Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย9_ศาสนากับการอยู่ร่วมกันในประเทศไทย

หน่วย9_ศาสนากับการอยู่ร่วมกันในประเทศไทย

Published by parunya2301, 2021-02-28 08:34:54

Description: หน่วย9_ศาสนากับการอยู่ร่วมกันในประเทศไทย

Search

Read the Text Version

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

ศาสนาทุกศาสนาล้วนมีส่วนสาคัญในการช่วยขัดเกลาคนในสังคม ให้เป็นพลเมืองดี ซ่ึงในประเทศไทยจะประกอบด้วยศาสนิกชนท่ีนับถือ ศาสนาตา่ งกนั เช่น คริสต์ อสิ ลาม พราหมณ์ฮนิ ดู เปน็ ตน้ การเรยี นรู้ เกี่ยวกับความสาคัญของแต่ละศาสนา จะทาให้เราเข้าใจถึงวิถีชีวิตความ เปน็ อยู่ เพ่ือนามาใชเ้ ป็นแนวทางในการอยูร่ ว่ มกันอย่างสันตสิ ุข ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

วถิ ีการดาเนินชวี ติ ของพทุ ธศาสนิกชน 1. การทาบญุ ดว้ ยการใหท้ าน • ทาน หมายถึง การเอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่แบ่งปันกัน ความตั้งใจท่ีจะสละหรือบริจาค การมีเจตนาที่จะไม่เบียดเบียน การตัง้ ใจจะบรจิ าคสิง่ ของให้ผอู้ ื่นเพือ่ ช่วยเหลือเผอื่ แผ่กนั แบ่งเปน็ ๒ ประเภท คือ อามสิ ทาน • เป็นการให้ส่ิงของ คือ ปัจจัย ๔ ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค การให้ทานนี้อาจให้เจาะจงตัวบคุ คลใดบุคคลหน่งึ หรือไม่เจาะจงกไ็ ด้ ธรรมทาน • เป็นการให้ความรู้ ให้คาส่ังสอนแนะนาเกี่ยวกับธรรมะ การตักเตือนให้ประพฤติดีประพฤติ ชอบ รู้จักบาปบุญคุณโทษ การใหธ้ รรมถือว่าเปน็ ทานท่ีสงู กวา่ การให้ส่ิงของ

วถิ ีการดาเนินชีวติ ของพุทธศาสนกิ ชน 2. การต้ังม่นั และรักษาศลี • ศีล คอื การประพฤติแต่ส่ิงที่ดงี าม ไม่เบียดเบยี นหรอื ทาใหผ้ อู้ ่ืนเดอื ดรอ้ น เป็นความดีทีส่ งู กวา่ ทานขึน้ มาขั้นหนึ่ง • ความหมายโดยรวมของศลี คือการไม่เบยี ดเบยี นกันใหเ้ ดอื ดร้อน อาจเรยี กว่า อภัยทาน • อภยั ทาน แปลว่า ให้ความไมม่ ีภยั หรือใหอ้ ภัย • ศีล อยู่ทีต่ วั ของเราเอง สามารถแสดงออกมาใหเ้ ห็นได้ทง้ั ทางกายและทางวาจา • ศลี ถอื วา่ เป็นพนื้ ฐานหรือหลักการในการอยู่รว่ มกนั กับผู้อ่ืนในสังคมด้วยความสงบสุข เพราะศีลคือการต้ังใจละเว้นจาก การทาช่ัว และไมเ่ บยี ดเบียนกัน คนทจี่ ะมีศลี ต้องเปน็ คนท่ีมีหิรโิ อตปั ปะ คือ ความละอายและความเกรงกลวั ต่อบาป

วถิ กี ารดาเนนิ ชวี ติ ของพุทธศาสนกิ ชน 2. การต้งั ม่นั และรักษาศีล ๑. งดเวน้ จากการฆ่าสัตวม์ ีชีวติ ๑. การมเี มตตา กรณุ า ๒. การประกอบอาชพี สจุ ริต ๒. งดเว้นจากการถือเอาส่ิงของท่ีเจ้าของ ๓. การสารวมในกาม ไมไ่ ด้ใหอ้ นุญาต ๔. การพูดความจริง ๕. การมีสตสิ ารวม ๓. งดเวน้ จากการประพฤติผดิ ในกาม เบญจศลี เบญจธรรม ๔. งดเว้นจากการพดู เท็จ ๕. งดเวน้ จากการฆา่ ดมื่ นา้ เมา

วถิ กี ารดาเนนิ ชีวติ ของพทุ ธศาสนกิ ชน 3. การเจริญสตภิ าวนา • ภาวนาเป็นการฝึกอบรมจิตให้บริสุทธ์ิจากกิเลส และเป็นการปฏิบัติข้างใน แบ่งเป็น ๒ อย่าง คือ การฝึกอบรม จิตให้ตั้งมัน่ และการฝึกจิตอบรมให้ใช้ปัญญาพิจารณาสิ่งต่างๆ ตามความเปน็ จรงิ จติ ภาวนาหรอื สมาธิ • การฝึกอบรมจติ ให้ตั้งม่นั เพ่ือทาใหเ้ กดิ ความสงบ ทัง้ ทางกาย วาจา และจิตใจ ปัญญาภาวนาหรือวิปสั สนา • การฝึกจิตอบรมให้ใช้ปัญญาพิจารณาสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง เพื่อให้เกิดความรู้ความเห็นที่ถูกต้อง จนหลุด พ้นจากกิเลสและความทุกข์

วิถีการดาเนนิ ชีวติ ของพุทธศาสนิกชน 3. การเจรญิ สตภิ าวนา การภาวนาขนั้ พนื้ ฐานในชีวติ ประจาวนั การไหว้พระสวดมนต์ • เปน็ การภาวนาข้ันพื้นฐาน เป็นการฝึกจิตให้สงบ กิเลสเบาบางลง ช่วย ใหจ้ ิตใจปลอดโปร่ง นอนหลบั สบาย การแผ่เมตตา • เป็นการทาความดี เป็นการคดิ ปรารถนาให้ผู้อื่นเป็นสุข การให้อภัยไม่ถือ โทษกัน เป็นอภยั ทาน

วถิ กี ารดาเนินชีวิตของพุทธศาสนิกชน 3. การเจริญสติภาวนา ประโยชนท์ ่ไี ด้จากการภาวนาในชีวิตประจาวนั • ช่วยในการส่งเสริมสุขภาพจิต ทาให้จิตใจผ่องใส มีความหนักแน่นม่ันคง รู้จักจิตใจของ ตัวเองดขี ึน้ • ช่วยในการทางานให้ดีข้ึน เพราะมีสมาธิท่ีจะคิดหรือทาอะไรโดยไม่วอกแวกไปหาเรื่องอ่ืน ทาให้การงานสาเรจ็ ไปไดด้ ้วยดี • ช่วยให้หลุดพ้นจากกิเลสตัณหาทั้งหลาย ท่ีหมายถึง มีความอยากเกินพอดี มีความ ทะเยอทะยานอนั ไม่ร้จู บ

วิถีการดาเนนิ ชวี ิตของพทุ ธศาสนิกชน 3. การเจรญิ สติภาวนา การทาบญุ ในวันพระหรือวันสาคัญทางประเพณี • โดยทั่วไปเมอ่ื ถงึ วันพระ วันสาคัญทางศาสนา หรอื วันสาคัญทางประเพณี ชาวพุทธจะนิยมทาบุญพร้อมกัน ๓ ด้าน คือ ทาน ศีล และ ภาวนา ด้วยการตักบาตรถวายอาหาร รักษาศีล ฟังเทศน์ฟังธรรม น่ังสมาธิ เวียนเทียน หรือปฏิบัติธรรมเป็นโอกาสพิเศษในช่วงเวลา สั้นๆ เช่น ๓-๗ วัน • ในอดีตมปี ระเพณที ท่ี กุ ครัวเรือนนิยมให้ลูกหลานผู้ชายท่ีมีอายุครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์ข้ึนไปปฏิบัติ คือ ประเพณีการอุปสมบท (การบวช) เพื่อรับการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับความจริงของโลกและชีวิต จะได้เป็นผู้มีสติสัมปชัญญะ เป็นที่พ่ึงของครอบครัวต่อไปได้ และถือ เปน็ การตอบแทนคุณบดิ ามารดาด้วย

วถิ กี ารดาเนนิ ชวี ิตของพุทธศาสนกิ ชน 3. การเจรญิ สติภาวนา วิธีการดาเนินชวี ิตของพทุ ธศาสนิกชนสอดคล้องกับหลกั การท่ีเปน็ หัวใจของพระพทุ ธศาสนา คือ โอวาทปาฏโิ มกข์ โอวาทปาฏิโมกข์ ๓ ประการ ทาความดใี หถ้ งึ พร้อม ไม่ทาความชวั่ ทงั้ ปวง ทาจติ ใจให้บริสทุ ธ์ผิ อ่ งแผว้

วถิ กี ารดาเนนิ ชวี ิตของคริสตศ์ าสนกิ ชน • คริสต์ศาสนา มีหลักความเช่ือประการแรก คือ ความเชื่อในพระเป็นเจ้า ผู้ทรงเป็นพระเป็นเจ้า สงู สดุ เป็นผ้สู รา้ งสรรพสง่ิ • พระองค์ได้ทรงเผยแสดงพระองค์ให้มนุษย์ได้รู้จักในฐานะ พระบิดา พระบุตร และพระจิต ซ่ึงเรียกว่า “พระตรีเอกภาพ” ทรงประทานพระบัญญตั ิ ๑๐ ประการ และทรงสญั ญาว่าจะสง่ พระผ้ไู ถม่ ากอบกู้มนษุ ย์ใหพ้ น้ จากบาป • พระเยซู เป็นพระบุตรท่ีพระเป็นเจ้าทรงส่งมาเพื่อไถ่บาปมนุษย์ โดยการเสียสละพระองค์เองรับทุกข์ทรมานและส้ินพระชนม์ บนไมก้ างเขน อันแสดงให้เหน็ ถงึ ความรกั อนั บรสิ ุทธิ์ • คริสตศ์ าสนกิ ชน ดาเนินชีวิตโดยอาศัยพระคัมภีร์เป็นแนวทาง มีความเช่ือความศรัทธาในพระ เปน็ เจ้า โดยการร่วมพธิ บี ูชามสิ ซาเพอื่ นมสั การ โมทนาคณุ ขอบพระคุณพระเป็นเจ้าในทุกๆ วัน โดยเฉพาะวันอาทิตย์

วถิ ีการดาเนินชวี ติ ของคริสต์ศาสนกิ ชน หน้าท่ขี องคริสต์ศาสนกิ ชน นิกายโรมนั คาทอลิก • เป็นนิกายเก่าแก่ที่สุดในศาสนาคริสต์ ประมุขสูงสุด คือ พระสันตะปาปา มศี นู ย์กลางอยูท่ ่สี านักวาตกิ ัน ใช้ภาษาละตนิ เป็นภาษากลางทางศาสนา คริสตศ์ าสนาในประเทศไทย มี ๒ นกิ ายหลัก • เป็นนิกายที่แยกตัวออกมาจากคริสตจักรโรมันคาทอลิก โดยมี มาร์ติน นิกายโปรเตสแตนต์ ลูเทอร์และผู้สนับสนุน ในช่วงที่คริสตจักรคาทอลิกเกิดปัญหาข้ึน มากมาย

วถิ ีการดาเนนิ ชีวิตของคริสตศ์ าสนิกชน หนา้ ท่ีของครสิ ตศ์ าสนิกชน นิกายโรมันคาทอลิก • มีพิธีกรรมท่ีเรียกว่า “พธิ ีมิสซาบูชาขอบพระคุณ” ซ่ึงมีเป็นประจาทุกวัน แต่จะ เน้นการร่วมบูชามิสซาในวันอาทิตย์ เนื่องจากเป็นวันหยุดที่คริสต์ศาสนิกชน ส่วนใหญ่จะวา่ งจากการประกอบกิจการงาน การแสดงออกถึงความเช่ือความศรัทธาในพระเป็นเจา้ ชาวครสิ ต์นิกายโรมนั คาทอลกิ และนกิ ายโปรเตสแตนต์จะแสดง ความเชอ่ื ความศรทั ธาน้โี ดยการประกอบพธิ กี รรม • มีพิธีที่เรียกว่า “พิธีนมัสการ” และยึดมั่นในพระวจนะจากคัมภีร์ไบเบิลเป็น นิกายโปรเตสแตนต์ แนวทางในการดาเนนิ ชวี ติ

วิถกี ารดาเนินชีวติ ของคริสตศ์ าสนิกชน หน้าทขี่ องครสิ ต์ศาสนกิ ชน การรับศลี ศักดส์ิ ิทธ์ิ • พระศาสนจกั รนกิ ายโรมันคาทอลกิ กาหนดศีลศกั ดส์ิ ิทธิ์ไว้ ๗ ประการ ศีลล้างบาป • เปน็ พิธีกรรมแรกสาหรบั ผู้ทีจ่ ะเข้าถอื คริสตศ์ าสนา ชาระลา้ งบาปมลทนิ ตา่ งๆ ศีลกาลัง • เปน็ พิธีเจมิ หนา้ ผากด้วยน้ามันเป็นเคร่ืองหมายรปู กางเขน ศีลมหาสนิท • เป็นศีลทส่ี าคัญที่สุด เปน็ การแสดงว่าผู้รบั ศลี “ร่วมสนทิ ” เป็นหน่ึงเดียวกับพระเจา้ ศลี อภัยบาป • หรอื เรียกว่า ศีลสารภาพบาป เม่ือไดก้ ระทาบาปแลว้ สานึกผดิ และรู้สึกเสียใจ ศลี เจมิ คนไข้ • เปน็ พิธกี ารเจิมด้วยนา้ มันแกผ่ ปู้ ว่ ยหนักหรือผู้ท่ีกาลงั จะส้ินใจ ศลี บวช • เป็นพธิ กี รรมท่ีพระสังฆราชโปรดใหแ้ กผ่ ชู้ ายท่สี มัครมาบวช ท่ีไดผ้ า่ นการคัดเลอื กแลว้ ศีลสมรส • เปน็ การประกาศว่าชายหญิงคู่หนึ่งได้ให้คาม่ันสญั ญาว่าจะใช้ชวี ติ รว่ มชวี ิตกัน

วิถีการดาเนินชีวติ ของคริสตศ์ าสนิกชน หนา้ ท่ขี องครสิ ตศ์ าสนกิ ชน การบารงุ ศาสนจกั ร • การบารุงศาสนจักร คือ การช่วยเหลือกิจการของคริสตจักร โดยการบริจาค ทรัพย์ตามกาลังความสามารถของคริสต์ศาสนิกชน เพ่ือบารุงและเผยแผ่ ศาสนา

วิถกี ารดาเนนิ ชวี ติ ของครสิ ตศ์ าสนิกชน วนั สาคญั ของคริสต์ศาสนกิ ชน • คริสต์ศาสนาทุกนิกายมีวันสาคัญทางศาสนาท่ีเหมือนกันและแตกต่างกันบ้าง ในบางคร้ังอาจเรียกช่ือต่างกัน เทา่ นน้ั แตแ่ กน่ แท้ความสาคญั นั้นมีความคลา้ ยคลงึ กัน วันสาคญั ทางคริสตศ์ าสนา วันวอนั ีสอสีเตเตออรร์์ ((EEaastsetre) r) ววนัันออาสี ทเติตยอข์ รอ์ง(ทEุกaสsัปtดeาrห)์ ววนั ันคอรสิีสตเตม์ าอสร(์ C(hEraissttmears))

วิถีการดาเนนิ ชวี ติ ของครสิ ตศ์ าสนิกชน วนั สาคัญของครสิ ต์ศาสนิกชน วันวอันาอทสี ิตเตยอข์ รอ์ง(ทEกุ aสstปั eดr)าห์ • วันอาทิตย์ของทุกสปั ดาห์ เปน็ วันสาคัญท่ีสืบทอดความเชื่อมาจากศาสนายูดาย เรียกว่า “วันสะบาโต” ถือเป็นวันบริสุทธ์ิ ชาวคริสต์เชื่อว่าวันอาทิตย์เป็น วันหยุดพักผ่อนที่ควรงดทากิจการงาน และต้องไปประกอบกิจทางศาสนา รว่ มกันทโี่ บสถ์

วถิ กี ารดาเนินชวี ติ ของคริสต์ศาสนกิ ชน วนั สาคญั ของคริสต์ศาสนกิ ชน ววนั ันออีสีสเเตตออรร์์ ((EEaasstteerr)) • วนั อสี เตอร์ และวันสมโภชปัสกา อยู่ในช่วงวนั ที่ ๒๑ มีนาคม – ๒๕ เมษายน ของทุกปี เปน็ วันสาคัญ ที่สืบเนื่องมาจากการสิ้นพระชนม์ของพระเยซู และเมื่อพระเยซูทรงกลับเป็นข้ึนมา ชาวคริสต์จึง ฉลองการคนื พระชนมชพี ของพระเยซู วนั อสี เตอร์ยงั เป็นวันแห่งการระลึกถึงเหตุการณ์ท่ีพระเจ้าทรง นาชาวอสิ ราเอลออกจากการเปน็ ทาสในอยี ปิ ต์

วถิ กี ารดาเนนิ ชวี ติ ของครสิ ต์ศาสนิกชน วนั สาคัญของครสิ ต์ศาสนกิ ชน วันวคนั รอสิ ีสตเม์ ตาอสร์(C(Eharissttemr)as) • วันคริสต์มาส เป็นวันสมโภชการประสูติของพระเยซู ศาสดาของคริสต์ศาสนา ซึ่งจะตรงกับวันท่ี ๒๕ ธันวาคม ของทุกปี ชาวคริสตถ์ อื ว่าเปน็ ช่วงเวลาแห่งความชื่นชมยินดี โดยจะมีการจดั งานเฉลิมฉลองกัน อยา่ งยงิ่ ใหญ่ มีการประดบั ไฟตน้ คริสตม์ าส รอ้ งเพลง และมอบของขวญั ให้แกก่ ัน

วถิ กี ารดาเนนิ ชวี ติ ของผ้นู ับถือศาสนาอิสลาม • ศาสนาอิสลามไม่ได้เป็นเพียงแค่ศาสนา แต่เป็นระบอบการดาเนินชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย เป็นระเบียบวินัยท่ี ครอบคลุมทุกอย่างของชีวิต ท้ังในด้านความคิดและความประพฤติ ซ่ึงแสดงออกด้วยการปฏิบัติที่เคร่งครัด สะท้อนให้เห็นความศรัทธาอันย่ิงใหญ่ ท่ีมีต่อองค์อัลลอฮ์เพียงองค์เดียวเท่าน้ัน ซึ่งจะดาเนินชีวิตโดยยึดหลัก ปฏบิ ัติ ๕ ประการ คือ การปฏญิ าณตน การละหมาด การถอื ศลี อด การบรจิ าคซะกาต การเดินทาง ไปประกอบพิธีฮัจญ์

วถิ ีการดาเนนิ ชวี ติ ของผู้นบั ถือศาสนาอิสลาม 1. การปฏิญาณตน • การท่ีจะเข้าสู่ความเปน็ มสุ ลมิ ที่สมบูรณ์ ตอ้ งมีการปฏิญาณตนตามข้อความในคัมภีร์อัลกุรอานท่ีเป็นหัวใจของชาวมุสลิมทุก คน คือ “ไม่มีพระเจ้าอ่ืนใดนอกจากอัลลอฮ์องค์เดียว และแท้จริง ท่านศาสดามุฮัมมัดเป็นเราะซูล (ศาสนทูต ผู้นา โองการ) ของอัลลอฮ์” • เมื่อยอมรับเอกภาพของอัลลอฮ์แต่องค์เดียว ไม่อนุญาตให้หาที่พึ่งอ่ืนหรือหาสิ่งอื่นมาเคารพเทียบเคียงกับพระผู้เป็นเจ้า อิสลามจึงมีข้อห้ามสักการรูปเคารพหรือสัญลักษณ์ใดๆ ไม่ว่าจะเป็นรูปป้ัน รูปถ่าย เครื่องรางของขลังหรือธรรมชาติ ห้าม กราบบุคคลทุกคนไม่ว่าจะเป็นบิดามารดา ปู่ย่าตายายหรือเจ้านาย เพราะการก้มกราบเอาหน้าผากจรดพื้น เป็นการแสดง ความเคารพสูงสดุ สงวนไว้ใช้กับพระเป็นเจา้ พระองค์เดียวเทา่ นนั้ • การดาเนินชีวิตของมุสลิม เมื่อจะทากิจกรรมใดๆ จะต้องเร่ิมด้วยพระนามของพระองค์เสมอ ไม่ว่าจะเป็นการดื่ม นั่ง นอน เดิน นอน อาบน้า การไอ การจาม ตกใจ ดีใจ เสียใจ การศึกษาคัมภีร์อัลกุรอานถือเป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคนและจะต้อง ศกึ ษาคัมภีร์ตงั้ แตเ่ ร่มิ จาความได้

วถิ กี ารดาเนนิ ชวี ิตของผู้นบั ถอื ศาสนาอิสลาม 2. การละหมาด • การละหมาด หรือ “นมาซ” มาจากภาษาอาหรับ แปลว่า “การขอพร” การละหมาด คือ การนมัสการ การแสดงความ เคารพต่อพระเจ้าท้งั รา่ งกาย และจิตใจ ความมงุ่ หมายของการละหมาด • ชว่ ยขัดเกลาจิตใจผู้ทกี่ ระทาใสสะอาดบรสิ ุทธอ์ิ ยเู่ สมอ หลุดพน้ จากความมวั หมอง • ฝึกใหม้ คี วามรบั ผดิ ชอบ ฝกึ ใหม้ ีระเบียบวนิ ัย ฝกึ ใหร้ กั ษาความสะอาด • เป็นการสารวมจติ ใจ ทาสมาธใิ ห้จิตสงบ เพอื่ เขา้ ไปสัมผสั กับเอกภาพของพระเจ้า • ช่วยยับยง้ั จากการประพฤติปฏบิ ตั ติ นในสิ่งที่ไม่ดี สง่ิ ช่ัวรา้ ยทง้ั หลาย • ชว่ ยให้เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามหนักแนน่ อดทน ในยามท่ปี ระสบความทุกข์หรอื ปญั หาในชีวิต

วถิ ีการดาเนินชวี ิตของผู้นับถือศาสนาอิสลาม 2. การละหมาด ศาสนาส่งเสริมความสะอาด • ศาสนาอิสลามส่งเสริมความสะอาด เพราะถือว่าความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของศรัทธา มุสลิมทุกคนจะต้อง สะอาดต้งั แต่ภายนอกคือร่างกาย จนถึงภายในคือจิตใจ จึงต้องชาระร่างกายและสิ่งสกปรกตามศาสนบัญญัติ กอ่ น หรอื ล้างมือก่อน • นา้ ทใ่ี ช้ชาระต้องสะอาด เสอ้ื ผา้ ทส่ี วมใส่เข้าเฝ้าพระเจา้ ก็ตอ้ งสะอาดเรยี บรอ้ ย ผูห้ ญิงต้องแตง่ ตัวมิดชิด เปิดได้ เฉพาะใบหนา้ และฝา่ มือ สว่ นผูช้ ายต้องไมใ่ หผ้ มปรกหน้าผาก โดยมีการใส่หมวกลักษณะต่างๆ เช่น กะปิเยาะ (ดังรูป) ซอเกาะก์ ตะกยี ะห์

วิถีการดาเนนิ ชวี ิตของผ้นู บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม 2. การละหมาด เวลาปฏบิ ตั ิในการละหมาด • การละหมาด เป็นการปฏิบัติที่มีรูปแบบกฎเกณฑ์ตามท่ีศาสดาได้กาหนดไว้ มุสลิมทุกคนจะต้องปฏิบัติตามจนกระท่ังวัน สุดทา้ ยของชีวิต โดยตอ้ งปฏิบัตวิ นั ละ ๕ เวลา เวลาร่งุ อรุณ ๑ ก่อนดวงอาทติ ยข์ น้ึ ๒ เวลากลางวนั เมอื่ ดวงอาทิตยค์ ลอ้ ย เวลาบา่ ย จากเทีย่ งตรง เวลาคา่ ๓ หลังสน้ิ สดุ แสงอาทิตย์ ๔ เวลาเยน็ ท่ดี วงอาทิตย์ เร่ิมตกดิน ๕

วถิ กี ารดาเนนิ ชีวิตของผู้นบั ถือศาสนาอิสลาม 3. การถือศลี อด • การถือศีลอด หมายถึง การงดเว้นจากการบริโภคอาหาร เคร่ืองด่ืม การร่วมสังวาส การละจากการทาช่ัวทั้งทางกาย วาจา และใจ ตงั้ แต่เวลารุ่งอรุณจนถึงดวงอาทิตย์ตก • ผู้ที่บรรลุศาสนภาวะ คือ อายุ ๑๕ ปี ทุกคนมีหน้าท่ีต้องปฏิบัติ แต่มีข้อยกเว้นสาหรับบุคคลในบางประเภท ได้แก่ คนชรา คนป่วย หญิงมีครรภ์หรือหญิงท่ีให้นมแก่ทารก หญิงขณะมีประจาเดือนหรือหลังคลอด บุคคลท่ีใช้แรงกายทางานหนัก และ บคุ คลท่อี ยู่ในระหวา่ งเดนิ ทาง เดือนเราะมะฎอน • ในรอบปีหนึ่ง มุสลิมทุกคนจะต้องถือศีลอดคนละ ๑ เดือน คือ ในเดือนท่ี ๙ นับตามฮิจเราะห์ศักราชท่ีเรียกว่า “เดือนเราะ มะฎอน” ชาวมุสลมิ จะตอ้ งต่ืนขึ้นรับประทานอาหารเช้าตั้งแต่ก่อนดวงอาทิตย์ข้ึนเม่ือดวงอาทิตย์ขึ้นแล้วต้องงดรับประทาน อาหารและน้า กระท่ังดวงอาทติ ยต์ ก • การถือศีลอดเป็นการฝึกฝนร่างกายและจิตใจให้มีความอดทน ให้รู้จักความ หิวโหย ได้เข้าใจเห็นใจคนยากจน รู้จักการ ช่วยเหลือเผ่ือแผ่ ทั้งนี้การถือศีลอดยังถือเป็นการทดสอบความศรัทธาและความยาเกรงท่ีมุสลิมมีต่อพระเป็นเจ้า และยัง ทดสอบและฝกึ ฝนความซอ่ื สตั ย์ของบุคคลท่ีถือศีลอดด้วย

วิถกี ารดาเนินชวี ิตของผนู้ ับถอื ศาสนาอสิ ลาม 4. การบรจิ าคซะกาต • ซะกาต แปลว่า การทาให้บริสทุ ธ์ิ การทาใหห้ มดมลทินซะกาต หมายถึง ทานท่ีบังคับให้ ผู้มีรายได้ในรอบ ๑ ปี ซึ่งมีรายได้ถึงจานวนท่ีกาหนดไว้ ต้องจ่ายหรือบริจาคทรัพย์สินให้แก่คนท่ีมีสิทธิรับบริจาคตามอัตราที่ กาหนด โดยทัว่ ไป คือ ตั้งแต่รอ้ ยละ ๒.๕ - ๒๐ ต่อปี • การบริจาคซะกาตเป็นการขัดเกลาจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธ์ิ ให้ลดความตระหน่ีเห็นแก่ตัว ไม่ให้ละโมบ ให้มีความเอื้อเฟื้อเผอ่ื แผ่ และถือได้ว่าการบรจิ าคซะกาตเป็นการช่วยลดปญั หาสงั คม

วถิ ีการดาเนินชีวติ ของผู้นับถือศาสนาอิสลาม 5. การเดนิ ทางไปประกอบพธิ ฮี จั ญ์ • ฮัจญ์ แปลว่า “การมุ่งไปสู่หรือการไปเยือน” หมายถึง การเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ วิหารกะอ์บะฮ์ หรือบยั ตลุ ลอฮ์ ทน่ี ครมักกะฮ์ ประเทศซาอดุ ีอาระเบยี • พธิ ฮี ัจญ์กระทาในเดือนท่ี ๒ ของทุกปี นับตามปฏิทินอิสลาม มุสลิมท่ัวโลก เดินทางไปประกอบพิธีร่วมกันที่ สถานท่ีแห่งน้ีแห่งเดียว ใช้เวลาประมาณ ๒ อาทิตย์ โดยบังคับเฉพาะบุคคลท่ีมีความ สามารถเท่านั้น คือ ความสามารถทางกาย ทรัพย์สิน และความปลอดภัยในการเดินทาง ต้องได้รับการยินยอมจากบุคคลใน ครอบครัวก่อน

วถิ ีการดาเนินชวี ติ ของผู้นับถือศาสนาอสิ ลาม 5. การเดินทางไปประกอบพิธฮี จั ญ์ สถานท่ปี ระกอบพิธีฮัจญ์ • วิหารกะอบ์ ะฮ์ตั้งอยใู่ จกลางเมอื งมกั กะฮ์ ชาวอาหรบั ถอื ว่าทแี่ หง่ น้เี ปน็ ใจกลางของโลก เป็นจุดศูนย์กลางของทุก ทวีป สะดวกแก่การเดินทางมาของมสุ ลิมท่ัวโลก • อัลลอฮ์ทรงบัญชาให้ท่านศาสดาและอิสมาอิลบุตรชายร่วมกันสร้าง “บัยตุลลอฮ์” แปลว่า บ้าน ของอลั ลอฮข์ ้นึ มา เพือ่ ใชเ้ ปน็ สถานทีแ่ สดงความเคารพจงรักภักดตี อ่ พระองค์ • คุณสมบัติของมุสลิมท่ีสามารถประกอบพิธีฮัจญ์ได้ คือ มีศรัทธาอย่างแท้จริง มีสุขภาพและสติปัญญาสมบูรณ์ มีทรัพยส์ นิ เพียงพอสาหรับการเดินทาง ได้ประกอบพธิ ีละหมาด ถือศลี อด และบรจิ าคซะกาตครบถว้ นแลว้

วิถีการดาเนินชวี ิตของผู้นบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม 5. การเดนิ ทางไปประกอบพธิ ฮี จั ญ์ ความมุ่งหมายของการประกอบพธิ ฮี ัจญ์ • เพอื่ แสดงความศรัทธา ทม่ี ตี อ่ อัลลอฮ์ • เพอ่ื สร้างสมั พนั ธภาพและภราดรภาพระหวา่ งชาวมสุ ลมิ ทว่ั โลก • เพื่อฝกึ ฝนและทดสอบความอดทน • เพ่ือฝึกการสารวมตนและทดสอบคณุ ธรรมในการเสยี สละ • เพ่ือแสดงว่ามุสลมิ ทุกคนเทา่ เทียมกนั ในสายตาของอลั ลอฮ์

วิถีการดาเนนิ ชวี ิตของผนู้ บั ถอื ศาสนาอิสลาม 5. การเดนิ ทางไปประกอบพิธฮี จั ญ์ ขอ้ ห้ามอ่นื ๆ ของมสุ ลมิ • นอกจากหลกั ปฏบิ ตั ิ ๕ ประการแลว้ มุสลิมยงั มขี ้อห้ามอ่ืนๆ ในการดาเนนิ ชวี ติ ข้อห้ามทส่ี าคัญ เชน่ • ห้ามเชอ่ื ไสยศาสตร์ เช่อื ดวง • หา้ มเลน่ การพนันทุกชนดิ • ห้ามดหู มอ ดูลายมอื ดูโชคชะตาราศี • ห้ามเสพของมนึ เมาทกุ ชนดิ แม้กระทง่ั บหุ รีก่ ็เปน็ ส่ิงต้องหา้ ม • หา้ มกนิ หมู เลือด สตั วท์ ่ตี ายเอง หรือสัตว์ ที่นาไปเซน่ ไหว้ • ห้ามใช้อารมณเ์ หนอื เหตผุ ล

วถิ กี ารดาเนนิ ชวี ิตของผทู้ น่ี ับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู • ข้อปฏิบัติในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีทั้งท่ีเป็นข้อปฏิบัติเฉพาะสาหรับวรรณะและข้อปฏิบัติรวมข้อปฏิบัติที่ต้อง ประพฤติปฏิบตั ิทส่ี าคญั คือ ขอ้ ปฏบิ ตั สิ าหรบั วรรณะ พธิ ีสังสการหรอื พธิ ีประจาบา้ น การบชู าเทวะ

ขอ้ ปฏิบัตสิ าหรบั วรรณะ การแต่งงาน • จะแต่งงานกับคนนอกวรรณะไม่ได้ แต่ชายที่อยู่ในวรรณะพราหมณ์แต่งงานกับหญิง วรรณะอื่นได้ ส่วนหญิงที่เป็นพราหมณ์จะแต่งงานกับชายวรรณะอ่ืนไม่ได้ ใครฝ่าฝืน กฎจะตอ้ งถกู ประณามหรือตดั ขาดจากวรรณะ • มีข้อกาหนด เช่น คนในวรรณะต่าจะปรุงอาหารให้คนวรรณะสูงรับประทานไม่ได้ อาหารการกิน พราหมณไ์ ม่กินเนื้อสตั ว์ คนต่างวรรณะจะรับประทานอาหารรว่ มกนั ไม่ได้ อาชีพ • การประกอบอาชีพถูกกาหนดไว้สาหรับคนวรรณะต่างๆ ซึ่งแตกต่างกัน ใครอยู่ใน วรรณะใดก็จะตอ้ งทาอาชพี นนั้ จะลกั ล่นั ไม่ได้ • ในกฎเดิมจะห้ามมีถิ่นฐานอยู่นอกเขตประเทศอินเดีย และห้ามเดินเรือในทะเล สถานทีอ่ ยู่ แต่ปจั จุบนั ไม่ค่อยถอื กัน

พธิ สี งั สการหรือพธิ ปี ระจาบา้ น • พิธีสังสการหรือพิธีประจาบ้านเป็นพิธีที่ผู้ท่ีประสงค์จะเป็นฮินดูต้องทา และคนในวรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ยกเว้นศทู ร ต้องผา่ นพธิ สี งั สการกอ่ น จึงจะนบั ว่าเปน็ ผบู้ รสิ ทุ ธิ์ พิธีตง้ั ชอื่ เด็ก พธิ ปี ้อนขา้ วในเดอื นท่ี ๕ และ ๖ พธิ ีคล้องสายยชั โญปวีต พธิ แี ต่งงาน

พธิ ีสังสการหรือพธิ ีประจาบา้ น พธิ คี ล้องสายยชั โญปวตี • พิธีคล้องด้ายศักด์ิสิทธ์ิ เป็นพิธีสาหรับเด็กชายทุกคนที่เกิดใน ๓ วรรณะ ได้แก่ พราหมณ์เมื่ออายุครบ ๕ ปี กษัตริย์เมื่ออายุครบ ๘ ปี และแพศย์เม่ืออายุครบ ๑๖ ปีสาหรับผู้ชายในวรรณะพราหมณ์จะต้องเข้าพิธีน้ี เพื่อ การเป็นพราหมณโ์ ดยสมบรู ณ์ • หน้าท่ีของพราหมณ์ คือ การส่ังสอนศิลปะวิทยาการ ผู้ท่ีไม่ใช่พราหมณ์จะสอนไม่ได้ พิธีน้ีเรียกว่า “อุปนยัน” แปลว่า การเขา้ สู่ทศั นะใหม่ เป็นการมอบตนเป็นศิษย์ โดยจะคล้องด้ายศักด์ิสิทธ์ิเรียกว่า “ยัชโญปวีต” พิธีนี้เป็น การประกาศตนเป็นพรหมจารี (ผูศ้ ึกษาศาสนา) หรอื เป็นพราหมณโ์ ดยสมบรู ณ์

การบชู าเทวะ • เดิมศาสนาพราหมณ์มีเทพเจ้าผู้สร้างโลกเป็นผู้ย่ิงใหญ่องค์เดียว คือ พระพรหม ต่อมาหลังพุทธกาลเมื่อ ศาสนาพราหมณ์ได้กลายเป็นศาสนาฮินดู ก็ได้มีลัทธิท่ีเรียกว่า “ตรีมูรติ” ซ่ึงเป็นการขยายจากเทพผู้สร้าง องคเ์ ดยี วเป็น ๓ องค์ คือ พระพรหม • เป็นเทพเจา้ ผ้สู รา้ งโลกและสรา้ งจกั รวาล พระวิษณุ • เป็นเทพเจา้ ผู้รกั ษาและคมุ้ ครองโลก หรือพระนารายณ์ พระศิวะ • เปน็ เทพผ้ทู าลาย • ได้ทาลายโลกเมอื่ เกดิ ปัญหาจากนั้นก็สร้างโลกขนึ้ มาใหม่

ความแตกตา่ งของการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนาตา่ งๆ มลู เหตุของการเกิดศาสนา มูลเหตทุ ี่ทาใหเ้ กิดศาสนา อาจแบง่ ประเภทของศาสนา ไดเ้ ป็น ๒ ประเภท ศาสนาที่นับถือพระเจ้า ศาสนาที่ไม่นบั ถือพระเจ้า

ความแตกตา่ งของการดาเนนิ ชวี ิตของศาสนกิ ชนศาสนาตา่ งๆ มูลเหตขุ องการเกิดศาสนา ศาสนาทน่ี บั ถือพระเจ้า • ศาสนาท่ีนับถือพระเจ้า เรียกรวมๆ ว่า เทวนิยม เป็นศาสนาท่ีเช่ือว่า พระเจ้าเป็นผู้สร้างโลก สร้างสรรพส่ิง ในจักรวาล และสรา้ งกฎเกณฑ์ให้แกธ่ รรมชาติ แบ่งเป็น เอกเทวนิยม • เป็นศาสนาที่นับถือพระเจ้าองค์เดียว เช่น คริสต์ศาสนา ศาสนาอิสลาม ศาสนาสิข เปน็ ต้น พหุเทวนิยม • เป็นเป็นศาสนาท่ีนับถือพระเจ้าหรือเทพเจ้าลายองค์ เช่น ศาสนา พราหมณ์-ฮินดู เปน็ ต้น

ความแตกต่างของการดาเนนิ ชวี ิตของศาสนิกชนศาสนาตา่ งๆ มลู เหตขุ องการเกดิ ศาสนา ศาสนาท่ีไม่นบั ถือพระเจา้ • ศาสนาที่ไม่นับถือพระเจ้า เรียกรวมๆ ว่า อเทวนิยม เช่น พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่ไม่เชื่อว่ามีพระเจ้าสร้าง โลกและบนั ดาลคุณและโทษใหแ้ กม่ นษุ ย์ แต่เชื่อว่า ส่ิงทั้งหลายเป็นผลจากการกระทาของตนเอง

ความแตกต่างของการดาเนนิ ชวี ิตของศาสนิกชนศาสนาตา่ งๆ จุดหมายปลายทางของชวี ิต สัญลักษณข์ องความสขุ ที่แทจ้ รงิ ของแต่ละศาสนา ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู • การทไ่ี ดอ้ ยเู่ ปน็ อันหน่งึ อนั เดยี วกลมกลืนกับพรหม • พระนิพพานเป็นทสี่ ุดของการประพฤตปิ ฏบิ ัตธิ รรม พระพทุ ธศาสนา คริสตศ์ าสนา • การมีชีวติ นริ นั ดรอย่ใู นอาณาจักรของพระเจ้าบนสวรรค์ • การอย่กู บั อัลลอฮ์ในสวรรค์ ศาสนาอสิ ลาม

ความแตกตา่ งของการดาเนินชวี ิตของศาสนิกชนศาสนาตา่ งๆ จดุ หมายปลายทางของชีวติ คาสอนเก่ียวกับชีวติ ในโลกน้ีของแตล่ ะศาสนา ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู • เชือ่ ว่ามกี ารเวยี นวา่ ยตายเกิด ชวี ติ ในโลกมีหลายครงั้ • เชื่อในเรอ่ื งของการเวียนวา่ ยตายเกดิ พระพุทธศาสนา คริสตศ์ าสนา • ไม่เชื่อเร่อื งเวียนว่ายตายเกิด เชอ่ื ว่าชวี ติ ในโลกนมี้ ีคร้งั เดยี ว • เช่อื วา่ ชีวิตในโลกนม้ี ีคร้งั เดยี ว ไมม่ กี ารเวียนวา่ ยตายเกดิ ศาสนาอิสลาม

วธิ กี ารยอมรบั วิถีการดาเนนิ ชีวิตของคนในแตล่ ะศาสนาในประเทศ • พระพทุ ธศาสนามหี ลกั คาสอนทช่ี อื่ ว่า “ฆราวาสธรรม ๔” หลักน้ีสามารถนามาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติสาหรับการ อย่รู ว่ มกับผู้ทนี่ ับถือศาสนาอน่ื และชว่ ยใหย้ อมรับวถิ ีการดาเนินชีวิตของคนในศาสนาอ่ืนท่ีแตกต่างไปจากตนเอง ได้อยา่ งเหมาะสมทาให้อยู่ร่วมกนั ได้อยา่ งสันติสขุ มีดงั น้ี ความจริงใจหรอื สัจจะ • มคี วามจรงิ ใจต่อตนเอง ตอ่ บุคคลอ่ืน ตอ่ หนา้ ที่การงาน และต่อประเทศชาติ การขม่ ใจหรือทมะ • การฝึกฝนและขม่ ใจตนเองในเร่ืองต่างๆ ไมใ่ ห้ประพฤตใิ นสงิ่ ท่ีไม่ดี ความอดทนอดกลัน้ • มีจิตใจเข้มแข็ง อดทนต่อความโกระ ความไม่พอใจ อดกล้ันที่จะตอบโต้ผู้ที่มีความเห็น หรือขันติ ต่างจากเรา ความเสยี สละหรือจาคะ • การมีจิตใจกว้างขวาง เอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่สละอารมณ์ที่ไม่ดี เช่น ความโกรธ ความเกลียด ออกไป จากจิตใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook