อาหารไทย ธิจินะ คุม้ สุววรณ 6407211001004 กรกนก ส่งชีพ 6407211001012 อลู ินนูฮาร์ บารอสิดิก 6407211001022 บุญญธิดา ศรีอินทร์ 6407211001024 พิสิฐ กรดเกลา้ 6407211001027 เพญ็ นภา เทพพิชยั 6407211001028 กล่มุ เรียน N18 รายงานส่วนนเี้ ป็ นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี
อาหารไทย นางสาว ธิจินะ คุม้ สุววรณ 6407211001004 นางสาว กรกนก ส่งชีพ 6407211001012 นางสาว อลู ินนูฮาร์ บารอสิดิก 6407211001022 นางสาว บุญญธิดา ศรีอินทร์ 6407211001024 นาย พิสิฐ กรดเกลา้ 6407211001027 นางสาว เพญ็ นภา เทพพิชยั 6407211001028 กลมุ่ เรียน N18 รายงานส่วนน้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาวิชาสารสนเทศเพอ่ื การศึกษาคน้ ควา้ ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2565 มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี
คานา รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาสารสนเทศเพ่ือการศึกษาค้นคว้ าโดยมีจุดประสงค์เพ่ือ การศึกษาเรื่องราวท่ีมา ความหมาย ประเภทและคุณค่าของอาหารไทย ซ่ึงรายงานนี้มีเนื้อหาเก่ยี วกบั อาหาร ไทยต่างๆ ทางผ้จู ัดทาได้ทารายงาน โดยรวบรวมเนื้อหาจากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ ผู้จดั ทาจะต้องขอขอบคุณ อาจารย์สุพฒั น์ สีระพดั สะ ผู้ให้ความรู้และแนวทางการศึกษา เพ่ือนๆทุก คนท่ีให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนีจ้ ะให้ความรู้และเป็ นประโยชน์แก่ผู้อ่าน ทุกๆท่าน คณะผ้จู ดั ทา
สารบญั เร่ือง หน้า คานา..................................................................................................................................... ก สารบญั ................................................................................................................................ ข สารบญั ภาพ.......................................................................................................................... ค สารบญั ตาราง....................................................................................................................... ง อาหารไทย............................................................................................................................. 1 ความเป็ นมาของอาหารไทย.................................................................................................. 1 ความหมายของอาหารไทย.................................................................................................... 5 เอกลกั ษณ์ของอาหารไทย...................................................................................................... 5 คณุ ค่าของอาหารไทย............................................................................................................ 6 ประเภทของอาหารไทย......................................................................................................... 7 บรรณานุกรม......................................................................................................................... 13
สารบัญรูปภาพ ภาพท่ี หน้า 1 อาหารไทยในสมยั สุโขทัย............................................................................................................... 1 2 อาหารไทยในสมยั อยธุ ยา............................................................................................................... 2 3 อาหารไทยสมัยธนบุรี..................................................................................................................... 3 4 อาหารไทยสมัยรัตนโกสินทร์......................................................................................................... 4 5 อาหารคาวและอาหารหวาน............................................................................................................ 7 6 น้าพริกปลาทู.................................................................................................................................. 8 7 ไข่ต๋นุ กะหลา่ ปล.ี ............................................................................................................................. 9 8 สังขยาฟักทอง................................................................................................................................ 11 9 ถัว่ แปบ........................................................................................................................................... 12
สารบญั ตาราง ตารางที่ หน้า 1 ประเภทอาหารไทย............................................................................................ 8
อาหารไทย อาหารไทยเป็นอาหารประจาชาติของประเทศไทยท่ีมีประวตั ิความเป็ นมาและมีพฒั นาการมาอย่าง ต่อเนื่องยาวนาน ตลอดระยะเวลาหลายปี ท่ีผ่านมาอาหารไทยหลายชนิดมีช่ือเสียงเป็นที่รู้จกั และไดร้ ับความ นิยมจากชาวต่างชาติอย่างแพร่หลายไปทว่ั โลก (ศิริพงศ์ รักใหม่, พชร พิริยาพร, ฌานิกา ศรีวรรณวิทย์, ฉวีวรรณ สุขศรี, และ อรรถสิทธ์ิ โอพงั่ . 2561) ความเป็ นมาของอาหารไทย อาหารไทย เป็นภาพสะทอ้ นของวิถีชีวิต และความอดุ มสมบูรณ์ของแผน่ ดิน จากอดีตจนถึงปัจจุบนั คนไทยทวั่ ทุกภูมิภาคไดน้ าทรัพยใ์ นดินสินในน้ามาปรุงแต่งเป็นอาหารเลิศรส และวิจิตรงดงาม สะทอ้ นให้ เห็นถึงวิถีชีวิต ความคิด จิตใจของคนไทยไดอ้ ย่างแจ่มชดั อาหารไทยพฒั นาสู่ความเป็นอาหารสากลที่ไดร้ ับ ความนิยมแพร่หลายไปทวั่ โลก (แสงอรุณ กนกพงศช์ ยั และคนอ่ืน ๆ. 2544) จุดกาเนิดอาหารไทย อาหารไทย มีจุดกาเนิดพร้อมกบั การต้งั ชนชาติไทย และมีการพฒั นาอย่างต่อเนื่องมาต้งั แต่สมยั สุโขทยั จนถึงปัจจุบนั เรื่องความเป็นมาของอาหารไทยยคุ ต่างๆ มีดงั น้ี 1. สมยั สุโขทยั อาหารไทยในสมยั สุโขทยั ไดอ้ าศยั หลกั ฐานจากไวใ้ นศิลาจารึกและวรรณคดี สาคญั คือไตรภูมิพระร่วงของพญาลิไท ที่ไดก้ ล่าวถึงอาหารไทยในสมยั น้ีว่า มีขา้ วเป็นอาหารหลกั โดยกินร่วมกบั กบั ขา้ ว ท่ีส่วนใหญ่ไดม้ าจากปลา มีเน้ือสัตวอ์ ื่นบา้ ง การปรุงอาหารไดป้ รากฏคาว่า “แกง” ใน ไตรภูมิพระ ร่วงท่ีเป็ นที่มาของคาว่า ขา้ วหมอ้ แกงหม้อ ผกั ท่ีกล่าวถึงในศิลาจารึก คือ แฟง แตงและน้าเตา้ ส่วนอาหาร หวานกใ็ ชว้ ตั ถุดิบพ้ืนบา้ น เช่น ขา้ วตอกและน้าผ้งึ ส่วนหน่ึงนิยมกินผลไมแ้ ทนอาหารหวาน ภาพที่ 1 อาหารไทยในสมยั สุโขทยั ทม่ี า : https://sites.google.com/site/foodthai0945/prawati-khwam-pen-ma-khxng-xahar-thi
2 2. สมัยอยุธยา สมัยน้ีถือว่าเป็ นยุคทองของไทยได้มีการติดต่อกับชาวต่างประเทศมากข้ึนท้ัง ชาวตะวนั ตกและตะวนั ออกจากบนั ทึกเอกสารของชาวต่างประเทศ พบว่าคนไทยกินอาหารแบบเรียบง่าย ยงั คงมีปลาเป็ นหลกั มีตม้ แกงและคาดว่ามีการใช้น้ามนั ในการประกอบอาหารแต่เป็ นน้ามนั จากมะพร้าว และกะทิมากกว่าไขมนั หรือน้ามนั จากสัตวม์ ากข้ึน คนไทยสมยั น้ีมีการถนอมอาหาร เช่นการนาไปตากแหง้ หรือทาเป็ นปลาเค็ม มีอาหารประเภทเครื่องจ้ิม เช่นน้าพริกกะปิ นิยมบริโภคสัตว์น้ามากกว่าสัตว์บก โดยเฉพาะสัตวใ์ หญ่ไม่นิยมนามาฆ่าเพ่ือใชเ้ ป็ นอาหาร ไดม้ ีการกล่าวถึงแกงปลาต่างๆ ที่ใชเ้ ครื่ องเทศ เช่น แกงที่ใส่หวั หอม กระเทียม สมุนไพรหวาน และเครื่องเทศแรงๆท่ีคาดวา่ นามาใชป้ ระกอบอาหารเพ่ือดบั กลิ่น คาวของเน้ือปลา หลกั ฐานจากการบนั ทึกของบาทหลวงชาวต่างชาติท่ีแสดงให้เห็นวา่ อาหารของชาติ ต่าง ๆ เร่ิมเขา้ มามากข้ึนในสมเด็จพระนารายณ์ เช่น ญ่ีป่ ุน โปรตุเกส เหลา้ องุ่นจากสเปนเปอร์เซีย และฝร่ังเศส สาหรับอิทธิพลของอาหารจีนน้นั คาดว่าเริ่มมีมากข้ึนในช่วงยคุ กรุงศรีอยุธยา ตอนปลายที่ ไทยตดั สัมพนั ธ์ กบั ชาติตะวนั ตก ดงั น้นั จึงกล่าวไดว้ า่ อาหารไทยในสมยั อยุธยา ไดร้ ับเอาวฒั นธรรมจากอาหารต่างชาติ โดย ผ่านทางการมีสัมพนั ธไมตรีท้งั ทางการทูตและทางการคา้ กบั ประเทศต่างๆ และจากหลกั ฐานท่ีปรากฏทาง ประวตั ิศาสตร์ว่าอาหารต่างชาติส่วนใหญ่แพร่หลายอยู่ในราชสานัก ต่อมาจึงกระจายสู่ประชาชน และ กลมกลืนกลายเป็นอาหารไทยไป ในที่สุด ภาพท่ี 2 อาหารไทยในสมยั อยธุ ยา ทม่ี า : https://sites.google.com/site/foodthai0945/prawati-khwam-pen-ma-khxng-xahar-thi
3 3. สมยั ธนบุรี จากหลกั ฐานท่ีปรากฏในหนงั สือแม่ครัวหัวป่ าก์ ซ่ึงเป็ นตาราการทากบั ขา้ วเล่มที่ 2 ของไทย ของท่านผูห้ ญิงเปล่ียน ภาสกรวงษ์ พบความต่อเนื่องของวฒั นธรรมอาหารไทยจากกรุงสุโขทยั มาถึงสมยั อยุธยา และสมยั กรุงธนบุรี และยงั เชื่อว่าเส้นทางอาหารไทยคงจะเช่ือมจากกรุงธนบุรีไปยงั สมยั รัตนโกสินทร์ โดยผา่ นทางหนา้ ท่ีราชการและสงั คมเครือญาติ และอาหารไทยสมยั กรุงธนบุรีน่าจะคลา้ ยคลึง กบั สมยั อยธุ ยา แตท่ ่ีพเิ ศษเพิ่มเติมคอื มีอาหารประจาชาติจีน ภาพที่ 3 อาหารไทยสมยั ธนบุรี ท่ีมา : https://sites.google.com/site/foodthai0945/prawati-khwam-pen-ma-khxng-xahar-thi 4.สมยั รัตนโกสินทร์ 4.1 สมยั รัตนโกสินทร์ ยคุ ท่ี 1 (พ.ศ. 2325 – พ.ศ. 2394) อาหารไทยในยุคน้ีเป็นลกั ษณะเดียวกนั กบั สมยั ธนบุรีแต่มีอาหารไทยเพิ่มข้ึนอีก 1 ประเภท คือ นอกจากมี อาหารคาวอาหารหวานแลว้ ยงั มีอาหารวา่ งเพิ่มข้ึน ในช่วงน้ีอาหารไทยไดร้ ับอิทธิพลจากวฒั นธรรมอาหาร ของประเทศจีนมากข้ึน และมีการปรับเปลี่ยนเป็ นอาหารไทย และกล่าวถึงเครื่องต้งั สารับคาวหวานของ พระสงฆ์ ไดแ้ สดงให้เห็นว่ารายการอาหารนอกจากจะมีอาหารไทย เช่น ผกั น้าพริก ปลาแห้ง หน่อไมผ้ ดั แลว้ ยงั มีอาหารที่ปรุงดว้ ยเครื่องเทศแบบอิสลาม และมีอาหารจีนโดยสงั เกตจากการใชห้ มูเป็ นส่วนประกอบ เน่ืองจากหมูเป็นอาหารท่ีคนไทยไม่นิยม แต่คนจีนนิยม
4 บทพระราชนิพนธ์กาพยเ์ ห่เรือชมเครื่องคาวหวานของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั ได้ ทรงกล่าวถึงอาหารคาวและอาหารหวานหลายชนิด ซ่ึงไดส้ ะทอ้ นภาพของอาหารไทยในราชสานกั ที่ชดั เจน ที่สุด ซ่ึงแสดงใหเ้ ห็นลกั ษณะของอาหารไทยในราชสานกั ท่ีมีการปรุงกล่ิน และรสอยา่ งประณีต ส่วนทีเป็ นอาหารคาว ได้แก่ แกงชนิดต่างๆ เคร่ืองจ้ิม ยาต่างๆ สาหรับอาหารว่างส่วนใหญ่เป็ น อาหารว่างคาว ไดแ้ ก่ หมูแนม ล่าเตียง หรุ่ม รังนก ส่วนอาหารหวานส่วนใหญ่เป็นอาหารที่ทาดว้ ยแป้งและ ไข่เป็นส่วนใหญ่ มีขนมที่มีลกั ษณะอบกรอบ เช่น ขนมผิง ขนมลาเจียก และมีขนมท่ีมีน้าหวานและกะทิเจือ อยดู่ ว้ ย ไดแ้ ก่ ซ่าหร่ิม บวั ลอย เป็นตน้ นอกจากน้ี วรรณคดีไทย เร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผน ซ่ึงถือวา่ เป็นวรรณคดีที่ สะทอ้ นวถิ ีชีวิตของคนในยคุ น้นั อยา่ งมากรวมท้งั เรื่องอาหารการกินของชาวบา้ น พบวา่ มีความนิยมขนมจีน น้ายา และมีการกินขา้ วเป็ นอาหารหลกั ร่วมกบั กบั ขา้ วประเภทต่างๆ ไดแ้ ก่ แกง ตม้ ยา และคว่ั อาหารมี ความหลากหลายมากข้ึนท้งั ชนิดของอาหารคาว และอาหารหวาน 4.2 สมยั รัตนโกสินทร์ ยคุ ท่ี 2 (พ.ศ. 2394 – ปัจจุบนั ) ต้งั แต่สมยั รัชกาลท่ี 4 ประเทศไทยมีการพฒั นาอย่างมาก และมีการต้งั โรงพิมพแ์ ห่งแรกในประเทศไทย ดงั น้นั ตารับอาหารการกินของไทยเร่ิมมีการบนั ทึกมากข้นึ โดยเฉพาะในสมยั รัชกาลท่ี 5 เช่นในบทพระราช นิพนธ์เร่ืองไกลบา้ น จดหมายเหตุเสด็จประพาสตน้ เป็นตน้ และยงั มีบนั ทึกต่างๆ โดยผา่ นการบอกเล่าสืบ ทอดทางเครือญาติ และบันทึกที่เป็ นทางการอ่ืน ๆ สะท้อนให้เห็นลักษณะของอาหารไทย ท่ีมีความ หลากหลายท้งั ท่ีเป็ น กบั ขา้ วอาหารจานเดียว อาหารว่าง อาหารคาว และอาหารนานาชาติ ท้งั ท่ีเป็ นวิธีปรุง ของราชสานัก และวิธีปรุงแบบชาวบา้ นที่สืบมาจนถึงปัจจุบนั ปัจจุบนั ไดม้ ีวิธีการปรุ งหรือส่วน ประกอบ ของอาหารผิดเพ้ียนไปจากของด้งั เดิม ทาให้รสชาติของอาหารไม่ใช่ตารับด้งั เดิม และขาดความประณีตที่ น่าจะถือวา่ เป็นเอกลกั ษณ์ท่ีสาคญั ของอาหารไทย
5 ภาพท่ี 4 อาหารไทยสมยั รัตนโกสินทร์ ที่มา : https://sites.google.com/site/foodthai0945/prawati-khwam-pen-ma-khxng-xahar-thi ความหมายของอาหารไทย อาหารไทย คือ อาหารที่คนไทยบริโภคมาเป็ นระยะเวลานาน อาจจะไดร้ ับการถ่ายทอดวฒั นธรรม จากชาติอ่ืนมาก็จริง แต่เราเอามาดดั แปลงให้เหมาะสมกบั ประสาทสัมผสั ของคนไทย (สิรินาฏ ศิริสุนทร. 2556, น.11) สามารถแบ่งไดต้ ามภูมิภาค มี 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ และภาคอีสาน ถือไดว้ ่า อาหารไทยเป็นวฒั นธรรมประจาชาติท่ีสาคญั ของประเทศไทย เอกลกั ษณ์ของอาหารไทย อาหารไทยเป็ นอาหารท่ีมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตัว อีกท้งั ยงั สะทอ้ นให้เห็นวฒั นธรรมความเป็ นอยู่ ด้งั เดิมของคนไทย ท้งั การปรุงอาหารและการแกะสลกั ผกั ผลไม้ (อมินตรา ศุกรวรรณ, 2546 น. 11) จุดเด่นที่ เป็นเอกลกั ษณ์ของอาหารไทย คอื รสชาติ และสมนุ ไพร อาหารของไทยจะมีรสชาติครบทุกรส เปร้ียว หวาน มนั เคม็ และเผด็ และนิยมนาสมุนไพรมาเป็นส่วนประกอบในการปรุงอาหาร เช่น พริก มะนาว ข่า ตะไคร้ และสมุนไพรอีกมากมาย จุดเด่นของอาหารไทย คนไทยบริโภคขา้ วเป็นอาหารหลกั โดยนิยมกนั 2 ชนิดคือ ขา้ วเหนียวและขา้ วเจา้ คนไทยภาคอีสานและภาคเหนือนิยมกินขา้ วเหนียวเป็นหลกั ส่วนคนไทยภาคกลาง และภาคใตน้ ิยมกินขา้ วเจา้ เป็นหลกั ประเทศไทยท่ีผูกพนั กบั สายน้าเป็นหลกั ทาให้อาหารประจาครัวไทย ประกอบดว้ ยปลาเป็นหลกั ท้งั ปลายา่ ง ปลาปิ้ ง จิ้มน้าพริก กินกบั ผกั สดที่หาไดต้ ามหนองน้า ชายป่ า หากกิน ปลาไม่หมดก็สามารถนามาแปรรูปใหเ้ ก็บไวไ้ ดน้ าน ๆ ไมว่ า่ จะเป็นปลาแหง้ ปลาเคม็ ปลาร้า ปลาเจ่า อาหาร รสเผด็ ท่ีไดจ้ ากพริกน้นั ไทยไดร้ ับนามาเป็นเคร่ืองปรุงมาจากบาทหลวงชาวโปรตุเกส ในสมยั พระนารายณ์ ส่วนอาหารประเภทผดั ไฟแรง ไดร้ ับมาจากชาวจีนที่อพยพมาอยใู่ นเมืองไทยในสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ เม่ือมี การเล้ียงสัตว์ขายเป็ นอาชีพและมีโรงฆ่าสัตว์ ทาให้มีการหาเน้ือสัตว์มารับประทานมากข้ึน มีการใช้ เครื่องเทศหลากชนิดเพื่อช่วยดับกล่ินคาวของเน้ือท่ีนามาปรุงเป็นอาหาร เครื่องเทศท่ีคนไทยนิยมนามาปรุง อาหารประเภทน้ีเช่น ขิง กระชาย ท่ีดบั กลิ่นคาวปลามานาน ก็นามาประยุกตก์ บั เน้ือสัตวป์ ระเภทววั ควาย
6 เป็ นสูตรใหม่ของคนไทย (คณะกรรมการเฉพาะกิจจดั ทาหนังสือเมืองไทยของเรา, 2535) (เอกสารจาก เวบ็ ไซต)์ คุณค่าของอาหารไทย คุณค่าของอาหารไทยสามารถจาแนกไดเ้ ป็ น 3 ดา้ น คือ คุณค่าดา้ นโภชนาการ คุณค่าทางยา และ คุณค่าดา้ นภูมิปัญญาและวฒั นธรรม รายละเอียดของคุณค่าดา้ นต่างๆ (คุณค่าของอาหารไทย ท่ีคนไทยนั้น ต้องรู้ ?, 2562) (เอกสารจากเวบ็ ไซต)์ สามารถแยกอาหารได้ 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่ ดา้ นโภชนาการ คุณค่าทางยา และคุณค่าดา้ นปัญญา และยงั รวมไปถึงวฒั นธรรม ซ่ึงรายละเอียดมีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. คณุ ค่าทางโภชนาการ โดยใชผ้ กั สมุนไพร และเน้ือสัตย์ ซ่ึงนามาประกอบการทาอาหาร ซ่ึงแสดง วา่ อาหารไทยน้นั มีสารอาหารครบถว้ นอยใู่ นตวั 2. คุณคา่ ทางดา้ นยารักษาโรค โดยไดม้ ีส่วนประกอบของเคร่ืองเทศต่างๆ เช่น ขา่ ตะไคร้ ใบมะกรูด เป็นตน้ ซ่ึงคณุ สมบตั ิของสมนุ ไพรไทยแตล่ ะชนิดน้นั มีประโยชน์ 108 ขบั ลม ช่วยในการขบั ถ่าย เป็นตน้ 3. คุณค่าทางด้านปัญญา และวฒั นธรรม ทุกส่ิงอย่างลว้ นมีการสั่งสมความรู้ ต้งั แต่อดีตมาจนถึง ปัจจุบนั ถกู สืบสานตานานมาในแตล่ ะยคุ สมยั ซ่ึงบง่ บอกถึงความเจริญในช่วงน้นั ๆ วา่ มีมากนอ้ ยแคไ่ หน ซ่ึง คนไทยส่วนใหญก่ ็จะเลือกในการทานอาหารตามฤดูกาลที่แตกต่างกนั ออกไปดว้ ยเช่นกนั ประเภทของอาหารไทย อาหารไทยจะแบง่ เป็น 2 ชนิด คือ อาหารคาว และอาหารหวาน 1. อาหารคาว ประกอบดว้ ย แกง ซ่ึงมีท้งั แกงคว่ั แกงส้ม แกงเผด็ แกงจืด ตม้ ยา ตม้ โคลง้ เป็ นตน้ ต่อมาเป็ นอาหารประเภทผดั คือมีอยู่ 2 แบบ คือ ผดั แบบจืดและผดั เผด็ มีการใชผ้ กั และเน้ือสัตวใ์ นการทา และมีการปรุงรสดว้ ยน้าปลาหรือซีอ๊ิว แต่ถา้ เป็นผดั แบบเผด็ ตอ้ งมีพริกสดหรือพริกแห้งในการผดั ดว้ ยและ
7 อาจมีการนาเครื่องแกงมาผดั แหง้ ดว้ ย อนั น้ีข้นึ อยกู่ บั วา่ คุณจะทากบั ขา้ วอะไร และตอ่ มาเป็นอาหารประเภท ยา โดยจะแบ่งเร่ืองการปรุงรสออกเป็ น 2 อย่าง คือ หวาน หรือ เปร้ียว และแบบสุดทา้ ยคือ อาหารทอด เผา หรือยา่ ง โดยเน้ือสัตวจ์ ะมีปรุงรสและดบั กล่ินคาวดว้ ยการใส่ผกั ชี กระเทียม พริกไทย และเกลือ เป็นตน้ และ ยงั มีเครื่องจ้ิม ในตระกูลน้าพริกต่างๆ เช่น น้าพริกกะปิ กะปิ คว่ั และอาหารคาวอย่างสุดทา้ ย คือ เครื่องเคียง อยา่ งเช่น แกงเผด็ จะมีของเคม็ เคร่ืองเคยี ง ไดแ้ ก่ ไขเ่ คม็ ปลาเคม็ เป็นตน้ หรือวา่ จะทานกบั ผกั ดองหรือเครื่อง เคียงอยา่ งอื่นกไ็ ด้ ข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสมมากกวา่ 2. อาหารหวาน มีท้งั แบบน้าและแบบแหง้ แต่ขนมส่วนใหญ่จะมีการใชแ้ ป้ง กะทิ และน้าตาลเป็น หลกั ในการทา เช่น กลว้ ยบวชชี ขนมเปี ยกปูนขนมใส่ไส้ เป็นตน้ และยงั มีการถนอมอาหารของไทยท่ีทาให้ อาหารมีรสหวาน เช่น การใชว้ ิธีดอง มะม่วงดอง มะยมดอง หรือจะใช้วิธีการกวน เช่น ทุเรียนกวน กลว้ ย กวน วิธีตากหรือวิธีเชื่อม (อาหารไทยมีกี่ชนิด แบง่ ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง, 2561) (เอกสารจากเวบ็ ไซต)์ ภาพที่ 5 อาหารคาวและอาหารหวาน ทีม่ า : https://cooking.kapook.com/view113314.html ตารางที่ 1 แสดงประเภทของอาหารไทย
8 ลาดับ อาหารคาว อาหารหวาน 1 แกง น่ึง 2 ผดั กวน 3 ยา อบ 4 ทอด ทอด 5 เครื่องจ้ิม เชื่อม 6 เคร่ืองเคียง น้ากะทิ ตวั อยา่ ง เมนูอาหารคาว ภาพที่ 6 น้าพริกปลาทู ที่มา : https://cooking.kapook.com/view113314.html ส่วนผสม 1. ปลาทู 2. กระเทียมปอกเปลือก 3. หอมแดงปอกเปลือก
9 4. พริกช้ีฟ้าหนั่ เป็นทอ่ นๆ 5. มะนาว 6. น้าปลา 7. น้าตาลทราย 8. น้าตม้ สุก 9. ผกั ตม้ ผกั สด วธิ ที า 1. นาหอมแดง กะเทียม และพริกไปคว่ั ในกระทะ 2. โขลกหอม กระเทียม และพริกที่คว่ั แลว้ ลงในครก ใหแ้ หลก 3. ใส่น้าตม้ สุกลงไป ปรุงรสดว้ ย น้ามะนาว น้าปลา และน้าตาลทราย ชิมรสตามชอบ ตกั เสิร์ฟพร้อมกบั ผกั ตม้ ผกั สด ภาพท่ี 7 ไข่ต๋นุ กะหล่าปลี
10 ทมี่ า : https://cooking.kapook.com/view113314.html ส่วนผสม 1. กะหล่าปลี 1 หวั 2. ไข่ไก่หรือไข่ จานวน 2 ฟอง 3. น้าซุป 5 ชอ้ นโตะ๊ 4. น้าปลา 1 ชอ้ นชา 5. ซีอิ๊วขาว 1 ชอ้ นชา 6. แครอทหน่ั เป็นชิ้นเลก็ ๆ 7. ตน้ หอมซอย 8. พริกไทย วธิ ที า 1 .แหวกกะหล่าปลีใหเ้ ป็นช่องตรงกลางสาหรับใส่ไขล่ งไป 2. ตอกไขใ่ ส่ชามแลว้ ตีใหข้ ้ึนฟู ใส่น้าซุป น้าปลา ซีอิ๊วขาว และพริกไทยลงไป ตีใหเ้ ขา้ กนั ใส่แครอท จากน้นั นาไปหยอดใส่ลงในกะหล่าปลีที่เจาะไว้ 3. นาไปน่ึงจนกวา่ ไข่จะสุก โดยใหใ้ ชส้ อ้ มกดลงไปดู ถา้ ไมม่ ีน้าไข่ดิบไหลออกมา ปิ ดไฟ ยกลงโรยหนา้ ดว้ ย ตน้ หอมซอย พร้อมเสิร์ฟ ตวั อย่าง เมนูอาหารหวาน
11 ภาพท่ี 8 สังขยาฟักทอง ที่มา : https://cooking.kapook.com/view113314.html ส่วนผสม 1. ไขเ่ ป็ด 2 ฟอง 2. กะทิ 200 มิลลิลิตร (หรือกะทิ 100 มิลลิลิตรผสมกบั นมสด 100 มิลลิลิตร) 3. น้าตาลป๊ี บ 150 กรัม 4. เกลือป่ น เลก็ นอ้ ย 5. ใบเตย 6. ฟักทอง หนั่ เป็นชิ้นเลก็ ๆ วิธีทา 1. ใส่ไข่เป็ด กะทิ นมสด น้าตาลทราย เกลือป่ น และใบเตยลงในภาชนะ ใชม้ ือขยาลงไปใหส้ ่วนผสมเขา้ กนั 2.จากน้นั นาไปกรองดว้ ยผา้ ขาวบาง เทใส่ภาชนะสาหรับน่ึง แลว้ ใส่ฟักทองหนั่ ลงไป จากน้นั ไปในน่ึงในน้า เดือดประมาณ 25-30 นาที
12 ภาพที่ 9 ถว่ั แปบ ท่ีมา : https://cooking.kapook.com/view113314.html ส่วนผสม 1. แป้งขา้ วเหนียว 2. เกลือ 3. มะพร้าวขดู (นาไปน่ึง 5 นาที) 4. ถว่ั เขยี วเลาะเปลือก (แช่น้าไว้ 3 ชวั่ โมง) 5. งาดาและงาขาวคว่ั 6. น้าตาลทราย 7. น้าใบเตยค้นั 8. น้าดอกอญั ชนั ค้นั 9. น้าหวานสีแดง วิธที า 1. แบง่ แป้งขา้ วเหนียวใส่ภาชนะ ค่อยๆ เติมน้าสีต่างๆ ลงไปนวดจนเป็นเน้ือเนียนๆ ทาใหค้ รบทุกสี แลว้ คลุมดว้ ยผา้ ขาวบางพกั ไว้
13 2. นาถว่ั เขียวเลาะเปลือกท่ีแช่น้าแลว้ ไปน่ึงใหส้ ุก เตรียมไว้ 3. ต้งั น้าร้อนให้เดือด แบ่งแป้งแตล่ ะสีออกมา คลึงเป็นกอ้ นกลมแลว้ แผเ่ ป็นแผน่ บางๆ จากน้นั นาไปตม้ ใน น้าเดือดใหแ้ ป้งสุกจะลอยข้ึนมา ตกั ข้นึ มาแช่ในน้าเยน็ 4. นาถว่ั น่ึงมาใส่เป็นไสแ้ ลว้ ห่อแบบพบั คร่ึงจากน้นั ก็บีบขอบแป้งใหต้ ิดกนั แลว้ ค่อยนาไปคลุกกบั ถวั่ ผสม มะพร้าวท่ีคลุกกบั เกลือเตรียมไว้ คลุกดา้ นนอกอีกคร้ัง แลว้ ใส่ถาดจดั เรียงใหส้ วยงาม 5. นางาขาวผสมน้าตาลทราย และนางาดาผสมกบั น้าตาลทราย เตรียมไวโ้ รยหนา้
14 บรรณานุกรม
15 บรรณานุกรม คณะกรรมการเฉพาะกิจจดั ทาหนงั สือเมืองไทยของเรา. (2553). เมืองไทยของเรา ฉบับท่ีสอง. สืบคน้ จาก https://khthanrot.wordpress.com คณุ ค่าของอาหารไทย ท่ีคนไทยนั้นต้องรู้ ?. (2562). สืบคน้ จาก https://archiehaugen.com ศิริพงศ์ รักใหม่, พชร พิริยาพร, ฌานิกา ศรีวรรณวทิ ย,์ ฉวีวรรณ สุขศรี, และ อรรถสิทธ์ิ โอพง่ั . (2561, พฤษภาคม). การพฒั นาตารับอาหารไทยตามมาตรฐานวิทยาลยั ดุสิตธานี : อาหารคาว. วิทยาลัยดุสิตธานี, 12(ฉบบั พเิ ศษ), 297. สืบคน้ จาก https://dtc.ac.th/wp-content/upload/2019/04/19. สิรินาฏ ศิริสุนทร. (2556). วัฒนธรรมอาหารไทย...จากอดตี สู่ปัจจุบัน (พมิ พค์ ร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: สานกั งาน กิจการโรงพิมพ์ องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก แสงอรุณ กนกพงศช์ ยั และคนอื่น ๆ. (2544). อาหาร : ทรัพย์และศิลป์ แผ่นดินไทย. กรุงเทพฯ: แปลนโมทีฟ อมินตรา ศุกรวรรณ. (2546). อาหารไทยชาววังตารับ ม.ล. พวง. กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยูเคชนั่ Stephanie James. (2561). อาหารไทยมีกีช่ นิด แบ่งได้อย่างไรบ้าง. สืบคน้ จาก https://mablepeabodys.com
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: