของ คนที่รู้มูลค่าที่แท้จริงมีเพียงนักบัญชี ดังนั้นการทำ บริษัท Apple หรือ นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (data บัญชีจะต้องปรับเปลี่ยนให้ทันต่อเทคโนโลยีที่ scientists) ที่ทำงานให้กับบริษัท Tesla ได้ เปลี่ยนไป และเราอาจจะต้องเปลี่ยนมุมมองต่อการ อย่างไร นี่เป็นคำถามที่ตอบยาก เพราะ การตี บันทึกสินทรัพย์ดิจิทัลลงในบัญชี เช่นเดียวกับการ มูลค่าสินทรัพย์ไม่มีตัวตนเป็นสิ่งที่ยากมากอยู่แล้ว จัดการปั ญหาทางสังคมและสภาพอากาศที่ยังมี โดยปกติ อีกทั้งในทางบัญชีมักให้ความสำคัญกับ ความไม่แน่นอนในเรื่องของการวัดมูลค่า ราคาทุนเดิม (historical cost) หรือ มูลค่าทาง บัญชี (book value) แทนที่จะใช้ราคา ณ ปัจจุบัน Nemit Shroff หรือราคาตลาด แต่เมื่อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เช่น เทคโนโลยี ตราสินค้า วัฒนธรรมองค์กร เริ่มมี Assistant professor of accounting มูลค่าเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ นักบัญชีควรจะมีทางแก้ไข at MIT Sloan ปัญหาในการตีมูลค่า เพราะปัจจุบันนี้สินทรัพย์ไม่มี ตัวตนมีมูลค่ามากจนส่งผลกระทบต่อผลประกอบ การในระยะยาวได้ บทความต้นฉบับ 5 forces remaking accounting สแกนที่นี่เพื่ออ่านบทความต้นฉบับ เขียนโดย Betsy Vereckey แปลและเรียบเรียงโดย นางสาวบุญสิตา ภววงษ์ศักดิ์ https://mitsloan.mit.edu/ideas-made-to-matter ฝ่ายวิชาการ กองกำกับบัญชีธุรกิจ

ที่ปรึกษา นายทศพล ทังสุบุตร อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า นางโสรดา เลิศอาภาจิตร์ รองอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า นางสาวจุฑามณี ยอดแสง ผู้อำนวยการกองกำกับบัญชีธุรกิจ _________ คณะผู้จัดทำ นางสาวธัญพร อธิกุลวริน นางสาวภาสิน จันทรโมลี นางสาวบุญสิตา ภววงษ์ศักดิ์ หากมีข้อแนะนำ/ติชมสามารถแจ้งได้ที่ Line OpenChat : DBD Accounting กองกำกับบัญชีธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า อีเมล [email protected] เบอร์โทรศัพท์ 02-547-4407 Line OpenChat : DBD Accounting แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้าค่ะ...


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook