Education 4.0 in Active LearningEducation 4.0 คือการเรียนการสอนท่ีสอนใหน้ กั ศึกษา สามารถนาองคค์ วามรู้ท่ีมีอยทู่ ุกหนทุกแห่งบนโลกน้ี มาบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ เพ่ือพฒั นานวตั กรรมต่างๆ มาตอบสนองความตอ้ งการของสงั คม การเรียนการสอนในบา้ นเราที่ผมยงั พอสมั ผสั ได้ ยงั คงห่างไกลในหลายๆ มิติ เช่น เราไม่เคยสอนใหเ้ ดก็ของเราไดค้ ดิ เองทาเอง ส่วนใหญย่ งั คงสอนให้เด็กทาโจทยแ์ บบเดิมๆ ผมชอบเวลาที่มีหลายคนมีรูปคาตอบของเดก็ ๆ ที่แปลกๆ มาลงเฟสบุ๊ค ซ่ึงถา้ เป็นเรื่องจริงกค็ งดี แสดงว่าเด็กกลา้ คิดมากข้ึน อกี เรื่องคือเดก็ ของเราเริ่มไม่รู้จกั สงั คม เดก็ ๆ ส่วนใหญใ่ ชเ้ วลาในโลกออนไลนไ์ ปกบั เกมส์ ชอ้ ปป้ิ ง เแชท เฟสบุ๊ค ไลน์ อินสตราแกรม ซ่ึงส่วนใหญ่มนั เป็นสงั คมมายา ซ่ึงเทคโนโลยไี ม่ไดผ้ ดิ นะครบั แต่เหรียญมนั มีสองดา้ น เทคโนโลยกี ็เช่นกนั เราจะนาไปใชใ้ นดา้ นใดใหเ้ กดิ ประโยชน์ มนั เป็นความยากและทา้ ทาย ผทู้ ี่ตอ้ งทาหนา้ ที่สอนเดก็ ๆในยคุ น้ี เพราะการเรียนการสอนในยคุ 4.0 ตอ้ งปล่อยให้เด็กไดใ้ ชเ้ ทคโนโยี ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ปล่อยใหเ้ ดก็ กลา้ คดิ และกลา้ ที่จะผดิ แต่ท้งั หมดกย็ งั คงตอ้ งอยใู่ นกรอบที่สงั คมตอ้ งการหรือยอมรบั ได้ ไม่ใช่วา่ เกง่จริง คดิ อะไรใหม่ๆ ไดเ้ สมอมีความคดิ สร้างสรรค์ แต่ไม่เป็นท่ียอมรับของสงั คม ซ่ึงเร่ืองของ Education 4.0มนั ฟังดูเหมือนงา่ ยมากเพราะมนั มีปัจจยั หลกั ๆ แค่ 3 ปัจจยั คอื1.Internet เครื่องมือสาคญั สาหรบั การคน้ หาความรู้ ผมเองจะเขียนบทความน้ีกอ็ าศยั Internet น่ีล่ะครับ เป็นแหลง่ ขอ้ มูลท่ีสาคญั ดงั น้นั ทางสถาบนั การศกึ ษาคงตอ้ งสนบั สนุนใหน้ กั เรียนนกั ศึกษาเขา้ ถงึ Internet ไดง้ า่ ย
มากกว่ามอง Internet เป็นผรู้ ้ายแลว้ กลวั วา่ นกั เรียนนกั ศึกษาจะใช้ Internet ไปในทางที่ไม่ดีเลยไม่สนบั สนุนโครงสร้างพ้ืนฐานเหล่าน้ีในสถาบนั2.ความคิดสร้างสรรค์ หลายๆ ท่านชอบพูดนะครับวา่ เร่ืองของความคิดสร้างสรรค์ มนั เป็นพรสวรรคไ์ ม่ใช่พรแสวงเรียนรู้กนัไม่ได้ เพราะคดิ กนั แบบน้ีเราถงึ ไม่สามารถสร้างอะไรใหม่ข้ึนมาได้ หลกั สูตรการเรียนการสอนควรจะเปิ ดโอกาส ให้นกั เรียนนกั ศึกษากลา้ ท่ีจะคิดนอกกรอบหรือต่อยอดจากตารา3.การปฏิสัมพันธ์กับสังคม เพอื่ ท่ีจะสามารถตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมและทางานร่วมกนั ในสงั คมได้ จุดน้ีไม่ใช่เพื่อความตอ้ งการของตลาดแลว้ นะครับ (สงสยั คราวหนา้ ตอ้ งมาเขยี นเร่ือง Marketing 4.0) ทางสถาบนั การศกึ ษาเองควรมีกิจกรรมให้นกั เรียนนกั ศึกษาไดเ้ ขา้ ร่วมเป็นประจา มีการสนบั สนุนการทางานแบบเป็นกล่มุมากกวา่ งานเดี่ยวการเรียนรู้แบบใฝ่ รู้ (Active Learning) เป็นการเรียนรู้ที่พฒั นาทกั ษะความคิดระดบั สูงอยา่ งมีประสิทธิภาพช่วยใหผ้ เู้ รียนวเิ คราะห์สงั เคราะหแ์ ละประเมินขอ้ มูลในสถานการณใ์ หม่ไดด้ ีในท่ีสุดจะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิด
แรงจูงใจจนสามารถช้ีนาตลอดชีวิตในฐานะผฝู้ ักใฝ่การเรียนรู้ธรรมชาติของการเรียนรู้แบบ Active Learningประกอบดว้ ยลกั ษณะสาคญั ต่อไปน้ี 1. เป็นการเรียนรู้ท่ีมุ่งลดการถ่ายทอดความรู้จากผสู้ อนสู่ผเู้ รียนใหน้ อ้ ยลงและพฒั นาทกั ษะให้เกิดกบั ผเู้ รียน 2. ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในช้นั เรียนโดยลงมือกระทามากกว่านง่ั ฟังเพยี งอยา่ งเดียว 3. ผเู้ รียนมีส่วนในกิจกรรมเช่นอ่านอภิปรายและเขียน 4. เนน้ การสารวจเจตคติและคุณคา่ ที่มีอยใู่ นผเู้ รียน 5. ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาการคดิ ระดบั สูงในการวิเคราะห์สงั เคราะห์และประเมินผลการนาไปใชแ้ ละ 6. ท้งั ผเู้ รียนและผสู้ อนรับขอ้ มูลป้อนกลบั จากการสะทอ้ นความคดิ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว การเรียนรู้แบบใฝ่รู้ ถือไดว้ ่าเป็นการเรียนรู้ท่ีตอ้ งการกจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายที่จะช่วยให้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาตนเองผา่ นการจดั การตนเองให้ความรู้และช่วยพฒั นาเพอ่ื นร่วมช้นั ซ่ึงจะก่อให้เกิดการสร้างสรรคพ์ ฒั นาความรู้ความเขา้ ใจและทกั ษะท่ีหลากหลายเป็นกระบวนการท่ีประณีตรดั กมุ และผเู้ รียนไดร้ บั ประโยชนม์ ากกวา่ การเรียนรู้ท่ีผเู้ รียนเป็นฝ่ายรับความรู้อาจนามาขยายความใหเ้ ห็นเป็นลกั ษณะสาคญัของการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning ไดด้ งั น้ี 1. เป็นการเรียนการสอนที่พฒั นาศกั ยภาพทางสมองไดแ้ กก่ ารคิดการแกป้ ัญหาและการนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ 2. เป็นการเรียนการสอนท่ีเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 3. ผเู้ รียนสร้างองคค์ วามรู้และจดั ระบบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 4. ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนท้งั ในดา้ นการสร้างองคค์ วามรู้การสร้างปฎิสมั พนั ธร์ ่วมกนัร่วมมือกนั มากกว่าการแขง่ ขนั
5. ผเู้ รียนเรียนรู้ความรับผดิ ชอบร่วมกนั การมีวินยั ในการทางานการแบ่งหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ 6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณใ์ หผ้ เู้ รียนอา่ นพูดฟังคิดอยา่ งล่มุ ลึกผเู้ รียนจะเป็นผจู้ ดั ระบบการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 7. เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นทกั ษะการคิดข้นั สูง 8. เป็นกจิ กรรมที่เปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนบูรณาการขอ้ มูลขา่ วสารหรือสารสนเทศและหลกั การความคิดรวบยอด 9. ผสู้ อนจะเป็นผอู้ านวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้เพื่อใหผ้ เู้ รียนเป็นผปู้ ฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง 10.ความรู้เกดิ จากประสบการณ์การสร้างองคค์ วามรู้และการสรุปทบทวนของผเู้ รียน การส่งเสริมให้ผเู้ รียนไดส้ ร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเองจากการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ มีส่วนประกอบสาคญัไดแ้ ก่ การมีวสั ดุอปุ กรณ์เครื่องมือ (Appealing Materials) ผเู้ รียนมีโอกาสลงมือปฏบิ ตั ิ (Opportunities forManipulation) ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการเลอื กกจิ กรรมและกลวิธีการแกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง (Choices forChildren) ผเู้ รียนไดส้ ่ือสารเกี่ยวกบั ส่ิงท่ีกาลงั ทากบั ผอู้ ่ืนการเรียนรู้ท่ีกระตือรือร้นการประเมินการจดัห้องเรียนกาหนดการประจาวนั ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผสู้ อน ผเู้ รียน เน้ือหา การจดั การเรียนการสอน ซ่ึงการเรียนรู้แบบใฝ่รู้จะมีความยดื หยนุ่ สูงสามารถปรับวิธีการใชก้ ิจกรรมและแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ซ่ึงทาได้มากกว่าการสอนแบบบรรยายนนั่ เองกระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ที่แทจ้ ริงอยใู่ นโลกจริงหรือชีวติ จริง การเรียนวชิ าในห้องเรียนยงั เป็นการเรียนแบบสมมติ “ดงั น้นั ครูเพอื่ ศิษยจ์ ึงตอ้ งออกแบบการเรียนรู้ให้ศษิ ย”์ ไดเ้ รียนในสภาพท่ใี กลเ้ คียงชีวิตจริงที่สุด ครูเพอื่ ศษิ ยต์ อ้ งเปล่ียนเป้าหมายการเรียนรู้ของศษิ ยจ์ ากเนน้ เรียนวชิ าเพื่อไดค้ วามรู้ ใหเ้ ลยไปสู่การพฒั นาทกั ษะ
ท่ีสาคญั ต่อชีวติ ในยคุ ใหม่ ย้าว่าการเรียนรู้ยคุ ใหม่ ตอ้ งเรียนใหเ้ กิดทกั ษะเพอื่ การดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21ซ่ึงหนา้ ที่ของครูเพอ่ื ศษิ ยจ์ ึงตอ้ งเปล่ียนจากเน้น “สอน” หรือสงั่ สอนไปทาหน้าท่ีจุดประกายความสนใจใฝ่รู้(inspire) แกศ่ ษิ ย์ ใหศ้ ิษยไ์ ดเ้ รียนจากการลงมือปฏิบตั ิ (learning by doing) และศิษยง์ อกงามทกั ษะเพื่อการดารงชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 น้ี จากการลงมือปฏบิ ตั ิของตนเป็นทีมร่วมกบั เพือ่ นนกั เรียน เนน้ การงอกงามทกั ษะในการเรียนรู้ และคน้ ควา้ หาความรู้มากกว่าตวั ความรู้ ครูเพื่อศษิ ยต์ อ้ งเปลีย่ นแนวทางการทางานจากทาโดดเดี่ยว คนเดียว เป็นทางานและเรียนรู้จากการทาหนา้ ท่ีครูเป็นทีม กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี21 มี 3 ลกั ษณะ คอื1. กระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏบิ ตั ิ2. กระบวนการเรียนรู้ผา่ นการสื่อสารอยา่ งสร้างสรรค์3. การเรียนรู้แบบข้นั บนั ได(IS)1.กระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบตั ิ เป็นแนวคดิ หรือความเชื่อท่ีสนบั สนุนใหค้ นเราปฏบิ ตั ิส่ิงต่างๆดว้ ยตนเองตามความสนใจ ตามความถนดั และศกั ยภาพ ดว้ ยการศกึ ษา คน้ ควา้ ฝึกปฏบิ ตั ิ ฝึกทกั ษะจนถงึ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เพราะเช่ือวา่ หากคนเราไดก้ ระทาจะทาใหเ้ กิดความเชื่อมนั่ เป็นแรงจูงใจให้เกิดการใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ผเู้ รียนจะสนุกสนานท่ีจะสืบคน้ หาความรู้ต่อไป มีความสุขท่ีจะเรียน มีลกั ษณะดงั น้ี 1.1 การเรียนรู้ผา่ นการทางาน (Work-based Learning) การเรียนรู้แบบน้ีเป็นการจดั การเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผเู้ รียนให้เกิดพฒั นาการทุกดา้ น ไม่วา่ จะเป็นการเรียนรู้เน้ือหาสาระ การฝึกปฏบิ ตั ิจริง ฝึกฝนทกั ษะทางสงั คม ทกั ษะชีวติ ทกั ษะวิชาชีพการพฒั นาทกั ษะการคดิ ข้นั สูง โดยสถาบนั การศึกษามกั ร่วมมือกบัแหล่งงานในชุมชน รบั ผดิ ชอบการจดั การเรียนการสอนร่วมกนั ต้งั แต่การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ การกาหนดเน้ือหากิจกรรม และวิธีการประเมิน
1.2 การเรียนรู้ผา่ นโครงงาน (Project-based Learning) การเรียนรู้ดว้ ยโครงงานเป็นการจดั การเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั รูปแบบหน่ึง ท่ีเป็นการใหผ้ เู้ รียนไดล้ งมือปฏบิ ตั ิจริงในลกั ษณะของการศกึ ษาสารวจ คน้ ควา้ ทดลอง ประดิษฐค์ ดิ คน้ โดยครูเปลีย่ นบทบาทจากการเป็นผใู้ ห้ความรู้(teacher)เป็นผอู้ านวยความสะดวก (facilitator) หรือผใู้ หค้ าแนะนา (guide) ทาหนา้ ท่ีออกแบบกระบวนการเรียนรู้ใหผ้ เู้ รียนทางานเป็นทีม กระตุน้ แนะนา และให้คาปรึกษา เพอื่ ใหโ้ ครงการสาเร็จลลุ ่วง ประโยชนข์ องการเรียนรู้ดว้ ยโครงงาน ส่ิงที่ผเู้ รียนไดร้ ับจากการเรียนรู้ดว้ ย PBL จึงมิใช่ตวั ความรู้ (knowledge) หรือวธิ ีการหาความรู้(searching) แต่เป็นทกั ษะการเรียนรู้และนวตั กรรม (learning and innovation skills) ทกั ษะชีวิตและประกอบอาชีพ (Life and Career skills) ทกั ษะดา้ นขอ้ มูลขา่ วสาร การสื่อสารและเทคโนโลยี (Information Media andTechnology Skills) การออกแบบโครงงานท่ีดีจะกระตุน้ ใหเ้ กดิ การคน้ ควา้ อยา่ งกระตือรือร้นและผเู้ รียนจะไดฝ้ ึกการใชท้ กั ษะการคิดเชิงวิพากษแ์ ละแกป้ ัญหา (critical thinking & problem solving) ทกั ษะการส่ือสาร(communicating) และทกั ษะการสร้างความร่วมมือ(collaboration)ประโยชนท์ ี่ไดส้ าหรบั ครูท่ีนอกจากจะเป็นการพฒั นาคณุ ภาพดา้ นวชิ าชีพแลว้ ยงั ช่วยใหเ้ กดิ การทางานแบบร่วมมือกบั เพือ่ นครูดว้ ยกนั รวมท้งัโอกาสท่ีจะไดส้ ร้างสมั พนั ธท์ ี่ดีกบั นกั เรียนดว้ ย ข้นั ตอนที่สาคญั ในการจดั การเรียนรู้แบบโครงงาน STEP 1 การเตรียมความพร้อม ครูเตรียมมอบหมายโครงงานโดยระบุในแผนการสอน ในช้นัเรียนครูอาจกาหนดขอบเขตของโครงงานอยา่ งกวา้ งๆ ใหส้ อดคลอ้ งกบั รายวชิ า หรือความถนดั ของนกั เรียนและเตรียมแหลง่ เรียนรู้ ขอ้ มูลตวั อยา่ ง เพอ่ื เป็นแนวทางให้นกั เรียนไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เพิม่ เติม สามารถใช้เวบ็ ไซต์ หรือโปรแกรม moodle ในการ update ขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ และการกาหนดนดั หมายต่างๆเกี่ยวกบัการดาเนินโครงการได้ STEP 2 การคดิ และเลอื กหวั ขอ้ ให้นกั เรียนเป็นผสู้ ร้างทางเลือกในการออกแบบโครงงานเองเพอื่ เปิ ดโอกาสให้รู้จกั การคน้ ควา้ และสร้างสรรคค์ วามรู้เชิงนวตั กรรม ครูอาจใหผ้ เู้ รียนทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งก่อน เพ่อื เป็นแนวทางในการเลอื กหวั ขอ้ การทางานเป็นทีม กระตุน้ ให้เกิด brain storm จะทาให้เกดิ ทกั ษะ ทกั ษะการคิดเชิงวพิ ากษ์ ทกั ษะการส่ือสาร และทกั ษะการสร้างความร่วมมือ STEP 3 การเขียนเคา้ โครง การเขียนเคา้ โครงของโครงงาน เป็นการสร้าง mind map แสดงแนวคิด แผน และข้นั ตอนการทาโครงงาน เพื่อให้ผเู้ ก่ียวขอ้ งมองเห็นภาระงาน บทบาท และระยะเวลาในการดาเนินงาน ทาใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิโครงงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมากข้นึ STEP 4 การปฏิบตั ิโครงงาน นกั เรียนลงมือปฏิบตั ิตามแผนท่ีวางไวใ้ นเคา้ โครงของโครงงาน ถา้มีการวางเคา้ โครงเอาไวแ้ ลว้ นกั เรียนจะรู้ไดเ้ องวา่ จะตอ้ งทาอะไรในข้นั ตอนต่อไป โดยไม่ตอ้ งรอถามครู ในระหว่างการดาเนินการครูผสู้ อนอาจมีการให้คาปรึกษาอยา่ งใกลช้ ิดหรือร่วมแกป้ ัญหาไปพร้อมๆกบั นกั เรียน
STEP 5 การนาเสนอโครงงาน นกั เรียนสรุปรายงานผล โดยการเขยี นรายงาน หรือการนาเสนอในรูปแบบอน่ื ๆเช่น แผน่ พบั โปสเตอร์จดั นิทรรศการ รายงานหนา้ ช้นั ส่งงานทางเวบ็ ไซตห์ รืออเี มล ถา้ มีการประกวดหรือแข่งขนั ดว้ ยจะทาใหน้ กั เรียนเกิดความกระตือรือร้นมากข้ึน STEP 6 การประเมินผลโครงงาน การประเมินโครงงานควรมีการประเมินผล นางสาวกาญจนาพร โพธ์ิขาว 58200061 นางสาวจุฑามาศ เอี่ยมคาจนั ทร์ 58200229 นางสาวเกสรา อ่องสุข 58200140 นางสาวกนกวรรณ ทองคา 58200016 นางสาวสุนิตรา คงทบั 58201589
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: