13 ข้อความคานึ งในการทา ธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิ กส์ หลังจากทาธุรกรรมเสร็จแล้ว จะมีการแจ้งเตือน รายละเอยี ดการทาธุรกรรมผา่ นโทรศั พทม์ ือถืออีเมลหรือ แอพพลิเคชั่น จะเห็นว่าการตรวจสอบและยืนยันตัวตน หลายชั้นจะช่วยทาให้ เกิดความมั่นใจในการทาธุ รกรรม อเิ ลก็ ทรอนิ กส์ได้ หากผใู้ ห้บรกิ ารมีการยืนยันเพียงระดบั เดียว อาจทาให้ไม่ปลอดภัย เช่นถ้ามีการขโมยข้อมูลบัตร เครดิต มิจฉาชีพก็สามารถทาธุรกรรมได้เพราะไม่มีการ ยนื ยนั ตวั ตนผา่ นโทรศัพทม์ ือถืออกี ครงั้
14 ข้อความคานึ งในการทา ธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิ กส์ บริการตัวกลางการชาระเงิน เช่น ผู้ให้บริการ โทรศั พท์มือถือมีบริการรับชาระเงินโดยการเติมเงินเข้า ระบบและผกู บัญชีเข้ากบั หมายเลขโทรศั พท์มือถือผทู้ ีเ่ ป็น เจ้าของเบอร์โทรศั พท์ สามารถโอนจ่ายและชาระค่า สินค้าและบรกิ ารไดเ้ สมอื นกบั มีบญั ชธี นาคาร
15 เกรด็ ความรู้ ข้อควรระวงั ในการซอ้ื แอพพลิเคชัน่ ไอเทมหรือการ บริการ เมื่อมีการชาระผ่านบัตรเครดิตหรือบัญชีธนาคาร ระบบปฎิบัติการจะบันทึกรายละเอียดไว้ ผู้ใช้งานควร ตรวจสอบการตัง้ ค่าความปลอดภัยไว้เสมอปิดหรือลบข้อมูล บัตรเครดิตหรือบัญชีธนาคารทกุ ครั้งที่ใช้เสร็จแล้ว ซ่งึ การ ลบข้อมูลเหล่าน้ี อาจจะทาให้ไม่ได้รับความสะดวกเม่ือจะ ชาระเงินครั้งต่อไปแต่ก็สามารถป้องกันมิจฉาชีพในการ โจรกรรมผา่ นระบบหรอื การเผลอใชบ้ รกิ ารแบบไม่รูต้ วั
16 เกรด็ ความรู้ • การสมัครบริการต่างๆท่ีมีการชาระค่าบริการรายเดือน ถึงแม้ว่าจะต้องใช้การใช้เพียงเดือนเดียวแต่ผู้ให้บริการ ส่ วนใหญ่มักจะมีการหั กเงินค่าบริการทุกเดือนแบบ อัตโนมัติ เชน่ เสียงเพลงรอสาย การฟังเพลงหรอื ดูหนั ง ออนไลน์ • ระวังการคลิกล้ิงก์ที่โฆษณาผ่าน sms อาจจะเป็นการ สมัครใชบ้ รกิ ารโดยอตั โนมัตทิ นั ที
17 การรูเ้ ทา่ ทนั ส่ือ การรูเ้ ทา่ ทนั สื่อ หมายถึง ความสามารถใน การป้องกันตนเองจากการถูกโน้ มน้ าวด้วยเน้ื อหา ทีเ่ ป็นเทจ็ และมีผลกระทบต่อผ้รู ับส่ือ เพ่ือไม่ให้ตก เป็นเครอื่ งมือทางการตลาดหรือผลประโยชน์ ท่สี ่ือ นาเสนอ
18 การรูเ้ ทา่ ทันส่ือ การรูเ้ ทา่ ทนั สื่อนั้น สามารถตงั้ คาถามวา่ • ส่ือนั้นมีทมี่ าอยา่ งไร • ใครเป็นเจ้าของสื่อ • ใครผลิตและผลิตภายใต้ข้อจากดั ใด • ควรเชอื่ หรอื ไม่ • มคี วามเชอ่ื อะไรทแี่ ฝงมากบั สื่อนั้น • ผสู้ รา้ งหรอื ผเู้ ผยแพรส่ ่ือนั้น หวงั ผลอะไร ดงั นั้นควรเลอื กแนวปฏิบตั ิอยา่ งเหมาะสม
19 การรูเ้ ท่าทันสื่อ โดยทัว่ ไปแล้ว การเข้าถึงเนื้ อหาหรือข้อมูล ข่าวสารจากสื่อตา่ งๆนั้นสามารถกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์ ต่ อ ผู้ รั บ ส า ร แ ต่ต้ อ ง ส ร้ า ง ก า ร ต ร ะ ห นั ก รู้ ถึ ง ภั ย คุกคามของสื่อทมี่ ากบั ความอยากรูอ้ ยากเห็นดว้ ย
20 การรูเ้ ทา่ ทนั ส่ือ การรูเ้ ทา่ ทนั ส่ือสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ระดบั ดงั นี้ ระดบั ท่ี 1 ผู้รับสื่ อตระหนั กถึงความสาคัญของการเลือก และจัดสรรเวลาในการใช้ส่ือตา่ งๆ
21 การรูเ้ ทา่ ทนั สื่อ ระดับท่ี 2 ผู้รับส่ื อสามารถเรียนรู้ทักษะการรับสื่ อแบบ วิพากษ์ สามารถวิเคราะห์และตัง้ คาถามว่าส่ือถูกสรา้ ง ข้ึนไดอ้ ยา่ งไรและมีความน่ าเช่ือถือหรอื ไม่
22 การรูเ้ ท่าทันส่ือ ระดับท่ี 3 ผู้รับส่ื อสามารถวิเคราะห์ สื่ อในเชิงสั งคม การเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์ จนนาไปส่กู ารสรา้ งเวทที างสังคม
23 ข่าวลวงและผลกระทบ ข่าวลวง (fake news) เป็นรูปแบบหน่ึ ง ของการกอ่ กวน ซ่งึ ข่าวลวงจะนาเสนอเรอ่ื งราวท่ี เ ป็ น เ ท็ จ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ อ บ แ ฝ ง ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น เช่น เพ่ือขายสิ นค้า ทาให้เกิดความเข้าใจผิด สร้างความสั บสนให้แก่ผู้รับข้อมูล ข่าวลวงอาจ แพร่ผ่านอีเมลหรือเครือข่ายทางสั งคมโดยจะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ สี ย ห า ย ทั้ ง ส่ ว น บุ ค ค ล ทางดา้ นเศรษฐกจิ การเมอื ง การปกครอง
24 ข่าวลวงและผลกระทบ ลกั ษณะของข่าวลวงเชน่ • สรา้ งเรอื่ งราวเพื่อให้เป็นจุดสนใจของสังคม • สรา้ งความหวาดกลวั • กระตุน้ ความโลภ • สรา้ งความเกลียดชัง • ส่งต่อกนั มาผา่ นเครอื ข่ายทางสังคม • ไม่ระบแุ หล่งทม่ี า • ขยายความต่อจากอคติของคนทั่วไปที่มีอยู่ก่อนแล้วเพ่ือ หวังให้ตนเองไดร้ บั ผลประโยชน์ หรอื ใช้เพ่ือโจมตีคู่แข่ง
25 ข่าวลวงและผลกระทบ ดั ง นั้ น ผู้ รั บ ข่ า ว ส า ร ต้ อ ง มี วิจารณญาณเพ่ือป้องกันไม่ให้ตนเองและ ผู้ อื่ น ต ก เ ป็ น เ ห ย่ื อ ข อ ง ข่ า ว ล ว ง เ พ่ื อ ป้ อ ง กั น ค ว า ม เ สี ย ห า ย ต่ อ ต น เ อ ง แ ล ะ สั งคม
26 กิจกรรม ใ ห้ นั ก เ รี ย น ย ก ตั ว อ ย่ า ง สถานการณ์ ข่ าวลวงและวิเคราะห์ ถึง วัตถุประสงค์และผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึน หากมกี ารแชรส์ ู่สังคม
1 กฎหมายเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์
2 กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ การออกข้ อกาหนดระเบียบและ กฎหมายต่างๆท่ีเก่ียวข้องกับเทคโนโลยี สารสนเทศ มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การใช้ ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ เ ป็ น ไ ป ด้ ว ย ความเรยี บรอ้ ย
3 กฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ ประเทศไทยมีการออกพระราชบัญญั ติต่างๆที่เกี่ยวข้ องกับ เทคโนโลยสี ารสนเทศและมีการปรบั ปรุงให้ทันสมัยอย่างสมา่เสมอโดย รายละเอยี ดตา่ งๆสามารถศึกษาไดจ้ ากพระราชบญั ญัตแิ ตล่ ะฉบบั ดงั น้ี พระราชบัญญัติการพัฒนาดจิ ิทัล เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และแก้ไขเพ่ิมเติมฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2560
4 กฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างการกระทาท่ีมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทาความผดิ เกย่ี วกบั คอมพิวเตอรเ์ ชน่ • ส่ งข้ อมูลคอมพิวเตอร์หรืออีเมลให้ บุคคลอ่ืน ซ่ึง ก่อให้ เกิดความเดือดร้อนหรือราคาญโดยไม่เปิ ด โอกาสให้ผู้รับสามารถบอกเลิกหรือปฏิเสธการตอบ รับ ไ ด้ โ ด ย ง่า ย เ ช่ น ส่ ง อี เ ม ล ส แ ป ม ส่ ง ข้ อ ค ว า ม โฆษณามาท่ีโทรศั พท์มือถือ ฝากร้านในเครอื ข่ายทาง สั งคม
5 กฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ • ก ด ไ ล ค์ ( Like) เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ห ม่ิ น ส ถ า บั น พระมหากษัตรยิ ์ • กดแชร์ (Share) ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อผู้อื่นทาให้ เกดิ ความเสียหาย • พบข้อมูลผิดกฎหมายในระบบคอมพิวเตอร์หรือใน บัญชีเครือข่ายทางสั งคมถึงแม้ไม่ได้เป็นเจ้าของ ข้อมูลก็ตาม แล้วเพิกเฉยโดยไม่แจ้งไปยงั หน่ วยงาน ทรี่ บั ผดิ ชอบและลบข้อมูลออกจากระบบ
6 กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ • ผู้ดูแลเพจหรือแอดมินเพจพบข้อความแสดงความ คิดเห็นทผี่ ดิ พ.ร.บ แลว้ เพิกเฉย • โพสต์สื่ อลามกอนาจารที่ทาให้เกิดการเผยแพร่สู่ ประชาชนได้ • โพสต์เก่ียวกับเด็กเยาวชนแล้วไม่ปิดบังใบหน้ า ยกเว้นกรณี ท่ีเป็ นการเชิดชู หรือช่ืนชมอย่างให้ เกยี รต
7 กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ • ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสี ยชีวิตแล้วทาให้เกิดความเส่ื อม เสี ยชื่ อ เสี ยง ถู กดูห ม่ิ น เกลี ยด ชัง ญา ติสา มา ร ถ ฟ้องรอ้ งไดต้ ามกฏหมาย • การโพสต์ดา่ วา่ ผอู้ ื่นหรอื ข้อความเทจ็ เป็นความผดิ ทางอาญา • ละเมิดลขิ สิทธ์ผิ อู้ ื่น เชน่ ข้อความ เพลง รูปภาพ วิดทิ ศั น์ • แชรร์ ูปภาพของผอู้ ่นื ในเชงิ พาณิชยเ์ พื่อหารายได้
1 การใช้งานลิขสิ ทธ์ิ ท่ีเป็นธรรม
2 กฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ ลิขสิ ทธ์ิ สิ ทธ์แิ ต่เพียงผูเ้ ดยี ว ที่จะกระทาการใดๆ เกี่ยวกบั งานท่ผี ้สู ร้างสรรค์ได้รเิ ร่มิ โดยการใช้สติปัญญา ความรู ้ความสามารถและความวิริยอุตสาหะของตนเอง ในการสรา้ งสรรค์ ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น โดยงานท่ี สร้างสรรค์ต้องเป็นงานตามประเภทที่กฎหมายลิขสิ ทธ์ิ ใ ห้ ค ว า ม คุ้ ม ค ร อ ง โ ด ย ผู้ ส ร้า ง ส ร ร ค์ จ ะ ไ ด้รั บ ค ว า ม คุ้มครองทันทีท่ีสร้างสรรค์โดยไม่ต้องจดทะเบียนกรม ทรพั ยส์ ินทางปัญญา
3 กฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ ผู้ใดต้องการใช้ผลงานที่มีลิขสิ ทธ์ิต้องได้รับ อนุญาตจากเจ้าของผลงาน เพราะกฎหมายให้ ความ คุ้มครอง แต่ก็มีข้อยกเว้นให้ใช้งานได้บางอย่างโดยไม่ ต้องขออนุญาตหรือที่เรียกว่าการใช้งานลิขสิ ทธ์ิท่ีเป็น ธรรม เช่น ใช้ในการเรียนการสอน การรายงานข่าว แต่ทั้งน้ี ต้องไม่กระทบกับเจ้าของลิขสิ ทธ์ิโดยมี หลกั ในการพิจารณาดงั นี้
4 กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ วตั ถุประสงค์และลักษณะการใช้งานลขิ สิทธ์ิ ก า ร ใ ช้ ง า น ลิ ข สิ ท ธ์ิ ผู้ น า ไ ป ใ ช้ ต้ อ ง ไ ม่ มี วัตถุประสงค์เพื่อการค้าหรือหากาไร ไม่มีเจตนาทุจริต และใชเ้ พื่อประโยชน์ แกส่ ังคม
5 กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ ลกั ษณะงานอนั มีลขิ สิทธิ ผนู้ าไปใช้ตอ้ งพิจารณาระดับของการสร้างสรรค์ ผลงาน การใช้ความวิริยอุตสาหะหรือการใช้จินตนาการ สงู เช่น นวนิ ยายหรือการรายงานเหตุการณ์ท่ีเฉพาะ ไม่ ควรนาผลงานเหล่าน้ี ไปใช้เพราะหากนาไปใช้จะถือว่าไม่ เป็นธรรฒ
6 กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ ปรมิ าณของการนาไปใช้ การนาผลงานไปใช้ในปริมาณท่ีมากเกินไปหรือ ใช้ในปริมาณน้ อย แต่เป็นส่ วนสาคัญ ถือว่าเป็นการใช้ งานท่ีไม่เป็นธรรม เพราะกระทบต่อสิ ทธ์ิทางกฎหมาย ของเจ้าของลขิ สิทธ์เิ กนิ สมควร
7 กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ ตวั อยา่ งการใชง้ านลิขสิทธ์ทิ ่ีเป็นธรรม • การวิจัยหรือศึ กษางานโดยไม่แสวงหากาไรเช่น นั กเรียนสาเนาข้อความบางส่ วนในบทความเพ่ือทา แบบฝึกหัด • ผู้สอน ทาซ า้ ดัดแ ปลง ผลง าน เ พ่ื อประกอ บกา รสอ น แจกจ่ายจานวนจากดั เพ่ือประโยชน์ ในการเรยี นการสอน และมกี ารอา้ งองิ เจ้าของลิขสิทธ์โิ ดยไม่แสวงหากาไร
8 กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ • ในกรณี หนั งสื อท่ีไม่ได้พิมพ์จาหน่ ายเป็นเวลานาน และการนาไปใช้งานไม่กระทบตลาดเจ้าของลิขสิ ทธ์ิ จนทาให้เจ้าของลิขสิ ทธ์ิขายไม่ได้ เน่ื องจากหนั งสื อ ไม่มีขายในท้องตลาดแล้วก็อาจจะถือว่าเป็นการใช้ งานลขิ สิทธ์ทิ เี่ ป็นธรรมได้ • ก า ร น า ง า น ลิ ข สิ ท ธ์ิ ม า ใ ช้ เ พ่ื อ สั ง ค ม โ ด ย คั ด ล อ ก ปรับเปลี่ยนเพ่ิมเติมส่ิ งใหม่และมีการอ้างอิงในงานวิจัย เพ่ืออธบิ ายความคิดเห็นของผเู้ ขียน
9 กฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ • การคัดลอกคากล่าวหรือบทความโดยย่อและมีการ อ้างอิงในการรายงานข่าว • การเสนอรายงานหรือติชมวิจารณ์ แนะนาโปรแกรม คอมพิวเตอรใ์ นปรมิ าณทสี่ มควรและมกี ารอ้างองิ • การทาซา้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีสร้างข้ึนโดยไม่ได้ แ ส ว ง ห า ก า ไ ร ซ่ึ ง เ จ้ า ข อ ง ลิ ข สิ ท ธ์ิ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ สาธารณะชนทาซาโ้ ดยไมค่ ิดมูลค่า
10 กฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ • การสาเนาโปรแกรมคอมพิ วเตอร์ที่มีไว้จาหน่ าย สามารถสารองไว้เพื่อป้องกนั การสญู หาย • การรายงานข่ าว งานวรรณกรรมที่ตีพิมพ์ เพ่ื อวาง จาหน่ ายที่รายงานไม่เกิน 10% หรือ 1000 คาและใช้ ภาพไม่เกินหกภาพและมีการอ้างอิงซ่ึงเป็นการใช้งาน ในปรมิ าณพอสมควร ถือว่าเป็นการใชง้ านทเี่ ป็นธรรม
11 กฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ • การรายงานข่าวโดยใช้มิวสิ ควิดีโอประกอบไม่เกิน 10% หรือไม่เกิน 30 วินาทีของผลงานนั้ นโดยมีการ อา้ งองิ เจา้ ของผลงาน
12 กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างการใชง้ านลิขสิทธ์ทิ ่ีไมเ่ ป็นธรรม • การดาวน์ โหลดเพลงผอู้ ื่นไปขาย • สอนถ่ายเอกสารหนั งสื อเรียนเพ่ือขายกับผู้เรียนจานวน มากทาให้เจา้ ของลขิ สิทธ์สิ ญู เสียรายได้ • ผู้นาไปใช้มีเจตนาทุจริต โดยการนางานที่มีลิขสิ ทธ์ิ ไ ป ใ ช้ โ ด ย ไ ม่ อ้ า ง อิ ง ห รื อ ใ ช้ ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ ท า ใ ห้ ผู้ อื่ น เข้าใจวา่ ผลงานลิขสิทธ์นิ ั้นเป็นของตนเอง
13 กฎหมายเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ • ผู้นาไปใช้มีเจตนาทุจริต โดยการนางานที่มีลิขสิ ทธ์ิ ไ ป ใ ช้ โ ด ย ไ ม่ อ้ า ง อิ ง ห รื อ ใ ช้ ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ ท า ใ ห้ ผู้ อ่ื น เข้าใจวา่ ผลงานลขิ สิทธ์นิ ั้นเป็นของตนเอง • การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลองใช้ อยา่ งต่อเนื่ องแมว้ ่าจะหมดอายกุ ารใชง้ าน
14 สรุปทา้ ยบท การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อยากมีความ ปลอดภัยและมีความสุขนั้ น ผู้ใช้จาเป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั เทคโนโลยแี ละมีศิ ลปะในการใช้ชีวิต ในสังคมดจิ ิทลั ทมี่ คี วามซบั ซอ้ นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กอ่ นที่ จะใช้ข้อมูลต่างๆจะต้องประเมินความน่ าเชื่อถือโดย พิจารณาในประเด็นของ พรอมท์ ได้แก่การนาเสนอ ความสัมพันธ์ วตั ถุประสงค์ วธิ กี าร แหลง่ ทมี่ าและเวลา
15 สรุปทา้ ยบท โ ด ย ต้ อ ง ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม น่ า เ ช่ื อ ถื อ ข อ ง แหล่งข้อมูลและต้องตระหนั กถึงการให้เหตุผลที่ถูกต้อง และสอดคล้องกับความเป็นจริง เพ่ือให้สามารถนาไป แกป้ ัญหาได้ ผู้ใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศต้องมีความ รอบคอบระมัดระวัง รู้เท่าทันส่ื อและข่าวลวงต่างๆและ ปฏิบัติตามที่กฎหมายกาหนด เพราะความผิดพลาดเพียง เล็กน้ อยอาจก่อปัญหาใหญ่และอาจทาให้ชีวิตเปลี่ยนไป ในทางทไ่ี มเ่ หมาะสมได้
16 กจิ กรรม • นั กเรียนมีวิธีอย่างไรในการพิจารณาว่าข้อมูลท่ีได้ รบั มามคี วามน่ าเชอื่ ถือ • ตรรกะวบิ ตั ิคืออะไร • ข่าวลวงมผี ลกระทบต่อสังคมอยา่ งไร • ทาไมนั กเรียนจึงต้องมีความรู้เร่ือง พ.ร.บ ว่าด้วย การกระทาความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ • นั กเรียนสามารถใช้ผลงานท่ีมีลิขสิ ทธ์ิของผู้อ่ืนได้ หรอื ไมอ่ ยา่ งไร
แบบทดสอบ 10 ข้อ 10 คะแนน เร่มิ ทาแบบทดสอบ
1 ข้อใดคือแนวทางในการนามาประเมนิ ความน่ าเชอื่ ถือของข้อมูล ก พ้อยท์ ข พรบั ท์ ค แพรม ง พรอมท์
2 มีการวางเค้าโครงทเี่ หมาะสม มีรายละเอยี ดชัดเจน ไมค่ ุลมเครอื ใช้ภาษาและสานวณท่ีถูกตอ้ ง คือการประเมินความน่าเชอ่ื ถือของข้อมลู ในข้อใด ก วิธกี าร ข วัตถุประสงค์ ค ความสัมพันธ์ ง การนาเสนอ
3 การคานึงถึงความสอดคลอ้ งของข้อมลู กับส่ิงที่ต้องการ คือการประเมนิ ความน่าเชอื่ ถือของข้อมลู ในข้อใด ก ความสัมพันธ์ ข การนาเสนอ ค วัตถุประสงค์ ง วิธกี าร
4 การแสดงทช่ี ดั เจน ไมใ่ ชข่ ้อมูลที่เป็นการแสดงความคิดเห็นหรอื มีเจตนาแอบแฝง คือการประเมนิ ความน่าเชอื่ ถือของข้อมูลในข้อใด ก วิธกี าร ข วัตถุประสงค์ ค ความสัมพันธ์ ง แหล่งท่มี า
5 เป็นข้อมลู ทีม่ ีการวางแผน การเกบ็ ข้อมลู อยา่ งเป็นระบบ คือการประเมนิ ความน่าเชอื่ ถือของข้อมูลในข้อใด ก วัตถุประสงค์ ข แหล่งท่ีมา ค วิธกี าร ง เวลา
6 เป็นแหลง่ ข้อมลู ทเ่ี ชื่อถอื ได้ คือการประเมนิ ความน่าเชอ่ื ถือของข้อมูลในข้อใด ก เวลา ข วิธกี าร ค แหลง่ ท่มี า ง วัตถุประสงค์
7 เป็นข้อมลู ทีเ่ ป็นปัจจุบนั มคี วามทนั สมยั คือการประเมินความน่าเชอื่ ถอื ของข้อมลู ในข้อใด ก วิธกี าร ข แหล่งท่มี า ค วัตถุประสงค์ ง เวลา
8 ข้อใดคือลักษณะของแหล่งข้อมลู ท่ีเชอ่ื ถือ ก เน้ือหาเหมาะสมและตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ ในการสรา้ งเว็บไซตแ์ ละระบุช่ือผ้เู ขียนบทความ ข เป็นเวบ็ ไซตท์ ม่ี ีแหลง่ ทมี่ าและแสดงข้อมูลท่ีผดิ ๆ ทาให้สับสนตอ่ การใชง้ าน ค โฆษณาทมี่ ีการนารางวลั มาเป็นเครอื่ งมอื ในการค้าขายและจดั จาหน่ายในราคาทสี่ งู มกี ารนาเนื้อหาของผู้อนื่ มาจัดทาและนาเสนอ ง เป็นผลงานของตนเองเพื่อเรยี กยอดววิ และดึงดดู ความสนใจจากเนื้อหาตน้ ฉบบั
9 เว็บไซต์ท่ใี ห้บรกิ ารตรวจสอบช่ือโดเมนและข้อมลู อ่ืนๆ ของเว็บไซต์คือข้อใด ก www.google.com ข www.domainfree.com ค www.domain.com ง whois.domaintools.com
10 ผใู้ ห้ข้อมูลมเี จตนาบดิ เบือนความจรงิ หรอื คิดไปเอง ไม่สอดคล้องกับความเป็นจรงิ เรยี กวา่ ก เหตผุ ลบิดเบือน ข เหตผุ ลยาแ่ ย่ ค เหตผุ ลเชิงลบ ง เหตผุ ลวิบัติ
11 ตารวจ : คุณทาผดิ ข้อหาขโมยนมในรา้ นสะดวกซอ้ื พยาน : เธอมีความจาเป็นเพราะต้องนานมไปเลย้ี งลกู ทบ่ี า้ นยากจน จากการสนทนาคือเหตุผลวิบตั แิ บบใด ก ใชเ้ หตผุ ลโดยอา้ งถึงคนส่วนใหญ่ ข ใช้เหตุผลโดยอา้ งถึงความน่าสงสาร ค ใช้เหตผุ ลโดยสรา้ งทางเลอื กไวแ้ ค่ 2 ทาง ง ใชเ้ หตุผลเกนิ จรงิ
12 ผู้ชาย: กรุณาลกุ ให้คุณยายนั่งดว้ ยค่ะเพราะเป็นท่ีสาหรบั คนชรา ผหู้ ญิง : คนอนื่ ไม่เห็นมใี ครลกุ ให้น่ังเลย จากการสนทนาคือเหตผุ ลวิบตั แิ บบใด ก ใชเ้ หตผุ ลโดยสรา้ งทางเลอื กไวแ้ ค่ 2 ทาง ข ใช้เหตผุ ลโดยอ้างถึงคนส่วนใหญ่ ค ใชเ้ หตผุ ลเกนิ จรงิ ง ใช้เหตผุ ลโดยอ้างถึงความน่าสงสาร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110