[สกEำ�อ-าหCรอoรคmับน้าmชไeุมลrcชนeน]์
คำ�นำ� หนังสือองค์ความรู้ เรื่อง การค้าออนไลน์ส�ำหรับชุมชน (E-Commerce) ผจู้ ดั ทำ� ไดส้ รปุ เนอื้ หา เรยี บเรยี งจากงานบรกิ ารวชิ าการสชู่ มุ ชน เพอ่ื ใหผ้ อู้ า่ นไดเ้ ขา้ ใจในเรอื่ ง ของการขายสนิ คา้ ออนไลน์ ใหแ้ กร่ า้ นคา้ ชมุ ชนรเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และการใชป้ ระโยชน์ อยา่ งแทจ้ รงิ ในการส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การคา้ ออนไลนร์ ะดบั ชมุ ชน เพ่อื น�ำเสนอสินคา้ และการ บริการวิชาการของชุมชนในรูปแบบและเนื้อหาท่ีน่าสนใจ แล ะได้รวบรวม เร่ืองราวท่ีม ีการ เชอ่ื มโยงกบั ภูมปิ ัญญา เช่อื มโยงกระบวนการตา่ งๆ ของการค้าขายออนไลนแ์ บบครบวงจร รวมทั้งการผลักดันให้เกิดการจ�ำหน่ายสินค้าและบริการของชุมชนสู่ตลาด ภายนอกได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และมีมาตรฐาน “เม่ือเราไดเ้ รยี นรกู้ ารค้าออนไลนแ์ ล้ว จะ รู้สกึ ได้ วา่ โลกภายนอกไมไ่ กลจากเรา และเราสามารถใช้ชอ่ งทางออนไลน์เขา้ ถงึ ทุกคนได้ ทกุ ท่ี ทกุ เวลา ท้งั ในประเทศ และต่างประเทศ” นบั ไดว้ า่ เป็นอกี กา้ วหนงึ่ ในการวางรากฐาน ของเศรษฐกิจดิจิทัลในระดับชุมชน เพ่ือในไปสู่ความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน ก้าวน�ำไปสู่การ พัฒนาอย่างม่นั คง มัง่ คั่ง และยัง่ ยนื
สารบัญ บทนำ� 4 เตรียมความพร้อม 5 1. ผลติ ภณั ฑ์/บริการ สู่ร้านค้าออนไลน์ หลักการพิจารณาผลิตภณั ฑ์ 8 (2O. nเปlinิดeร้าSนhคo้าpอ)อนไลน์ 10หลักการพจิ ารณาสนิ ค้าท่จี บั ตอ้ งไม่ได ้ 17 ความรทู้ ั่วไปและทฤษฎเี บ้อื งตน้ ประเภทบรรจภุ ัณฑ์ 11 เกย่ี วกบั ธุรกิจออนไลน์ การต้ังราคา 14 20 การเตรียมตัวเบอื้ งตน้ ในการทำ�ธุรกิจออนไลน์ 16หลกั การออกแบบตราสินค้า 21 พื้นฐานท่จี ำ�เปน็ สำ�หรับ เปดิ ร้านคา้ ออนไลน์ 22 การเลือกระบบรา้ นค้าออนไลน์ บทสรปุ 37 27 การเตรียมขอ้ มลู ร้านค้า 31 วิธกี ารตั้งค่ารา้ นค้าออนไลน์ การจดทะเบียนพาณชิ ย์ 34 อเิ ลก็ ทรอนิกสข์ อง
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน4 บทน�ำ การขับเคลือ่ นการปฏิรูปประเทศไทยด้วย นวัตกรรมดิจทิ ลั หรอื Digital Thailand เปน็ การเพม่ิ ขดี ความสามารถทางเศรษฐกจิ และความเทา่ เทยี มทางสงั คม และหาโอกาส สง่ เสรมิ ให้เกิดเทคโนโลยใี หม่ วธิ กี ารใหม่ กระบวนการใหม่ สนิ ค้าใหม่ รปู แบบการ บริการใหม่ โมเดลทางธุรกิจใหม่ หรือ การก้าวเข้าสู่ กลุ่มประเทศที่ขับเคล่ือนด้วย นวตั กรรม(Innovation-DrivenEconomy) โดยในการขบั เคลอื่ นไปสู่ “รา้ นคา้ ออนไลน”์ ภายใตด้ ิจิทัลชมุ ชน เพอ่ื ยกระดบั สินค้าชมุ ชน เพ่อื ใหค้ นในชุมชนน�ำสินค้าออกมาขาย สร้างรายได้เพ่มิ และมีชอ่ งทางการแข่งขนั กับตลาดได้ โดยปจั จบุ นั น้ีการซือ้ ขายสินคา้ ไมไ่ ดจ้ ำ� กดั วา่ จะตอ้ งมหี นา้ รา้ นเพอื่ ขายสนิ คา้ เพยี งอยา่ งเดยี วเทา่ นน้ั ผปู้ ระกอบการชมุ ชน สามารถขายสินคา้ โดย “การคา้ ออนไลน์ (E-commerce) ส�ำหรับชุมชน” ซ่งึ ร้านค้า ออนไลน์เปรยี บเสมือนผปู้ ระกอบการชมุ ชนเปดิ รา้ นคา้ จดั วางสนิ ค้า ในรา้ นของตนเอง ใหเ้ กดิ ความสวยงาม ดงึ ดูดลูกคา้ และเชญิ ชวนใหซ้ ื้อ ซ่งึ เปน็ การใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั เข้ามาช่วยพัฒนาให้เกดิ เป็นรูปแบบร้านคา้ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ฉะนั้น ชุมชน หรือผู้ประกอบการรายใหม ่ที่ก�ำลังสนใจเปิด ร้านค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำหรับชุมชน เพื่อเป็นการสร้างโอกาสทางธุรกิจของตนเองท�ำให้ สนิ คา้ สามารถสง่ ขายใหก้ บั กลมุ่ ผซู้ อ้ื สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ตนเองไดม้ ากขนึ้ สามารถตดิ ตาม เน้ือหาในหน้าถัดไป เพ่ือให้เข้าใจกระบวนการเปล่ียนแปลงร้านค้าของตนเอง ให้เป็น ร้านค้าออนไลน์ที่ประสบความส�ำเร็จ พร้อมกลยุทธ์การบริหารจัดการร้านค้าและการ ตลาดดจิ ิทัล
“ร้ากนารคเตรา้ ียอมคอวนามไพลร้อนม”์สู่ 5 ร้านค้าอิเลก็ ทรอนิกส์ หรอื ทเี่ รยี กว่า “รา้ นค้าออนไลน์” เป็นการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เข้ามาชว่ ยพฒั นาให้ เกิดเป็นรูปแบบร้านคา้ ออนไลน์ ดังนนั้ ลองมาพจิ ารณาเปรียบเทียบร้านคา้ กับร้านคา้ ออนไลน์ เพ่อื ประกอบ การตัดสนิ ใจในการเปดิ รา้ นคา้ ออนไลน์ ดังนน้ั ผูป้ ระกอบการรายใหม่ทกี่ �ำลงั สนใจจะเข้าสู่ การท�ำพาณชิ ยอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-Commerce) ดว้ ย การเปดิ ร้านค้าออนไลน์ หากพิจารณาขอ้ ดี ขอ้ เสยี ข้างตน้ แลว้ มองเห็นว่าเป็นโอกาสทางธรุ กิจของตนเองที่ จะเปลย่ี นแปลงรา้ นคา้ ของตนเอง ใหเ้ ปน็ รา้ นคา้ ออนไลนท์ ปี่ ระสบความสำ� เรจ็ ได้ เพอ่ื ใหร้ า้ นคา้ ชมุ ชนสามารถ บริหารจดั การสินค้า สตอ๊ กสนิ ค้า การจำ� หนา่ ยสินค้า การลงทะเบยี นสมาชิก การสั่งซ้ือ บริการจัดการขาย สินคา้ ส่งเสริมการขาย และการจดั ส่งสินคา้ ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ชว่ ยลดภาระและลดตน้ ทนุ ในการจดั เก็บสตอ๊ กสินค้าของรา้ นคา้ ชุมชนไดอ้ ีกทาง แหล่งท่มี า : https://blog.selsuki.co.th/ซ้อื ของออนไลน์ การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำหรับชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน6 รา้ นค้าออนไลน์ (Online Shop) ข้อดี 1) สามารถขายสนิ คา้ ได้ท้งั ภายในและต่างประเทศ 2) ค่าใช้จา่ ยหรอื ตน้ ทุนในการเปิดร้านต�่ำ 3) ระบบออนไลน์ร้านคา้ จะชว่ ยบริหารจดั การไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมพี นกั งานจำ� นวนมาก 4) รองรบั การสงั่ ซ้ือสินค้าไดต้ ลอด 24 ชัว่ โมง ภายใตก้ ารท�ำงานของระบบร้านคา้ ออนไลน์ ขอ้ เสยี 1) ไม่เหมาะสมกับการขายสนิ ค้ากลุ่มลกู คา้ ทไ่ี มใ่ ชง้ านระบบออนไลน์ รา้ นค้าออฟไลน์ (Offline Shop) ขอ้ ดี 1) ลูกคา้ สามารถจับต้องสินค้าได้ 2) มีลูกคา้ ประจำ� เพราะมแี หลง่ ท่ตี ัง้ ทถ่ี าวร 3) ลูกค้าได้เห็นสินคา้ จรงิ จงึ งา่ ยแก่การตัดสนิ ใจ 4) สามารถรไู้ ด้ว่าสินค้าทเ่ี ราขายอยปู่ จั จุบันมคี นสนใจมากน้อยเพียงใด ขอ้ เสยี 1) มีค่าใช้จ่ายในการเปิดร้านค้าสูงจากการตกแต่งร้านค้า คา่ สถานท่ี และ สาธารณปู โภค 2) ต้องมีพนกั งานขายประจำ�ร้านคา้ อาจตอ้ งเสยี เวลานัง่ เฝา้ ร้าน ในช่วงเวลา ที่ไม่มลี ูกค้า 3) ขายสินคา้ ไดเ้ ฉพาะเวลาทำ�การเท่านน้ั 4) สถานการณ์ต่างๆ นนั้ ค่อนขา้ งมีผล เช่น สถานการณ์ตา่ งๆ ทาง การเมือง สภาวะคนไม่มีเงิน คนไม่อยากซือ้ ของเปน็ ตน้
ขน้ั ตอน 5 “สู่การเปน็ ร้านคา้ ออนไลน”์ 1. ผลติ ภณั ฑ/์ บริการ Product/Servide 2. เปิดร้านค้าออนไลน์ Online Shop 3. สง่ เสริมการขาย Online Marketing 4. บรหิ ารการขาย Shop Management 5. บรรจุและจดั ส่ง Packing & Shipping 5 ข้นั ตอนสู่การเป็นรา้ นค้าออนไลน์ แหล่งท่มี า: ศนู ย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน http://thaitelecentre.org
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน8 ขนั้ ตอนท่ี 1 ผลติ ภัณฑ์ / บริการ (Product / Service) ผูป้ ระกอบการชุมชนจะต้องพิจารณาผลิตภณั ฑ/์ บรกิ าร ที่ตนเองนั้นมอี ยู่ว่าเป็นสินคา้ ประเภทใด เหมาะ สมกบั ผซู้ อ้ื กลุม่ ใด บรรจภุ ณั ฑ์มลี ักษณะเปน็ อย่างไร เพือ่ สามารถก�ำหนดแนวทางการขายของตนเองได้ อกี ทง้ั สงิ่ สำ� คญั ของผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ าร คอื การตง้ั ราคาทเี่ หมาะสมกบั สนิ คา้ และผซู้ อ้ื เพอ่ื สรา้ งโอกาสทางการขาย ใหม้ ากยิ่งข้ึนได้ โดยพจิ ารณาว่าในพนื้ ท่ีชุมชนมสี ินคา้ หรอื บริหารอะไรอยู่บ้าง 1.1 หลกั การพจิ ารณาผลติ ภณั ฑ์ สินค้าอปุ โภคบริโภค (Consumer product) เป็นสนิ ค้าที่ใช้รบั ประทาน หรือส�ำหรบั ร่างกาย โดยจำ� แนก ออกเปน็ กลมุ่ ดงั นี้ สนิ คา้ สะดวกซอื้ สนิ คา้ เลอื กซอื้ สินคา้ เจาะจงซอื้ และสนิ คา้ ไมแ่ สวงซอ้ื ซ่ึงแสดงคำ� อธบิ าย ความถ่ีของโอกาสในการซื้อของลกู คา้ และระดบั ราคาทีเ่ หมาะสม 1. สินค้าสะดวกซื้อ หมายถงึ สินคา้ หรือบริการ ที่ผบู้ รโิ ภคจะตอ้ งซอ้ื บ่อยครั้ง โดยเปน็ สนิ ค้าที่ใช้ ในชวี ติ ประจ�ำวันทกุ วนั เชน่ ผัก ผลไม้ อาหารแปรรปู สบู่ ยาสระผม ยาสีฟนั ฯลฯ โดยมคี วามถ่ีของการซอื้ สินค้าเป็นจำ� นวนมากต่อวนั และระดบั ราคาทข่ี ายไดอ้ ยู่ในระดบั ราคา ต�ำ่ -ปานกลาง แหลง่ ท่มี า : https://www.google.co.th/search?q=สนิ ค้าสะดวกซอ้ื
2. สินคา้ เลอื กซอ้ื หมายถงึ สินค้า หรอื บริการ ท่ผี ้บู ริโภคตอ้ งมีการเปรียบเทยี บคุณสมบัติด้านต่าง 9 ๆ จากผ้ขู ายหลายรายกอ่ นซื้อ เชน่ เคร่อื งใช้ไฟฟ้า อาหารเสรมิ ผลิตภณั ฑบ์ ำ� รุงรา่ งกาย ฯลฯ โดยมีความถี่ ของการซอื้ สนิ คา้ ระดบั ปานกลาง และระดับราคาท่ีขายได้อยูใ่ นระดบั ราคา ปานกลาง-สูง แหล่งที่มา : https://www.lazada.co.th/ 3. สินค้าเจาะจงซื้อ เป็นสินค้า หรือบริการ ที่มีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ หรือมีตราท่ีมีชื่อเสียง ซง่ึ เปน็ เหตใุ หผ้ ซู้ อ้ื เตม็ ใจทจี่ ะซอื้ ผลติ ภณั ฑน์ นั้ เชน่ โทรศพั ทส์ มารท์ โฟน สนิ คา้ แบรนดเ์ นม สนิ คา้ ประจำ� ตำ� บล เคร่ืองนุง่ ห่มที่มเี อกลักษณ์ โดยมคี วามถี่ของการซอ้ื สินค้าระดับปานกลาง และระดับราคาที่ขายไดอ้ ยใู่ นระดบั ราคา ปานกลาง-สงู แหล่งท่ีมา : https://www.lazada.co.th/ แหลง่ ทม่ี า : http://www.thaitambon.com/product การคา้ ออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำหรบั ชุมชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน10 4. สนิ คา้ ไมแ่ สวงซอ้ื เป็นสินคา้ หรอื บรกิ าร ที่ผ้บู ริโภคอาจรจู้ ักหรอื ไม่รจู้ ักก็ได้ แตไ่ มเ่ คยคดิ ท่ีจะ ซื้อมลี ักษณะ 2 ประการ คือ 1. เปน็ สินค้าใหม่ทีผ่ ูบ้ ริโภคยังไมร่ ้จู ัก 2. สินคา้ ซงึ่ ผูบ้ ริโภคไม่มีความตอ้ งการ โดยสนิ ค้าประเภทนจี้ ะมลี ักษณะเฉพาะ มีความถขี่ องการซอ้ื สนิ คา้ ระดับต่ำ� และระดบั ราคาท่ีขายไดอ้ ยูใ่ นระดับราคาเฉพาะตวั เชน่ ประกนั ชวี ติ ดงั นน้ั ผปู้ ระกอบการชมุ ชนจะตอ้ งพจิ ารณาสนิ คา้ วา่ จดั อยใู่ นกลมุ่ ใดเพอ่ื ประเมนิ ระดบั ความถข่ี อง การซ ้ือสนิ ค้า1แ.2ละหกลารักตกง้ั ราารคพาทจิ เี่ าหรมณาะาสมสกนิ ับคส้าินจคับา้ นต้ันอ้ ๆงไมได่ไ้ด (บรกิ าร) สนิ ค้าจบั ตอ้ งไม่ได้ โดยเปน็ รปู แบบการใหบ้ ริการ ถือเปน็ สนิ ค้าประเภทหนงึ่ ทส่ี ามารถขายให้กบั ผบู้ ริโภค ได้ โดยให้บริการในรูปแบบต่างๆ เช่น โฮมสเตย์ ล่องเรือ ท่องเที่ยววถิ ไี ทย และนวดแผนไทย ฯลฯ ตวั อย่าง เชน่ คณุ ลุงสมพงษ์ มีอาชีพขบั รถใหบ้ รกิ ารรถตุก๊ ตก๊ และรถแดงนำ� เทีย่ วรอบเมอื งจงั หวัดเชยี งใหม โดย คุณลุงสามารถส่ือสารภาษาอังกฤษได้ คุณลุงจึงมีแนวคิดให้บริการรถตุ๊กตุ๊กและรถแดงท่องเท่ียวกับนักท่อง เทีย่ วต่างประเทศ โดยลกั ษณะการขายเปน็ การใหบ้ ริการท่องเทยี่ วแบบครง่ึ วนั และเตม็ วัน โดยมีการนำ� เสนอ โปรแกรมท่องเที่ยว ที่คุณลุงสมพงษ์สามารถขับไปส่งและจอดรอได้ ถ้าหากมีลักษณะการให้บริการที่เป็น แบบแผน ตามแนวคิดของคณุ ลงุ สมพงษ์ สามารถนำ� โปรแกรมท่องเท่ยี วโดยรถตุก๊ ตุ๊ก รถแดงใหบ้ รกิ ารผา่ น ระบบออนไลน์ เพ่ือให้นักท่องเท่ียวจองหรือซ้ือใช้บริการท่องเท่ียวได้ เป็นลักษณะของสินค้าจับต้องไม่ได้ (บรกิ าร) รปู แบบหนงึ่ แหล่งท่ีมา : https://thai.tourismthailand.org/home
1.3 ประเภทบรรจุภัณฑ์ 11 บรรจภุ ณั ฑ์ (Package) หมายถึง วสั ดใุ ด ๆ ทีน่ �ำมาใช้ ส�ำหรับบรรจุ ภัณฑ์ หอ่ ห้มุ ปอ้ งกัน ลำ� เลยี ง จดั สง่ และนำ� เสนอสินค้า หนว่ ยรปู แบบของ วตั ถภุ ายนอกของผลติ ภณั ฑ์ ทที่ ำ� หนา้ ทป่ี กปอ้ งคมุ้ ครอง หรอื หอ่ หมุ้ ผลติ ภณั ฑ์ ภายในไม่ให้เกิดความเสียหาย สะดวกในการขนส่งและบรรจุภัณฑ์นั้นจะ ต้องปกป้องตัวสินค้าให้อยู่ในสภาพที่ดีจากแหล่งผลิตจนถึงมือลูกค้าโดยไม่ ให้ได้รบั ความเสียหาย ทัง้ นีบ้ รรจภุ ณั ฑ์นน้ั ๆ จะต้องมีตน้ ทุนของการผลิตท่ี ไม่สงู จนเกนิ ไป (มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2561) การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ (Packaging Design) หมายถึง การกำ� หนด รูปแบบและโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ให้สัมพันธ์กับหน้าท่ีใช้สอยของ ผลิตภัณฑ์ เพ่ือการคุ้มครองป้องกันไม่ให้สินค้าเสียหายและเพิ่มคุณค่าด้าน จิตวิทยาต่อผู้บริโภค โดยอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ในการสร้างสรรค์ ( สุก ฤตา หริ ณั ยชวลิต, 2552 ) การบรรจสุ นิ คา้ ของผปู้ ระกอบการชมุ ชนตอ้ งพจิ ารณารปู แบบการใชง้ าน ของบรรจภุ ณั ฑ์ เชน่ ชว่ ยเกบ็ รกั ษาสนิ คา้ ทบ่ี รรจอุ ยภู่ ายใน ชว่ ยใหร้ บั ประทาน ง่าย ชว่ ยปกปอ้ งสินค้า ช่วยในการขนส่งส่งเสรมิ ความเป็นธรรมชาติ เพอ่ื ให้ เกดิ การจดจำ� ในรูปลักษณ์เฉพาะ เพ่ิมความหรหู รา ท�ำให้เหน็ สนิ คา้ ภายใน ชดั เจน รวมถงึ สามารถนำ� ไปใชป้ ระโยชนต์ อ่ ได้ โดยการเลอื กบรรจภุ ณั ฑน์ น้ั จะมีรปู แบบการห่อหุ้มสนิ ค้าดว้ ยกระบวนการวิธยี อ่ ยๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย เป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีใช้ห่อหุ้มและสัมผัสกับ ผลติ ภณั ฑโ์ ดยตรง โดยทำ� หนา้ ทป่ี กปอ้ งสนิ คา้ และความชน้ื จากอากาศทที่ ำ� ให้ ผลติ ภณั ฑเ์ สยี คณุ ภาพ โดยมรี ปู ลกั ษณเ์ ปน็ ลกั ษณะตา่ งๆ เชน่ ขวด กระปอ๋ ง หลอด ถุง กลอ่ ง เปน็ ต้น ตัวอย่าง บรรจภุ ณั ฑ์เฉพาะหน่วยทบี่ รรจุสนิ คา้ โดยตรง การคา้ ออนไลน์ (E-Commerce) สำ� หรบั ชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน12 2. บรรจภุ ณั ฑช์ น้ั ใน เปน็ บรรจภุ ณั ฑท์ ห่ี อ่ หมุ้ สนิ คา้ หนว่ ยเลก็ ทสี่ ดุ ไมใ่ หไ้ ดร้ บั แรง กระแทกหรอื ความชน้ื จากภายนอก บรรจภุ ณั ฑช์ น้ั ทสี่ องมหี นา้ ทร่ี วบรวมบรรจภุ ณั ฑช์ น้ั แรก ไว้ดว้ ยกัน หรือเป็นชุดในการจำ� หน่ายรวมตั้งแต่ 2 – 24 ช้ินขน้ึ ไป โดยมวี ัตถุประสงค์ขั้น แรกคือ ปอ้ งกนั รักษาสินคา้ จากน�้ำความชื้น ความรอ้ น แสงแดด แรงกระทบกระเทอื น และอำ� นวยความสะดวกแกก่ ารขายปลกี เพอื่ ความสะดวก ในการปอ้ งกนั และขนสง่ จงึ ตอ้ ง ทำ� การออกแบบใหส้ วยงามดงึ ดูดใจผู้บรโิ ภค เชน่ กล่องบรรจุเครอ่ื งดมื่ กระป๋อง ชนิด 6 กระป๋อง กล่องกาแฟชนดิ 50 ซอง หรอื ขนมทต่ี ้องรกั ษาความช้นื 3. บรรจุภัณฑช์ ั้นนอกสดุ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นหนว่ ยรวมขนาดใหญ่ ท�ำหน้าทีใ่ น การปอ้ งกนั ผลติ ภณั ฑ์ การขนถา่ ยสนิ คา้ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและรวดเรว็ ในระหวา่ งการขนสง่ ลกั ษณะของบรรจุภณั ฑ์น้ี เช่น หีบ ไมล้ ัง กล่องกระดาษขนาดใหญ่ทีบ่ รรจสุ นิ คา้ ไวภ้ ายใน บะหมกี่ ง่ึ สำ� เร็จรปู ทม่ี ีบรรจุภัณฑ์ชั้นใน นวัตกรรมของบรรจุภัณฑ์ บรรจภุ ัณฑ์สำ� หรบั การปกป้องผลิตภณั ฑ์ และ บรรจุภัณฑ์สำ� หรบั การสอื่ สารที่เป็นธรรมชาติ
13 บรรจภุ ัณฑ์ท่ีมโี ครงสร้างเอกลักษณเ์ ฉพาะตวั ช่วยในการจดจ�ำ บรรจุภัณฑ์ท่ีมีองค์ประกอบเปน็ โลหะช่วยใหม้ ีคณุ ภาพ บรรจุภณั ฑท์ ี่มรี ูปภาพองคป์ ระกอบหลกั เป็นรูปหลัก บรรจุภณั ฑ์ทส่ี ง่ เสรมิ ความสนุก ตลกขบขัน บรรจุภณั ฑท์ ชี่ ่วยใหเ้ ห็นผลิตภณั ฑ์โดยตรง การค้าออนไลน์ (E-Commerce) สำ� หรบั ชุมชน
14 การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน 1.4 การต้งั ราคา ราคา (Price) หมายถึง จำ� นวนเงนิ ท่บี ุคคลจ่ายขึ้นเพือ่ ซอ้ื สนิ คา้ หรือบรกิ าร ซึ่งแสดงเป็นมูลคา่ ที่ผูบ้ รโิ ภค จา่ ยเพอื่ แลกเปลย่ี นกบั ผลประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากสนิ คา้ หรอื บรกิ าร (สำ� นกั งานพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ, 2562) ลกั ษณะของราคา คอื (1) ราคาเปน็ มลู คา่ ของสินค้าหรือบรกิ าร (2) ราคาเปน็ จำ� นวนเงนิ และสงิ่ อน่ื ทีจ่ ำ� เปน็ ต้องใช้เพ่ือให้ไดม้ าซึง่ สินค้า/บริการ (3) มลู ค่า (Value) หมายถึง การรับรู้จากลกู คา้ จากการเปรียบเทียบระหวา่ งคุณภาพของสนิ ค้า หรอื บรกิ ารกบั ราคาสนิ คา้ นนั้ โดยเปน็ การวดั ในเชงิ ปรมิ าณของมลู คา่ ผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื จงู ใจใหผ้ ลติ ภณั ฑเ์ กดิ การ แลกเปล่ียน (4) อรรถประโยชน์ (Utility) หมายถงึ คุณสมบัติของสงิ่ ใดสง่ิ หนงึ่ ทสี่ ามารถสนองความต้องการ ของมนุษย์ให้เกิดความพงึ พอใจ การตั้งราคาจะเกิดจาก 3 วตั ถุประสงค์หลกั คือ 1. การตง้ั ราคาโดยม่งุ ก�ำไร 2. การต้ังราคาโดยมงุ่ ยอดขาย 3. การตง้ั ราคาเพ่อื วตั ถุประสงค์อน่ื 1. การตง้ั ราคาโดยมงุ่ กำ� ไร กำ� ไรเกดิ จากผลตา่ งระหวา่ งรายไดจ้ ากการขาย หกั ลบดว้ ยตน้ ทนุ สนิ คา้ และค่าใชจ้ ่ายทั้งสน้ิ ดังนัน้ ผปู้ ระกอบการสามารถต้งั ราคา โดยม่งุ ทก่ี �ำไร การตง้ั ราคาเพื่อให้ได้รับก�ำไรตาม เปา้ หมาย โดยพจิ ารณาด�ำเนินการกำ� หนดก�ำไรทีต่ อ้ งการไดจ้ ากผลติ ภัณฑ/์ บริการน้ันๆ เช่น คณุ ยายบวั เร็ว ตอ้ งการขายมะม่วงแช่อ่มิ ได้ก�ำไรขวดละ 25 บาท ดงั นน้ั คณุ ยายบวั เร็ว จะตอ้ งน�ำต้นทุนและค่าใช้จา่ ยตอ่ สินค้า 1 ช้นิ มาบวกรวมกับผลกำ� ไรที่ต้องการตามเปา้ หมาย จะปรากฏเป็นราคาจ�ำหนา่ ย ดงั สมการ าย ยกตวั อยา่ ง เชน่ คุณยายบวั เร็วขายมะม่วงแช่อ่มิ # ตน้ ทุน คอื มะมว่ ง และวัตถดุ บิ แชอ่ มิ่ 60 บาท # คา่ ใช้จ่าย คอื คา่ แรง ค่าแก๊ส 20 บาท # ค่าโฆษณา (ทางออนไลน)์ 10 บาท # ก�ำไรทปี่ ระสงค์ 25 บาท ตอ้ งการ กำ� ไร 25 บาท = ราคาขาย 120 บาท ดังนน้ั ต้องขายของราคา 60 + 20 + 15 + 25 = 120 บาท
2. การตง้ั ราคาโดยมงุ่ ยอดขาย เปน็ การตงั้ ราคาทตี่ อ้ งการใหเ้ กดิ ผลตอ่ ยอดขายในรปู จำ� นวนหนว่ ย 15หรือจำ� นวนเงนิ ยอดขายในรูปจ�ำนวนเงินก็คอื รายได้จากการขาย ดังในสมการ [ รายได้จากการขาย = ราคา x ปรมิ าณการขาย ] การตง้ั ราคาโดยมงุ่ ยอดขายทจี่ ะนำ� มาพจิ ารณาในทน่ี มี้ ี2 ประเดน็ คอื การตงั้ ราคาเพอื่ เพม่ิ ยอดขาย และการตั้งราคาเพื่อเพม่ิ ส่วนครองตลาด กรณที ี่ผปู้ ระกอบการขายผลิตภณั ฑ/์ บรกิ ารทม่ี ีลกั ษณะใกลเ้ คยี งกับ ผอู้ นื่ ทำ� ใหเ้ กดิ การแขง่ ขนั จากฐานลกู คา้ กลมุ่ เดยี วกนั ราคาจงึ เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการผลกั ดนั ยอดขายของรา้ นคา้ ได้ เช่น ขายราคาต่ำ� กวา่ คู่แข่ง แตข่ ายไดป้ ริมาณมากกว่าท�ำใหม้ ผี ลกำ� ไรที่ดกี วา่ เป็นตน้ ดงั น้ัน หากคุณยาย บวั เร็วตอ้ งการขายมะม่วงแชอ่ มิ่ ใหไ้ ด้ 500 ขวด จะต้องคำ� นวณดงั ต่อไปนี้ # ราคาขาย 120 บาท # ปริมาณการขาย 300 ขวด # รายได้จากการขาย = 120 x 300 = 36,000 บาท เม่ือคณุ ยายบัวเรว็ ขายได้ 300 ขวด จะได้รบั เงนิ 36,000 บาท (หักตน้ ทุนและค่าใช้จา่ ยขวดละ 90 บาท) จะทำ� ให้ได้รับผลก�ำไรทัง้ ส้นิ 36,000 – (90*300) = 27,000 บาท [ ปริมาณการขาย = รายไดจ้ ากการขาย 27,000 บาท ] 3. การตงั้ ราคาเพ่ือวัตถุประสงคอ์ ่นื การตั้งราคาของธุรกจิ ทมี่ ีเป้าหมายอืน่ ประกอบด้วย 2 กรณี คือ การตั้งราคาเพ่อื เผชญิ การแขง่ ขัน และการตัง้ ราคาเพอื่ รกั ษาเสถียรภาพของราคา เช่น คุณยายบัวเรว็ มี คแู่ ขง่ ทางการตลาด ทำ� ใหค้ ณุ ยายบวั เรว็ ขายสนิ คา้ ไดล้ ดลง จงึ ตอ้ งใชร้ ปู แบบการตง้ั ราคาของธรุ กจิ ทมี่ เี ปา้ หมา ยอน่ื ๆ คอื ทำ� ใหร้ าคาเทยี บเทา่ คแู่ ขง่ ทางการตลาด หรอื ราคาตำ�่ กวา่ เพอื่ ดงึ ดดู ลกู คา้ หากผลติ ภณั ฑม์ คี ณุ ภาพ สูงสามารถใช้เพือ่ น�ำเสนอคณุ ภาพของวตั ถดุ บิ และรสชาติแทนการลดราคาได้ ปัจจัยที่มีอิทธพิ ลตอ่ การตง้ั ราคา 1. ตน้ ทุน (Cost) 2. ลกั ษณะความต้องการซ้อื ในปจั จุบนั (Demand for the Product) 3. เปา้ หมายสว่ นครองตลาดท่ตี ้องการ(Target share of the market) 4. การแขง่ ขนั ในปัจจบุ ันและแนวโน้มในอนาคต (Present and potential competition) 5. สว่ นประสมทางการตลาดอื่นๆ (Other part of the marketing mix) การค้าออนไลน์ (E-Commerce) สำ� หรบั ชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน16 1.5 หลกั การออกแบบตราสินคา้ ตราสินค้า หมายถึง ช่อื คำ� สญั ลกั ษณ์ การออกแบบ หรือสว่ นประสมของส่งิ ดงั กล่าวเพ่อื ระบุ ถงึ สินคา้ และบริการของผู้ขายรายใดรายหนงึ่ หรือกลุม่ ของผขู้ ายเพ่อื แสดงถงึ ลกั ษณะท่ีแตกตา่ งจากคแู่ ขง่ ขัน และสร้างการจดจำ�ผลิตภัณฑ/์ บริการ จากตราสนิ คา้ ได้ โดยลักษณะทดี่ ีของตราสนิ คา้ จะตอ้ งสะท้อนบุคลิก ของสนิ ค้า หรอื ลักษณะของสนิ ค้า (กราฟฟกิ บฟุ เฟต่ ์ จำ�กดั , 2562) ปจั จบุ นั ตราสนิ ค้า หรอื โลโก้ ถอื ไดว้ ่าเป็นส่ิงที่มคี วามสำ�คญั เปน็ อย่างมาก โลโก้จะเป็นตวั ชว่ ย ผลกั ดันให้ธุรกิจมคี วามก้าวหน้า เป็นท่จี ดจำ�ของผู้บรโิ ภค การทำ�โลโก้จะตอ้ งอาศยั จินตาการและความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ หลกั เพ่ือใหเ้ กิดไอเดยี การออกแบบโลโก้ทมี่ ีความแปลกใหม่ โดดเด่นสะดุดตา ไมเ่ หมอื นใคร และเปน็ ที่น่าจดจำ� เปา้ หมายสว่ นใหญ่ของการทำ�โลโก้กเ็ พื่อเป็นการสรา้ งสัญลกั ษณใ์ หก้ บั สนิ ค้าหรอื บริการ ต่าง ๆ เม่ือเหน็ โลโก้ ก็จะทราบไดท้ ันทีว่าคอื อะไรน่นั เอง ดงั นนั้ การออกแบบโลโก้ จงึ จดั ว่ามีความสำ�คญั มากในการทำ�ธุรกจิ เพื่อการสร้างภาพลกั ษณใ์ ห้แบรนด์สินคา้ ดโู ดดเดน่ นา่ สนใจ จดจำ�ได้ง่าย เป็นการชว่ ย สง่ เสรมิ ธรุ กจิ ใหเ้ ติบโตขนึ้ ได้อีกทางหนึ่งดว้ ย ดงั น้นั โลโก้ จึงมไี ว้ใชใ้ นด้านตา่ งๆ ดังน้ี 1) ด้านจติ วิทยา คอื ตอ้ งการใหผ้ ู้บริโภคเกิดความร้สู ึก เกิดความเข้าใจในตวั สนิ คา้ หรือบริษัท ทำ�ใหเ้ กดิ ความเชือ่ มนั่ และยอมรับในตวั สินค้า ผา่ นโลโกน้ ั้น ๆ และที่สำ�คัญคอื สร้างใหผ้ ู้บริโภคเกดิ ความ ร้สู กึ ประทับใจเมอื่ ไดเ้ หน็ โลโก้ 2) ดา้ นพฤติกรรม คือ ต้องการใหผ้ บู้ รโิ ภคเกดิ พฤตกิ รรมตอบสนองต่อการจูงใจผ่านโลโก้ของของ สนิ ค้าหรอื ขององคก์ ร 3) ด้านภาพพจน์ คือ ต้องการใหผ้ บู้ ริโภคเกิดทศั นคตทิ ี่ดีตอ่ สนิ คา้ และบรษิ ัท ผา่ นทางโลโก้ ทำ�ให้ เกิดความนิยมชมชอบตอ่ ผู้ผลติ ตวั อย่าง การออกแบบตราสนิ ค้า แหลง่ ท่มี า : สำ� นักงานพฒั นารฐั บาลดิจทิ ัล (องคก์ ารมหาชน) www.tcdc.or.th/articles/business-industrial
ขั้นตอนท่ี 2 17 เ ปดิ ร้าน ค้าออ นไลน์ ( Online Shop) 2.1 ความรทู้ ่วั ไปและทฤษฎีเบือ้ งตน้ ธรุ กิจออนไลน์ การตลาดออนไลน์ (E-Marketing) คือ การใช้เคร่ืองมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอที ในการท�ำการตลาดผ่านช่องทางออนไลน์ (สำ� นักงานคณะกรรมการดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ,2562). แหล่งข้อมูลขนาดใหญใ่ นการรวบรวมข้อมูลผู้ซ้อื -ผู้ขาย สนิ คา้ และบรกิ าร ธุรกิจ รา้ นค้า จ�ำนวนมาก โดย เปิดให้ผซู้ อื้ -ผขู้ ายเข้ามาท าการติดตอ่ ซื้อ-ขาย แลกเปลยี่ นข้อมลู สินคา้ และบรกิ าร ซึง่ ถอื ว่าเปน็ ชอ่ งทางใน การตดิ ตอ่ ซอ้ื -ขาย รปู แบบใหมท่ ป่ี รบั เปลย่ี นกระบวนการทางการคา้ และตอบสนองตอ่ พฤตกิ รรมของผบู้ รโิ ภค ที่เปลยี่ นแปลงไป ท�ำให้กิจกรรมทางการตลาดกระบวนการซอ้ื -ขาย สะดวก รวดเร็ว และมปี ระสทิ ธิภาพมาก ยงิ่ ขน้ึ รวมถงึ ตอบสนองพฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภค ณ ปจั จบุ นั ดว้ ยการนำ� เสนอสนิ คา้ และบรกิ ารผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ โดยการใช้เว็บไซต์ E-Marketplace เป็นเคร่ืองมือในการท�ำการตลาดนั้นก่อให้เกิดผลดีมากมายแก่ทั้งผู้ซ้ือ และผขู้ าย (รตั นา จรูญศักดส์ิ ิทธิ, 2560) การคา้ ออนไลน์ (E-Commerce) สำ� หรบั ชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน18 -Marketplace Electronic Marketplace ผลดีต่อผูซ้ อื้ • ลดตน้ ทนุ และระยะเวลาในกระบวนการจัดซอื้ • ควบคุมกระบวนการจดั ซอ้ื ไดอ้ ย่างเป็นระบบ มีประสทิ ธิภาพ สะดวก และรวดเรว็ • สรา้ งโอกาสในการติดตอ่ ทางธุรกิจค้นหาผูข้ ายได้หลากหลาย • เปรยี บเทียบขอ้ มูลสินคา้ และบริการ กระทัง่ ขอ้ มูลบริษทั เพ่ือให้ได้ สนิ ค้าและบรกิ ารท่ีตรงตามความตอ้ งการมากทีส่ ุด • สามารถลงประกาศซื้อ เพื่อใหผ้ ้ขู ายตดิ ตอ่ เสนอการขายได้ ผ ลดีต่อผขู้ าย • ลดระยะเวลาในการน�ำสนิ ค้าเขา้ สู่ตลาด โปรโมทสนิ คา้ แหล่งเดยี ว กระจายไปท่ัวโลก • ลดตน้ ทุนในการโฆษณาประชาสัมพนั ธ์สินคา้ และบริการ ลดข้อจำ� กดั ดา้ นองคป์ ระกอบทางธรุ กิจ เช่น พ้นื ที่ร้าน พนักงานขาย เป็นตน้ • ลดตน้ ทุนในการน�ำเสนอการขาย • ระบบสนับสนนุ ท�ำให้การขายสินค้าและบรกิ ารเป็นเรื่องงา่ ย • สร้างโอกาสทางการคา้ ตลอด 24 ชัว่ โมง • ผูซ้ ้ือสามารถเขา้ ถึงข้อมูลสนิ คา้ และบริการได้ท่ัวทกุ มุมโลก พาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์(ElectronicCommerce) หรอื เรยี กวา่ อคี อมเมริ ซ์ (E-Commerce) เปน็ การ ด�ำเนินการซื้อขายสินค้าและบริการด้วยส่ืออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรืออินเทอร์เน็ต พูดให้เข้าใจงา่ ยๆ กค็ ือการซือ้ ขายกันแบบออนไลน์การค้าในรูปแบบ E-Commerce น้ัน จะชว่ ยให้การด�ำเนิน ธรุ กิจเป็นไปไดอ้ ยา่ ง รวดเร็ว ลดต้นทนุ และ กระบวนการด�ำเนินงานใหน้ ้อยลง เพิม่ ประสิทธิภาพในการให้ บริการลกู ค้าได้อย่างทวั่ ถงึ ขยายตลาดได้กวา้ ง สามารถซอื้ ขายได้ทกุ ที่ ทกุ เวลา (วศนิ เพ่มิ ทรพั ย์ และวิโรจน์ ชัยมูล, 2548)
ประโยชน์ ของ E-Commerce ข้อจ�ำกดั ของ E-Commerce 19 1. ประโยชนต์ อ่ บุคคล 1. ข้อจ�ำกัดดา้ นธุรกจิ - ทำ� ธุรกรรมไดต้ ลอด 24 ช่ัวโมง - การลอกเลียนผลิตภัณฑ์ท�ำได้ง่าย เกิดคู่แข่ง - ทราบขอ้ มลู เกยี่ วกบั สนิ คา้ และบรกิ ารไดใ้ นเวลา เข้ามาในตลาดได้ง่าย ดังนั้นต้องมีการสร้างสรรค์ ทร่ี วดเรว็ ผลิตภณั ฑใ์ หม่ - เลือกสนิ ค้าตรงตามความต้องการมากที่สดุ - การจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมท�ำได้ยาก - สามารถติดต่อแลกเปล่ียนความคิดเห็นกับ และยงั ไม่มกี ฎหมายคมุ้ ครอง ลกู ค้ารายอนื่ ได้ - ในการสรา้ งระบบE-Commerce จนครบวงจร - ท�ำให้เกิดการเช่ือมโยงการด�ำเนินงาน ในโซ่ มีต้นทุนค่อนข้างสูง เพราะรวมถึงค่า Hardware, มลู ค่า Value Chain Integration Software ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ระบบความปลอดภยั ทนี่ า่ 2. ประโยชนต์ อ่ องคก์ รธุรกจิ เชื่อถือ การจัดการระบบเครือขา่ ย ตลอดจนค่า จ้าง - ขยายตลาดในระดบั ประเทศและระดบั โลกได้ บคุ ลากรในการดแู ลระบบ อย่างรวดเรว็ - เกิดการฟอกเงินผ่ายระบบได้ง่าย เน่ืองจาก - บรกิ ารลูกค้าได้จ�ำนวนมากทวั่ โลกด้วยตน้ ทุน การใช้เงนิ สดผา่ นระบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เพอ่ื ช�ำระสินคา้ ท่ีต่�ำประหยัดต้นทุนในด้านเอกสารเกี่ยวกับการสร้าง ทำ� ใหก้ ารตรวจสอบท่มี าของเงินท�ำได้ยาก การประมวล การกระจายและการเก็บขอ้ มลู 2. ขอ้ จำ� กดั ด้านกฎหมาย - ลดต้นทุนทางด้านการสื่อสารโทรคมนาคม - กฎหมายท่ีสามารถคุ้มครองการท�ำธุรกรรม เพราะเป็นการท�ำธรุ กรรม โดยผา่ นอินเทอร์เน็ต ระหวา่ งประเทศ มีมาตรฐานท่ีแตกต่างกัน - เพม่ิ โอกาสในการแขง่ ขนั สำ� หรบั บรษิ ทั ขนาดเลก็ - การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือลายมือช่ือ 3. ประโยชนต์ อ่ สงั คม อเิ ลก็ ทรอนิกสย์ งั เป็นทีย่ อมรับนอ้ ย และยังเปน็ ท ี่ - การเดนิ ทางนอ้ ยลงเนอ่ื งจากไมต่ อ้ งเดนิ ทางไป สงสัยว่าสามารถเป็นหลักฐานในทางกฎหมายได้ ซื้อสินค้า ลดการจราจรและลดปัญหามลพิษทาง เม่อื เกิดปญั หาทางธุรกรรม เช่น การส่งสนิ ค้าม ี อากาศ ลักษณะแตกตา่ งจากที ่ โฆษณาบนอนิ เทอรเ์ นต็ อยาก - เพิ่มโอกาสทางการขายสินค้าและบริการได้ ตอ่ การเรยี กรอ้ งคา่ เสยี หาย สำ� หรบั คนหลายระดับ 3. ขอ้ จ�ำกัดอน่ื ๆ 4. ประโยชน์ตอ่ ระบบเศรษฐกจิ - การให้ข้อมูลท่ีเป็นเท็จบนอินเทอร์เน็ตมีมาก - เพม่ิ โอกาสทางการตลาดทง้ั ในและตา่ งประเทศ และมกี ารขยายตัวอย่างรวดเรว็ ส�ำหรับสินคา้ SMEs ในประเทศกำ� ลงั พัฒนา - การให้ข้อมูลของลูกค้าทางอินเทอร์เน็ตท�ำให้ - บทบาทของพ่อคา้ คนกลางลดลง ผู้ขายทราบวา่ ผ้ซู อ้ื เป็นใคร ทำ� ใหเ้ กิดการละเมดิ สทิ ธิ - ประชาชนสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการได้ ส่วนบุคคล (Privacy) ทำ� ไดง้ า่ ย โดยตรง - ลดช่องว่างในการเข้าถึงสินค้าของชุมชนใน ชนบทและในเมอื ง การคา้ ออนไลน์ (E-Commerce) สำ� หรบั ชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน20 2.2 การเตรียมตวั เบือ้ งตน้ ในการท�ำธุรกิจออนไลน์ E-commerce ก�ำลังเบ่งบานสุดๆ และยังมีแนวโน้มเติบโตต่อไปอีก ส�ำหรับ SME แล้วน่ีคือโอกาสอันย่ิงใหญ่ในการขยายธุรกิจเพ่ิมยอดส่ังซื้อ และรายได้ โดยไม่ต้องแบกต้นทุน หน้าร้านเหมอื นร้านคา้ ปกติ แต่ E-Commerce ก็มตี ้นทนุ ของตัวเอง และมคี วามท้าทายทีก่ ำ� ลัง รอนกั ธรุ กจิ ออนไลนอ์ ยเู่ ชน่ กนั ซง่ึ จะตอ้ งมี “การเตรยี มความพรอ้ มในเรอ่ื งตา่ งๆ” ดงั นี้ (กระทรวง ดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม, 2561) 1) เวลา คอื สงิ่ ทมี่ คี า่ มากสำ� หรบั SME ทกี่ ำ� ลงั ทำ� E-Commerce เพราะSME มกั จะมกี ำ� ลงั คนนอ้ ย เพ่ือให้สะดวกและคล่องตัวในการท�ำงาน แต่ E-Commerce ท่ลี งมือทำ� หลายๆ อยา่ งดว้ ยตัวเอง ก�ำลงั ดดู เวลาเหล่านัน้ ไป และท�ำให้โอกาสในการโฟกสั การขยายธรุ กิจล�ำบากข้ึน 2) เงนิ หมนุ เวยี น พอทำ� การคา้ e-Commerce แลว้ สง่ิ หนง่ึ ทจี่ ำ� เปน็ คอื Inventory และFulfilment ซึ่งมีผลต่อเงินหมุนเวียนอย่างย่ิง ถ้าสินค้าใน Inventory มีมากเกินไปเงินก็จม การท�ำ Fulfilment ไม่ไหลลืน่ ก็เกบ็ เงินได้ชา้ เป็นอปุ สรรคหนึง่ ของ SME เชน่ กนั 3) ค่แู ขง่ เกิดไดท้ ุกวนั เพราะเปน็ e-Commerce มีอนิ เทอรเ์ นต็ สามารถเปดิ ร้านไดท้ ันที ทำ� การตลาดนิดหน่อยกเ็ ริ่มหาลกู ค้าได้แล้ว ดังน้นั คแู่ ข่งในธุรกจิ จึงเกิดขนึ้ ได้ทุกวัน จะท�ำอยา่ งไร ให้รา้ นคา้ ของเราโดดเดน่ และแตกต่าง 4) ต้องหาของใหม่เรื่อยๆ เพ่ือให้ได้วัตถุดิบท่ีดีและราคาต่�ำ หรือ ได้แหล่งสินค้าใหม่ ทมี่ คี ณุ ภาพ และราคาตำ่� เพอื่ ใหส้ ามารถควบคมุ ตน้ ทนุ ได้ ถอื เปน็ อกี ความทา้ ทายของe-Commerce ในยุคปจั จบุ ัน และย่ิงในขอ้ 4 มคี ู่แขง่ ใหม่ๆ เกดิ ข้นึ ทุกวัน การหาแหล่งวตั ถุดบิ หรอื สินค้าที่ลด ต้นทนุ ได้ จึงจำ� เปน็ อย่างมาก 5) การจัดสง่ หัวใจหนึ่งของ e-Commerce คือ การจดั สง่ สนิ ค้าให้ถึงมอื ผซู้ ือ้ อย่างถกู ตอ้ ง และถกู ใจ สามารถเก็บเงินได้ และสร้างโอกาสในการซ้อื ช้าใหเ้ กิดขึน้ 6) ตอบอเี มลล์ กู คา้ เพราะการซอ้ื ขายอาจจะเกดิ ขน้ึ ไดต้ ลอดเวลา หลายครง้ั ทลี่ กู คา้ อเี มล์ ไลน์ หรอื อินบ็อกซ์ มาเพื่อสอบถามข้อมูล และส่ังซื้อสินค้า ดังน้ันการตอบอีเมล์จึงเป็นหนึ่งในหน้าท่ีการ ดูแลลูกคา้ ของ e-Commerce ที่ไม่ควรช้าและบกพรอ่ ง 7) ของหาย สินค้ามีโอกาสหาย ทั้งใน Inventory และระหว่างจัดส่ง ก่อนจะถึงมือผู้ซื้อ มโี อกาสทสี่ นิ คา้ จะหาย และกลายเปน็ ตน้ ทนุ ทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ทนั ที ดงั นนั้ การเลอื กบรษิ ทั จดั สง่ ทน่ี า่ เชอื่ ถอื และมมี าตรฐานและการรบั ประกนั เป็นอกี หนึง่ ทางเลอื กที่ช่วยลดปญั หานไี้ ด้ 8) บุคลากร ทั้งบุคลากรระดับบริหาร ท่ีปัจจุบัน คน e-Commerce ถือว่าขาดแคลนอยู่ แลว้ รวมถึงบคุ ลากรระดบั พนักงาน ที่ต้องมกี ารฝกึ อบรมเพ่อื พัฒนาคุณภาพ แต่ต้องถอื ว่ามีการ Turn Over พอสมควร 9) ซอฟตแ์ วรบ์ รหิ ารจดั การ เมอ่ื มยี อดการสงั่ ซอ้ื สนิ คา้ ประมาณ1,500Transaction ตอ่ สปั ดาห์ เมอ่ื นน้ั การทำ� งานดว้ ยระบบมอื (Manual) จะเรมิ่ รบั มอื ไมไ่ หว ตอ้ งการซอฟตแ์ วรเ์ ขา้ มาชว่ ยบรหิ าร จดั การ แตก่ ารเลอื กซอฟตแ์ วรท์ ถ่ี กู ตอ้ ง และการใชง้ านอยา่ งถกู ตอ้ ง กจ็ ะเปน็ โจทยท์ ตี่ อ้ งคดิ ตามมา
2.3 พน้ื ฐานที่จ�ำเปน็ ส�ำหรบั เปิดร้านค้าออนไลน์ 21 อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ ส�ำหรับการท�ำร้านค้าออนไลน์นนั้ มคี วามจ�ำเปน็ จะต้องใชอ้ ุปกรณ์ อาทิ โทรศัพท์ สมารต์ โฟน แท็บเล็ต คอมพวิ เตอร์ กลอ้ งถ่ายภาพ เคร่อื งพมิ พเ์ อกสารที่เป็นองคป์ ระกอบสำ� หรบั การทำ� ร้าน ค้าออนไลน์โดยไม่จ�ำเป็นว่าผู้ประกอบการชุมชนจะต้องมีท้ังหมดที่กล่าวมาข้างต้น เพียงแค่มีคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์สมาร์ตโฟน ก็สามารถบริหารจัดการร้านค้าออนไลน์ได้ ดังนั้น การใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ อิเลก็ ทรอนิกส์ จะสามารถท�ำใหเ้ กิดประโยชนใ์ นทางธุรกิจได้ (สำ� นักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ, 2560) กล้องดจิ ิทลั ใช้ส�ำหรับการถ่ายภาพผลิตภัณฑ์/บริการ เพื่อ คอมพวิ เตอร์ ประกอบการขาย เนอ่ื งจากผซู้ อื้ ไมส่ ามารถเหน็ สนิ คา้ ตัวจรงิ หรอื จับต้องได้ ดงั น้นั ภาพถ่ายจะเปน็ เครือ่ ง ใช้ส�ำหรับการจดั ตง้ั ร้านคา้ ออนไลน์ รับคำ� ส่ังซ้อื มือในการส่ือความหมายหากภาพชัดเจนสวยงาม จากลกู คา้ โต้ตอบกับลูกค้ามีความสำ� คญั อยา่ งย่งิ ใน ครบถ้วนทุกมุมมอง ท�ำให้มีโอกาสท่ีลูกค้าตัดสินใจ การทำ� รา้ นค้าออนไลน์ ผ้ปู ระกอบการชมุ ชนทีไ่ ม่มี ซ้ือได้ง่ายกว่า ผู้ประกอบการชุมชนสามารถใช้เพียง คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใช้บริการได้ที่ศูนย์การเรียน กล้องโทรศัพท์ถ่ายภาพกส็ ามารถใชง้ านได้ โดยตอ้ ง รู้ICT ชมุ ชนศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชนของกระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื จดั องคป์ ระกอบแสงให้เหมาะสม เศรษฐกิจและสงั คม เครือ่ งพมิ พเ์ อกสาร ใช้ในกรณีการจัดพิมพ์เอกสาร การจ่าหน้าการ สมาร์ตโฟน หรือแท็บเลต็ ส่งสินค้า รวมถึงการประยุกต์ใช้ในการพิมพ์ตรา สญั ลกั ษณ์ ปา้ ยขอ้ เสนอพเิ ศษ ปา้ ยโฆษณา คำ� อธบิ าย ใชส้ �ำหรบั บรหิ ารจดั การรา้ นค้า รบั ค�ำสัง่ ซ้ือจาก สรรพคุณ รหสั ยนื ยนั การใช้บรกิ าร บัตรสว่ นลด บตั ร ลูกค้า โต้ตอบกับลูกค้า มีความส�ำคัญอย่างย่ิงใน ผ่าน ฯลฯ ประกอบผลติ ภัณฑ/์ บริการทีจ่ ำ� หน่าย การบริหารร้านค้าออนไลน์ ซ่ึงเป็นอุปกรณ์ท่ีพกพา ง่าย สะดวกส�ำหรับการตรวจสอบรายการสั่งซื้อของ ลกู ค้าเปน็ อย่างยง่ิ การคา้ ออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำหรบั ชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน22 อินเทอรเ์ นต็ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่ีสุดของโลก โดยจะเป็นการเช่ือมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์หลายๆ เคร่ืองจากท่ัวโลกมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ซ่ึงช่วยให้สามารถติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ ทว่ั โลกเปน็ โครงขา่ ยทีเ่ ชอ่ื มโยงผู้ประกอบการและผ้ซู ื้อท่วั โลกเขา้ หากัน อินเทอร์เน็ตเปน็ ส่วนส�ำคญั ของการ ตดิ ต่อสอ่ื สารผา่ นโลกดจิ ิทัล ผู้ที่ใชโ้ ครงข่ายตอ้ งมีบญั ชีในการยนื ยนั ตนเอง สำ� หรับรับข้อมลู ข่าวสารหรือค�ำ สง่ั ซ้อื ดงั นน้ั ผปู้ ระกอบการชุมชนตอ้ งสมัครจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรอื อีเมลล์ (Email) บัญชจี ดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ (Email) บัญชีส�ำหรับการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต โดยเป็นเสมือนบ้านเลขท่ี หากผู้ประกอบการ ต้องการส่งจดหมายถึงลูกค้าต้องระบ ช่ือ ท่ีอยู่ จังหวัด รหัสไปรษณีย์ เพื่อส่งจดหมายไปยังลูกค้า ได้อย่างสมบูรณ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ก็เช่นกัน เป็นการจัดต้ังท่ีอยู่แบบอิเล็กทรอนิกส์ ส�ำหรับ การจัดส่งจดหมาย โดยบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ถือเป็นพื้นฐานของระบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ดังนน้ั ผู้ประกอบการจะต้องมีบัญชอี ีเมล์ อยา่ งนอ้ ย 1 บญั ชี จำ� กันง่ายๆ อีเมล์จะมีสัญลักษณ์ “@”แอด็ ไซน์ อเี มลม์ ผี ู้ใหบ้ ริการฟรหี ลายบริษัทโดยมอี เี มล์ ท่ีนยิ มใช้ อาทเิ ช่น จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ของกเู กิ้ล (Google Gmail)จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของไมโครซอฟต์ (Microsoft Outlook) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของแอปเปิ้ล 2.4 การเลอื กระบบร้านค้าออนไลน์ 1. ระบบร้านค้าออนไลน์ แบบลกู ค้ากบั ลูกค้า (Customer to Customer : C2C) ระบบร้านคา้ ออนไลน์ แบบลกู คา้ กบั ลกู ค้า (C2C) นิยมใชใ้ นการขายสนิ คา้ มือสอง หรือสินคา้ ทมี่ ีความ เฉพาะ ไม่ได้ผลติ เปน็ จ�ำนวนมากๆ หลักการขายผู้ขายจะประกาศขายผา่ นช่องทางออนไลน์ และผซู้ อ้ื จะเข้า มาคน้ หาผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ ซงึ่ สามารถพดู คยุ ตกลงราคา ทำ� การโอนเงนิ และจดั สง่ สนิ คา้ หรอื นดั พบเพอื่ ทำ� การซ้อื ขายกนั โดยแนะนำ� เวบ็ ไซต์ในประเทศไทยคอื ขายดีดอทคอม (Kaidee.com) ตลาดพลาซา่ ดอท คอม(Taladplaza.com) หรือการใชช้ ่องทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ ก็สามารถท�ำร้านค้าออนไลนใ์ นรูปแบบ ลูกคา้ กับลกู ค้าได้ เชน่ ประกาศขายผา่ นเฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) อินสตาแกรม (Instagram) เปน็ ตน้
23 ภาพแสดงตวั อยา่ งเว็บไซต์ขายดดี อทคอม (Kaidee.com) แหลง่ ทีม่ า : https://www.kaidee.com ขายดีดอทคอม (Kaidee.com) เปน็ บริการกลางส�ำหรบั การขายสินค้า โดยมีหมวดหม่มู อื ถอื แทบ็ เล็ต คอมพิวเตอร์ เคร่อื งดนตรี กฬี า จักรยาน แม่และเด็ก กระเปา๋ นาฬกิ า รองเท้า เสือ้ ผ้าเครอื่ งแตง่ กาย สขุ ภาพและความงาม บา้ นและสวน พระเคร่อื ง ของสะสม อสงั หาริมทรพั ย์ รถมอื สอง อะไหลร่ ถ ประดับยนต์ มอเตอรไ์ ซค์ กลอ้ ง เครือ่ งใช้ไฟฟ้า เกมส์ สตั วเ์ ลย้ี ง งานอดิเรก ธรุ กิจบริการท่องเท่ียว การศกึ ษา และแบ่งปัน ดงั นั้น ผปู้ ระกอบการชุมชนสา มาร5น�ำสนิ คา้ หรือของที่ไม่ไดใ้ ช้งานมาขายในบริการของขายดดี อทคอมได้ โดยไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย 2. ระบบร้านค้าออนไลน์ แบบธุรกจิ กบั ลูกค้า (Business to Customer : B2C) ระบบรา้ นค้าออนไลน์แบบธุรกิจกับลูกค้า (B2C) เเปน็ รปู แบบธรุ กจิ ทนี่ ยิ มใชง้ านมากทสี่ ดุ ในผปู้ ระกอบการ ระดบั เรม่ิ ตน้ ธรุ กจิ จนถงึ ระดบั อตุ สาหกรรม โดย มหี ลกั การขายเปน็ การเปดิ รา้ นคา้ ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ และผซู้ อ้ื สามารถเขา้ ถงึ หนา้ รา้ นผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ โดยมีการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ และราคา โปรโมช่ัน โดยมีการเลือกสินคา้ ใส่ตระกรา้ สินคา้ และท�ำการช�ำระเงนิ ผ่านช่องทางท่ผี ้ปู ระกอบการให้บรกิ าร เชน่ การโอนเงนิ ผา่ นธนาคาร การชำ� ระผ่านบัตรเครดติ การชำ� ระผา่ น เคาท์เตอร์ใหบ้ รกิ ารชำ� ระเงิน และอนื่ ๆ โดยเวปไซตท์ ่ีให้บรกิ ารไดแ้ ก่ เทพชอ็ ป (lnwshop) ไทยแลนดโ์ พสมา ท (Thailand Postmart) ไทยแลนด์มอล (Thailandmal) การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำหรบั ชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน24 ภาพแสดงตวั อย่างเว็บไซตเ์ ทพชอ็ ป (lnwshop) แหล่งทม่ี า : https://www.lnwshop.com ภาพแสดงตัวอยา่ งเวบ็ ไซต์ไทยแลนด์โพสตม์ าร์ท (Thailand Postmart) แหลง่ ที่มา : https://thailandpostmart.com เทพชอ็ ป (lnwshop) เปน็ เวบ็ ไซตใ์ หบ้ รกิ ารระบบรา้ นคา้ ออนไลน์ โดยผปู้ ระกอบการสามารถเปดิ ใช้ บรกิ ารร้านคา้ ออนไลน์ ได้ฟรี ไม่มีเง่ือนไข มหี มวดหมูข่ องร้านคา้ ท่รี องรับ คอื เสอื้ ผา้ แฟชน่ั เคร่ืองสำ� อาง ความงาม ของเลน่ ของสะสม ของท่รี ะลกึ แมแ่ ละเดก็ ศิลปหัตถกรรม ของใช้ของตกแต่งบ้าน อาหาร และสขุ ภาพ เทคโนโลยี มือถือ คอมพิวเตอร์ บันเทงิ ดนตรี และภาพยนต์ สตั ว์ เลี้ยงและอุปกรณ์ หนังสอื และนิตยสาร เครื่องเขียน/อุปกรณ์ สำ� นกั งาน/ของใช้เบด็ เตลด็ อุปกรณ์ ของเก่า ของสะสม กล้อง และอุปกรณ์ กฬี าและกิจกรรม outdoor รถ ยานพาหนะ บ้านและทด่ี ิน อ่นื ๆ ดังนั้น ผู้ประกอบการ ชมุ ชนสามารถนำ� สนิ คา้ ทผี่ ลติ ขน้ึ เปดิ รา้ นคา้ จำ� หนา่ ยได้ ผา่ นเวบ็ ไซตบ์ รกิ ารระบบรา้ นค้ ออนไลนข์ องเทพชอ็ ป ได้โดยไมม่ ีค่าใชจ้ ่าย ดเู พ่มิ เติมไดท้ เี่ ว็บไซต์ https://www.lnwshop.com ไทยแลนด์โพสต์มาร์ท (Thailand Postmart) เปน็ เว็บไซตใ์ หบ้ รกิ ารตลาดกลางออนไลน์ ดำ� เนิน การโดยบริษัทไปรษณีย์ ไทย จ�ำกัด โดยเป็นเว็บไซต์ตลาดกลางท่ีขายสินค้าจากชุมชน โดยมีสินค้าเกษตร อาหาร และสนิ ค้าอุปโภคบรโิ ภคอืน่ ๆ ผปู้ ระกอบการสามารถสง่ ขอ้ มลู สินคา้ เพอ่ื ทำ� การขาย บนตลาดกลาง ของบรษิ ทั ไปรษณยี ์ ไทยจ�ำกัดได้ โดยมหี มวดหมขู่ องรา้ นคา้ ทีร่ องรบั คอื อร่อยทวั่ ไทย ของดีประจำ� จงั หวัด เหรยี ญกรมธนารกั ษ์ สนิ ค้าไปรษณีย์ แสตมป์ และส่งิ สะสม ดังนน้ั ผู้ประกอบการ ชุมชน สามารถน�ำสินค้า ท่ีผลิตขึ้นมาส่งเข้าสู่ตลาดกลางเพื่อจ�ำหน่ายผ่านเว็บไซต์กลางของไทยแลนด์โพสต์ มาร์ทได้ ดูเพ่ิมเติมได้ท่ี เว็บไซต์ https://thailandpostmart.com
3. ระบบร้านค้าออนไลน์แบบธรุ กจิ กบั ธุรกจิ 25 (Business to Business : B2B) ระบบรา้ นค้าออนไลนใ์ นรูปแบบธุรกจิ กับธรุ กจิ (B2B) เปน็ รปู แบบการซื้อขายแบบเฉพาะ โดยมีการ จดั ซอ้ื เปน็ จำ� นวนมาก เพอ่ื ใหไ้ ดร้ าคาทต่ี ำ่� และธรุ กจิ ทซ่ี อ้ื สามารถนำ� ไปเปน็ วตั ถดุ บิ ในการผลติ หรอื ขายตอ่ โดย หลกั การขาย ผขู้ ายจะตอ้ งขน้ึ ทะเบยี นผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ พร้อมน�ำขอ้ มลู สินคา้ ขึ้นสู่ระบบ และผูซ้ ื้อจะเข้า มาค้นหาผ่านช่องทางออนไลน์ และด�ำเนินการขอราคา ตามปรมิ าณทต่ี ้องการ ซ่งึ จะอยใู่ นกระบวนการจัดซอื้ และพัสดขุ องบรษิ ัทนน้ั ๆ โดยผปู้ ระกอบการชมุ ชน ที่สามารถผลิตสนิ คา้ ไดเ้ ป็นจ�ำนวนมาก หรือมีเอกลกั ษณ์ เฉพาะท่ีบรษิ ทั อ่นื ๆตอ้ งการ สามารถเขา้ ใช้บรกิ าระบบการจดั ซอื้ แบบธรุ กจิ กับธุรกิจโดยมผใู้ หบ้ รกิ ารทแี่ นะนำ� ในประเทศไทยคือ พันธวณิช (Pantavanij) และ กู๊ดชอ้ ยส์ (Goodchoiz) ภาพแสดงตัวอย่างเว็บไซต์พนั ธวณิช (Pantavanij) แหล่งที่มา : https://www.pantavanij.com พนั ธวณชิ (Pantavanij) เปน็ ระบบการจัดซ้ือของธุรกจิ กับธรุ กจิ ด้วยมีฐานขอ้ มลู ผ้ซู ้ือและผขู้ าย ซือ้ ขายวัตถุดิบ หรอื วัสดทุ ่ใี ชง้ านในธรุ กจิ โดยผู้ประกอบการชุมชน หากมกี ารผลติ สินคา้ ทเี่ ป็นที่ต้องการของ ธุรกิจได้ สามารถข้ึนทะเบียนผ้คู า้ ในรปู แบบธุรกจิ ได้ โดยมรี ะบบงานรองรบั ระบบผซู้ ื้อ ระบบผู้ขาย ประมูล ภาครัฐ ภาคเอกชน และประมูลในสถานที่ (On-site) ดเู พ่ิมเตมิ ไดท้ ีเ่ วบ็ ไซต์ https://www.pantavanij.com การค้าออนไลน์ (E-Commerce) สำ� หรับชุมชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน26 เว็บ E-commerce ท่ีดี ตอ้ งมีลักษณะอย่างไรบา้ ง ? 1. ท่ีระบบหน้าร้านหรือหน้าเว็บไซต์ต้องมีการออกแบบที่ส่ือถึงสินค้าภายในร้านใช้งานง่าย ไมร่ กสายตาผทู้ ่เี ขา้ มาเยีย่ มชมสินค้าภายในเว็บ 2. ทร่ี ะบบหลงั รา้ นจะตอ้ งมแี ผงควบคมุ หรอื วา่ เมนใู นการเขา้ ถงึ การจดั การตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งสะดวกและ รวดเร็ว จดจ�ำได้ง่าย 3. การสงั่ ซือ้ สินค้าต้องมีขนั้ ตอนที่ไมย่ ่งุ ยาก ซับซ้อน หรือหลายข้นั ตอน เพราะมันจะท�ำใหล้ ูกคา้ ของ ทา่ นน้ันพาลเสยี อารมณ์ในการสัง่ ซอื้ สนิ คา้ ของท่านได้ 4. มกี ารแสดงรายละเอียดสินค้าที่ครอบคลุมครบั ไม่วา่ จะเป็นช่ือสินคา้ รายละเอยี ดต่างๆ ตลอดจน พืน้ ทใี่ ห้ลกู ค้าได้เขียนรีววิ สินคา้ เปรยี บเทยี บสินคา้ 5. ต้องมีการแสดงสถานะสนิ คา้ ในระบบตะกร้าสนิ ค้าแบบ Real time แกไ้ ข ปรบั ปรุงข้อมูลได้อยา่ ง รวดเร็วและสะดวกแม่นยำ� 6. ในสว่ นของการจา่ ยเงิน หรือว่าการช�ำระสินค้าต้องระบใุ ห้ชดั เจนว่าลกู คา้ จะต้องท�ำอย่างไร และ เจ้าของเว็บจะต้องทำ� อยา่ งไร 7. สุดทา้ ยของการสงั่ ซอ้ื ต้องมกี ารสรปุ รายการส่งั ซื้อสินคา้ ในรอบนั้นๆด้วย เช่น ราคาตอ่ รายการ ค่า จัดสง่ ราคาทัง้ หมด ฯลฯ กระแสความนิยมของร้านคา้ ออนไลน์ 1. กระแสด้านวัฒนธรรม (Cultural trend) 2. กระแสความนยิ มดา้ นเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม (Technology + Innovation trend) มหาวทิ ยาลยั ออนไลน์ (Online University) 3.กระแสความนิยมด้านการเดินทางและบริการท่องเท่ียว (Travel + Hospitality trend) การทอ่ งเทย่ี วเชงิ กีฬา (Sportspitality) 4.กระแสความนยิ มดา้ นการตลาดและแบรนด์(Marketing+Brandtrend) การคำ� นงึ ถงึ ความตอ้ งการ ของลูกคา้ อาวโุ ส (Global Ageless Society) 5.กระแสความนิยมอาหารและเครือ่ งด่มื (Food + Drink trend) กระแสความนยิ มจงั ค์ฟู้ดเพื่อสุขภาพ (Natural Junk) 6.กระแสความนิยมด้านความงาม (Beauty trend) การยอมรับความแตกต่างของแต่ละบุคคล (Freckles) 7.กระแสความนิยมรา้ นคา้ (Retail trend) แหล่งรวมแบรนด์ Startup (Startup Stores) 8.กระแสความนยิ มดา้ นสขุ ภาพ(Healthtrend) การทำ� งานทเี่ นน้ การดแู ลสขุ ภาพของพนกั งาน(Work wel ness) 9.กระแสความนิยมดา้ นไลฟส์ ไตล์ (Lifestyle trend) การเปน็ ผใู้ หญ่ก่อนวยั (Stimulated adulthood) 10.กระแสความนยิ มดา้ นความหรหู รา(Luxurytrend) ประสบการณก์ ารทานอาหารแบบตน่ื เตน้ ทา้ ทาย (Extreme dining)
2.5 การเตรยี มขอ้ มูลร้านค้า 27 1. หลกั การตั้งชอ่ื ร้านค้าออนไลนท์ ด่ี ี การจดั ตง้ั รา้ นคา้ ออนไลน์ ดว้ ยการเรม่ิ ขายของออนไลนน์ นั้ เปน็ สงิ่ ทที่ ำ� ไดง้ า่ ย และมตี น้ ทนุ ตำ�่ การ สร้างร้านคา้ ออนไลน์ทีจ่ ะประสบความส�ำเร็จไดน้ ้ัน จ�ำเป็นตอ้ งมีการเตรยี มตวั และจดั เตรยี มข้อมลู ทีด่ ี เพราะ หากไม่สนใจ หรอื ตัง้ ใจจรงิ ๆ อาจจะทำ� ให้ตอ้ งล้มเลิกไปได้ โดยการเร่มิ ตน้ ท่ีด คอื เรยี นรหู้ ลักการเปดิ รา้ น ค้าออนไลน์ในดา้ นต่างๆ เพอื่ เป็นแนวทางใหผ้ ู้ประกอบการชุมชนไดเ้ ตรียมความพรอ้ มร้านคา้ ของตนเอง ซงึ่ มีหลักการตา่ งๆ ดงั น้ี (สำ� นกั งานคณะกรรมการดจิ ิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาต,ิ 2560) การตั้งช่ือร้าน การเปิดร้านค้าออนไลน์ ส่ิงส�ำคัญที่ผู้ประกอบการชุมชนไม่ควรมองข้าม นั่นคือ การตงั้ ชื่อร้าน การต้ังชื่อจะส่งผลถึงว่ารา้ นคา้ ออนไลนข์ องผู้ประกอบการชุมชนคือใคร ขายสนิ ค้าประเภทใด ระดบั ราคาของสนิ คา้ กลมุ่ ลกู คา้ เปา้ หมายคือใคร มีแนวคดิ ของการขายสนิ ค้าอยา่ งไร ดงั น้นั การต้งั ช่อื รา้ นควรพิจารณาให้รอบคอบ ซึ่งมีหลกั การ ดังน้ี เทล่ดีอื ีทกีส่ชุด่ือ ความหมายดี รสู้ กึ ค้นุ เคย ทเลไี่ มอื ค่ กวชรอื่ ซำ้� สะกดง่าย สะกดแปลก บชน่ือเวต็บอ้ ไดง้งใช่า้ย เนโด้นดจดุเดข่นาย ภาพแสดงหลกั กการตั้งช่ือรา้ น แหล่งที่มา : http://www.onde.go.th การคา้ ออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำหรับชุมชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน28 ความหมายดี รู้สึกคุ้นเคย ส่ิงแรกท่ีผู้ประกอบการต้องนึกถึงเม่ือคิดที่จะต้ังช่ือร้าน คือ หาชอื่ ที่มีความหมายท่ดี ีเพ่ือเป็นสริ ิมงคลแกร่ ้าน ไม่เปน็ ชอ่ื ทคี่ �ำแผลง คำ� ผวน ไม่ใช้ค�ำทเี่ ปน็ ภาษา กำ� กวม ชอื่ ทด่ี ีนัน้ มีผลต่อรา้ นของผ้ปู ระกอบการเปน็ อย่างมาก ไมว่ า่ จะเป็นการแสดงจดุ ยนื ภาพ ลักษณ์ของร้าน ลูกค้าหลายคนอาจถูกใจความหมายดีๆของช่ือร้านจนน�ำมาสู่การเลือกซื้อสินค้า และตดั สนิ ใจซือ้ ในที่สดุ สะกดง่าย สะกดแปลก ชื่อร้านที่ต้ังควรเป็นชื่อที่สะกดและออกเสียงเรียกได้ไม่ยาก เพราะ จะท�ำให้ลูกค้าจดจ�ำได้รวดเร็วและไม่ลืมง่าย ๆ ตัวอย่าง เช่น ครัวดอกไม้ขาว (White flower Restaurant) โดดเดน่ เนน้ จดุ ขาย การทำ� ให้ช่อื ร้านโดดเด่น สะดุดตา จะชว่ ยดงึ ความสนใจของลกู คา้ มา ที่ร้านของคุณได้ดีอีกหน่ึงวิธี นอกจากจะโดดเด่น สะดุดตาแล้ว ยังต้องตั้งชื่อร้านให้ตรงกับภาพ ลักษณ์ หรอื คอนเซป็ ตข์ องร้าน ก็จะยงิ่ ท�ำให้ลูกค้าจดจ�ำร้านได้งา่ ยขึน้ อีกด้วย ช่ือต้องใช้บนเวบ็ ไดง้ า่ ย ชอื่ เว็บไซตก์ ค็ วรเปน็ ชือ่ เดยี วกบั ธุรกจิ ส่ิงสำ� คญั พยายามอยา่ ขีดเสน้ ระหวา่ งคำ� เพราะมนั จะทำ� ใหค้ นจำ� ไดย้ าก ยกตวั อยา่ งเชน่ www.ThaiFranchiseCenter.com(ไทย แฟรนไชส์เซ็นเตอร์) และ www.ThaiSMEsCenter.com (ไทยเอสเอ็มอีเซน็ เตอร์) ซึ่งปัจจุบนั เปน็ ช่อื เวบ็ ไซต์ศนู ย์กลางแฟรนไชส์ และ SMEs ท่คี นนยิ มและจดจำ� ได้งา่ ย เลือกช่ือที่ไม่ควรซ้�ำ การต้ังชื่อร้านไม่ควรซ�้ำหรือใกล้เคียงกับร้านค้าอ่ืนๆ เพราะช่ือร้านที่ เหมอื นหรือคล้ายกันน้ันจะทำ� ใหล้ กู ค้า เกดิ ความเขา้ ใจผดิ สบั สน ลงั เลในการที่จะเรยี กชือ่ รา้ นก็ เปน็ ได้ เพราะนอกจากสรา้ งความสับสนใหก้ บั ลกู คา้ แลว้ ยังทำ� ให้สร้างปัญหาระหวา่ งเจา้ ของธุรกจิ ดว้ ยกนั เองอกี ด้วย เลือกชอื่ ท่ดี ที ีส่ ดุ การเลอื กช่อื โดยยดึ ลูกคา้ เป็นท่ตี ้ัง โดยหากในช่วงแรก รา้ นค้ายังไมไ่ ดเ้ ปดิ ขายและยังไม่มีลูกคา้ ผปู้ ระกอบการ อาจจะท�ำการสอบถามจากเพ่ือนหรือคนใกลช้ ิดหลายๆ คน ใหช้ ว่ ยเลอื กชอ่ื หรอื หากผปู้ ระกอบการพอมลี กู คา้ เดมิ อยู่ ผปู้ ระกอบการอาจจะลองสอบถามลกู คา้ และให้ลกู ค้าชว่ ยโหวตเลือกชือ่ รา้ นได้ ตัวอย่าง : วเิ คราะหช์ อื่ รา้ นของผปู้ ระกอบการเจา้ ของรา้ นลกู ชน้ิ หมรู ายหนงึ่ ทม่ี กี ารตง้ั ชอื่ รา้ นคา้ ออนไลนข์ องตนเองวา่ “ลูกช้ินหมูฮ่องเต้” เม่ือพิจารณาตามหลักการต้ังชื่อเบื้องต้นแล้วจะพบว่า ค�ำว่า “ฮ่องเต้” เป็นค�ำศักด์ิสิทธ์ิ และมีความหมาย แสดงถงึ ความย่งิ ใหญ่ นอกจากนัน้ คำ� วา่ “ฮ่องเต”้ ยงั เปน็ คำ� ท่ีสะกดงา่ ยและเปน็ ค�ำท่ีจดจำ� ได้งา่ ยอกี ดว้ ย
เทคนคิ การพัฒนาข้อมูลสนิ คา้ เพอ่ื การขายออนไลน์ 29 1) ชอ่ื สนิ คา้ - สน้ั กระชบั และแสดงคุณสมบัตหิ ลักของสนิ คา้ เท่าน้ันไม่ควรเกนิ 80 ตัวอักษร - สามารถใสช่ ่อื ยหี่ อ้ รุ่น รูปแบบ ประเภทของสินค้า สีได้ (ตามล�ำดับ) - ระบุจ�ำนวนช้ิน หากสนิ ค้าประกอบดว้ ยสนิ ค้ายอ่ ยหลายช้ิน ประเภทสินค้า รายละเอียดท่ีควรใส่ เสอื้ ผ้า แฟชน่ั ช่ือสินคา้ + ประเภท + สไตล์ + สี เช่น เดรสยาว สไตล์วินเทส สีมัสตารท์ สขุ ภาพ และความงาม ยหี่ ้อ + ชอ่ื สินคา้ + รุ่น + จ�ำนวนบรรจุ + ขนาด + น้ำ� หนกั เช่น OHO ไนทค์ รีม ร่นุ Oh White! ขนาด 100 ml. แมแ่ ละเด็ก ชื่อสินคา้ + ยี่หอ้ + รุ่น + สี + ขนาด + คุณสมบัตอิ ย่างยอ่ เชน่ เครอื่ งอนุ่ นม ยห่ี อ้ Camera รนุ่ xx สำ� หรบั ใชใ้ นบา้ น บนรถ โทรศพั ท์ คอมพิวเตอร์ ยี่หอ้ + รนุ่ + ประเภท + ขนาด + คณุ สมบัติอย่างยอ่ และอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ เชน่ Del Notebook Vostro xxx, CPU xxx, HDD xxx GB, RAM xx GB เฟอรน์ ิเจ อร์ ของ แต่งบ้าน ชือ่ สินคา้ + ยห่ี อ้ + ร่นุ + วสั ดุ + สี + ขนาด เช่น โซฟา Lazy Boy รุน่ xxx เบาะหนงั เเท้ สนี ำ�้ ตาลเขม้ 2) ภาพถา่ ยสนิ ค้า - รูปภาพหลกั ควรแสดงตัวสินคา้ ชัดเจน - รปู ภาพหลกั ควรมีพน้ื หลังสขี าว - รูปภาพหลักไม่มอี ุปกรณเ์ สริมหรือวัตถุอ่ืนๆ อยู่ในรปู - ไม่ควรมขี อ้ ความ โลโก้ หรอื ลายน�ำ้ บนรูปสนิ คา้ - แสดงรูปเสรมิ ของสินค้าในหลายมมุ ใหร้ ปู ภาพชว่ ยมดั ใจ ตอ้ งนำ� เสนอในหลายมมุ มอง เพราะลกู คา้ ทกี่ ำ� ลงั จะซอ้ื สนิ คา้ ผา่ นเวบ็ ไซตจ์ ะไมไ่ ดม้ ี โอกาสทจ่ี ะเหน็ ชน้ิ สนิ คา้ จรงิ ๆ กอ่ นสงั่ ซอ้ื ดงั นนั้ รปู ภาพสนิ คา้ จงึ สงิ่ ทตี่ อบโจทยเ์ รอื่ งรปู ทรง องคป์ ระกอบของ สนิ คา้ แตล่ ะชนดิ ไดด้ ที สี่ ดุ ควรถา่ ยภาพสนิ คา้ 1 ชนิ้ ในหลายๆ มมุ เชน่ เวบ็ ไซตข์ ายรองเทา้ นอกจากจะแสดง รปู ทรง สสี นั ลวดลายโดยรอบของรองเทา้ แลว้ อาจมอี กี รปู ทโ่ี ชวใ์ หเ้ หน็ พนื้ รองเทา้ ดว้ ย เปน็ ตน้ ภาพถา่ ยสนิ คา้ นน้ั กน็ บั เปน็ อกี หนง่ึ สงิ่ ทเี่ จา้ ของรา้ นคา้ ออนไลนห์ ลายๆ คนมองขา้ มไป ซงึ่ โดยแทจ้ รงิ แลว้ ภาพสนิ คา้ นน้ั ถอื วา่ เปน็ ปจั จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การตดั สนิ ใจซอื้ ของลกู คา้ เปน็ อยา่ งมากเลยกว็ า่ ได้ อาจจะดว้ ยเหตผุ ลตา่ งๆหลายอยา่ ง เชน่ ภาพทส่ี วยงามจะชว่ ยดงึ ดดู ผทู้ เ่ี ขา้ ชมหนา้ เวบ็ รา้ นคา้ ใหด้ สู นิ คา้ ในชน้ิ ถดั ๆไปได้ ภาพสนิ คา้ สามารถแสดง รายละเอยี ดแตล่ ะดา้ นแตล่ ะมมุ ของสนิ คา้ ไดด้ ี ภาพสนิ คา้ ทดี่ สี ามารถเสรมิ จดุ เดน่ และลดจดุ ดอ้ ยของสนิ คา้ ได้ และเกดิ ภาพลกั ษณท์ ด่ี ี ดเู ปน็ มอื อาชพี และความนา่ เชอื่ ถอื การค้าออนไลน์ (E-Commerce) สำ� หรบั ชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน30 3) คณุ สมบตั หิ ลกั ของสนิ คา้ - เขยี นคณุ สมบตั ิสินค้าที่เปน็ จรงิ ถูกต้องตรงกบั สินคา้ ทขี่ าย - เขียนประโยคสั้นๆ ประโยคละ 1 บรรทดั แบบ Bulet Point - บอกรูปทรง และขนาดของสนิ ค้าท่ถี ูกต้อง เช่น ขนาดเป็นเซนตเิ มตร -ระบุสินค้าชนิดอ่ืนที่สามารถใช้งานร่วมกันได้- ตรวจการสะกดคำ�ใหถ้ กู ต้อง ตวั อยา่ ง ภาพถา่ ยสนิ คา้ ในหลายมุมมอง แหลง่ ทีม่ า : https://www.lazada.co.th/ 4) รายละเอียดสินคา้ ให้รายละเอียดสินค้าที่เป็นความจริง ควรสร้างจุดเด่นให้สินค้ามีแตกต่างจากคู่แข่งขัน เพื่อช่วย ลูกค้าในการตัดสินใจซ้ือได้ ให้รายละเอียดสินค้าในรูปแบบท่ีให้ความรู้สึกว่าไม่สามารถหาสินค้าน้ีได้จาก เว็บไซต์อ่ืนได้ การตัดสนิ ใจซอ้ื ครงั้ นี้เปน็ การตดั สินใจทีด่ ที ส่ี ุด โดยบรรยายลกั ษณะของสินคา้ เช่น สี ขนาด ตกาดั รสใ นิชใง้ จาซน้ือ•ขกอารงรหลรสัับกู สคปนิ า้รคะเกา้ชันน่(P roทd�ำuกcาtรIDต)รวจสอบการสะกดคำ� ให้ถูกต้อง และควรมีรายละเอยี ดเพียงพอต่อการ • ชือ่ ยีห่ ้อ (Brand) • ชื่อรนุ่ (Model) • ราคาสนิ ค้า (Product Price) • ราคาลด ตั้งราคาพเิ ศษเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความน่าสนใจ ให้ข้อมลู ราคาปกติ และราคาลดพเิ ศษเพ่ือ ดึงดูดความสนใจ เทคนิคการต้งั ราคาพิเศษ อย่างการระบุวนั ท่ีสนิ้ สดุ โปรโมช่นั ให้สว่ นลดพิเศษสำ�หรับ สมาชิกเวบ็ ไซต์ ท่ีนอกจากลูกคา้ จะได้ซอ้ื สนิ คา้ ในราคาทค่ี ุ้มค่าแล้ว • ระบุค่าใช้จ่ายอืน่ ๆ ใหช้ ัดเจน หากมคี า่ ใชอ้ นื่ ๆ เชน่ ค่าจดั ส่งสินคา้ , ราคาสินค้าที่แตกตา่ งกนั ตามประเภทวสั ดุ หรอื รปู แบบการสงั่ ซอื้ ก็ควรระบใุ ห้ชัดเจน เพ่อื ปอ้ งกนั ความผดิ พลาดในการสัง่ ซื้อ ทอ่ี าจ เกิดขน้ึ และจะเป็นเหตุให้เกดิ ทศั นคตดิ ้านลบตอ่ การซอื้ สินคา้ ในเวบ็ ไซตแ์ ก่ลูกคา้ ได้ • ขนาดสนิ ค้า (กว้าง x ยาว x สงู ) เปน็ เซนติเมตร • น้�ำหนกั ของสนิ คา้ เปน็ กิโลกรมั • คุณสมบัตสิ นิ ค้า (Feature) รายละเอียดของสินค้า หรอื ลักษณะของประเภท • เร่อื งราว (Story) ของสนิ คา้ • ระยะเวลารับประกนั ของสินคา้ (ถ้ามี) • ใสข่ อ้ มลู หรอื นโยบายรบั รองคณุ ภาพสนิ คา้ ซง่ึ จะชว่ ยเสรมิ ใหส้ นิ คา้ มคี วามนา่ เชอ่ื ถอื มากขนึ้ เชน่ ใบรับรองการเป็นตัวแทนจ�ำหน่าย,ขอบเขตบริการหลังการขาย, มีนโยบายรับประกันคุณภาพสินค้า เป็นต้น ไม่ควรก�ำหนดนโยบายทีม่ ากเกินความเปน็ จรงิ และควรเลอื กใช้ใหเ้ หมาะสมกบั สินค้าแต่ละประเภทด้วย
2.6 วิธกี ารตั้งคา่ ร้านค้าออนไลน์ 31 “Inwshop” ระบบร้านคา้ ออนไลน์ ที่มาดว้ ยแนวทาง “เปิดรา้ นค้าออนไลน์ฟรี ไม่มีเง่อื นไข” มขี ้ันตอนการขอ ใช้บรกิ ารรา้ นค้าออนไลนง์ า่ ยๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ (กระทรวงดจิ ิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม, 2561) 1. เข้าเวบ็ ไซต์ https://www.lnwshop.com และกดปุ่ม (เปดิ รา้ นคา้ ฟร)ี 2. ตง้ั ค่าขอ้ มูลร้านค้า 3 ขั้นตอน คือ 1) กรอกขอ้ มูลรา้ นคา้ และอพั โหลดรูปภาพร้าน 2) เลือกเทมเพลตสำ� หรบั รา้ นค้า 3) ยอมรบั ขอ้ ตกลงและนโยบายการใชง้ าน การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำหรบั ชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน32 ข้ันตอนที่ 1 กรอกขอ้ มลู รา้ นคา้ และอัพโหลดรูปภาพร้าน 1) ต้ังช่อื บัญชีรา้ นคา้ 2) logo แบรนดร์ า้ นค้า ระบชุ ่องทางท่ใี ห้ลูกค้าติดต่อ
ขน้ั ตอนที่ 2 เลอื กเทมเพลตสำ� หรบั ร้านคา้ 33 ขั้นตอนท่ี 3 ตรวจสอบขอ้ มูลและยอมรบั ข้อตกลง กด “ยอมรับ” ข้อตกลง การใช้บรกิ าร รา้ นค้าออนไลน์เทพช็อป LnwShop Term of Service การค้าออนไลน์ (E-Commerce) สำ� หรับชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน34 2.7 การจดทะเบียนพาณิชย์อิเลก็ ทรอนิกส์ ของผปู้ ระกอบการร้านค้าออนไลน์ แหลง่ ทีม่ า : https://www.trustmarkthai.com/ การจดทะเบยี นพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ ของผู้ประกอบการ สามารถสรา้ งความเชอ่ื มน่ั ในการประกอบร้าน ค้าออนไลน์ได้ด้วยการจดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์ เพื่อท�ำการขอเครื่องหมาย รับรอง DBD Registered และ DBD Verified โดยประโยชนข์ องการจดทะเบยี นพาณชิ ยอิเล็กทรอนิกส์ คอื สรา้ งความนา่ เช่ือถอื ความมตี ัวตนของผปู้ ระกอบการ จากกรมพัฒนาธรุ กิจการค้า กระทรวงพาณชิ ย์ ได้รับ สทิ ธิ ในการเขา้ รบั การพฒั นาตามหลักสตู รทกี่ รมพัฒนาธุรกจิ การคา้ ประกาศ โดยมวี ิธกี ารดงั ต่อไปน “รา้ นพริกแกงแม่น้อย” เริ่มทำ� การค้าขายออนไลน์ อยากให้คนเชอ่ื ถอื วา่ ซ้ือจาก รา้ นคา้ จรงิ สามารถรไู้ ดว้ า่ รา้ นคา้ มตี วั ตนจรงิ ไมท่ จุ รติ รา้ นพรกิ แกงแมน่ อ้ ย กจ็ ะตอ้ งเรม่ิ ดว้ ยการจดทะเบยี น พาณิชย์ธุรกิจ E-Commerce เพ่ือใหเ้ กดิ ความน่าเช่ือถือ ตวั อย่าง ร้านค้าออนไลน์ท่ีข้นึ ทะเบียนพาณชิ ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ แหลง่ ทมี่ า : https://www.lnwshop.com
35 ตวั อยา่ ง ผปู้ ระกอบการธรุ กิจพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ท่ีไดร้ บั รองเคร่อื งหมาย DBD Registered แหลง่ ทมี่ า : https://www.trustmarkthai.com/ เงอ่ื นไขการขอ DBD Registered 1.ผู้ประกอบธุรกิจท่ีประสงค์จะขอใช้เคร่ืองหมายรับรองต้องแสดงหลักฐานการประกอบธุรกิจพาณิชย์ อิเล็กทรอนกิ ส์ เป็นไฟล์เอกสารแนบตอ่ กรม ดังนี้ (กรมพัฒนาธรุ กจิ การค้า, 2562) 1.1 บุคคลธรรมดา - ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน หรอื สำ� เนาใบทะเบยี นพาณิชย์ (พค.0403) พร้อมลงนามส�ำเนา ถูกต้อง - เอกสารทแ่ี สดงวา่ ได้ จดั ท�ำรา้ นคา้ ออนไลน์แลว้ หรอื ช่ือทางออนไลน์ ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ พาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (URL) 1.2 นติ บิ คุ คล - หนงั สือรบั รองนิตบิ คุ คล หรอื ส�ำเนาใบทะเบียนพาณิชย์ (พค.0403) พร้อมลงนาม สำ� เนาถกู ต้อง และประทบั ตราสำ� คัญ - เอกสารท่แี สดงว่าได้ จดั ทำ� รา้ นค้าออนไลน์ แลว้ หรอื ชื่อทางออนไลน์ ท่ใี ชใ้ นการประกอบธุรกิจ พาณชิ ย์อิเล็กทรอนิกส์ (URL) 1.3 กรณีอ่นื ๆ เอกสารการเป็นสมาชิกสมาคมการคา้ หอการค้า เปน็ ต้น การค้าออนไลน์ (E-Commerce) สำ� หรับชุมชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน36 2. เครือ่ งหมายรบั รองมอี ายุ 5 ปี นบั แตว่ ันทีก่ รมอนมุ ตั ิ ใหใ้ ช้เคร่อื งหมาย 3. กรมพฒั นาธรุ กิจการค้าขอสงวนสทิ ธิ์ยกเลกิ เครือ่ งหมาย DBD Registered หากตรวจพบวา่ รา้ นคา้ ออนไลนท์ ่ไี ด้ รับเครอ่ื งหมายดังกลา่ วได้ กระทำ� การใด ๆ ทีไ่ มเ่ ป็นไปตามเงอ่ื นไขและขอ้ ก�ำหนดโดยมติ อ้ ง แจง้ ใหท้ ราบลว่ งหนา้ 4. หา้ มมใิ หท้ �ำการคัดลอกเคร่อื งหมาย DBD Registered และนำ� ไปแสดงไว้ บนรา้ นคา้ ออนไลน์ หรอื Homepage อน่ื ที่ไมต่ รงกบั ร้านคา้ ออนไลนท์ ีไ่ ดแ้ จ้ งไว้กับทางกรมพัฒนาธรุ กจิ การค้า ฉะนั้นการขอใช้เคร่ืองหมายรับรองความน่าเชื่อถือในการประกอบธุรกิจกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ โดยจะได้เครื่องหมายรับรองความน่าเช่ือถือในการประกอบธุรกิจ เพ่ือให้ลูกค้าม่ันใจว่า เวบ็ ไซตข์ องเรามตี วั ตน สามารถตรวจสอบได้ โดยในระดบั เรมิ่ ตน้ คอื การขอเครอ่ื งหมายรบั รองความนา่ เชอ่ื ถอื (DBD Verified) แบง่ ออกเปน็ 3 ระดับ ไดแ้ ก่ Sliver ระดับดี , Gold ระดบั ดมี าก และ Platinum ระดบั ดเี ด่น โดยตัวอยา่ งคอื ถ้าคุณยายบวั เร็ว จดทะเบียนพาณชิ ย์ ในนามบุคคลธรรมดา เม่อื ไดร้ บั การยนื ยันตวั ตนดว้ ย DBD Registered แล้วก็สามารถได้รับการรับรองในระดบั DBD Verified Silver ได้ ดังน้ัน ผู้ประกอบ การชุมชนจะต้องพิจารณาถึงความสอดคลอ้ งกับการขอรับการรับรองมาตรฐานได้ ดังตอ่ ไปนี้ เครอื่ งหมายรบั รองความน่าเชือ่ ถือ (DBD Verified) DBD Verified Platinum ออกใหแ้ กบ่ ุคคลธรรมดา และนติ ิบคุ คล โดยผ่านคุณสมบัติ เช่น จดทะเบียนพาณิชย์ ส�ำหรับธุรกิจพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ และได้รบั เครอื่ งหมาย DBD Registered รวมทั้งผ่าน เกณฑม์ าตรฐานคุณภาพธรุ กิจพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ DBD Verified Gold ออกให้แก่ผทู้ ่จี ดทะเบียนพาณชิ ย์ เฉพาะที่ เปน็ นติ บิ คุ คล โดยผา่ นคณุ สมบตั ิ เชน่ จดทะเบยี นพาณชิ ยส์ ำ� หรบั ธรุ กจิ พาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ไมน่ ้อยกว่า 1 ปี จัดส่งงบการเงนิ ไม่น้อยกวา่ 1 ปี รวมทั้งผา่ นเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพธุรกิจฯ DBD Verified Silver ออกให้แกผ่ ู้ท่จี ดทะเบยี นพาณชิ ย์ เฉพาะท่ี เปน็ นติ ิบคุ คล โดยผ่านคณุ สมบัติ เช่น จดทะเบียนพาณิชย์ส�ำหรับ ธรุ กจิ พาณิชย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ปี จัดสง่ งบการเงินไม่ น้อยกวา่ 2 ปี และมีคณุ สมบัติ อืน่ ๆ ได้ แก่ไดร้ ับรางวลั ประกวด เว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า รวมทั้ง ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพธุรกิจฯ เป็นต้น
คุณสมบัตขิ องผอู้ อนุญาตใิ ช้เคร่อื งหมาย 37 - บุคคลธรรมดา/นติ บิ ุคคล ทป่ี ระกอบธุรกจิ พาณิ ชย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ - จดั สง่ งบการเงนิ (กรณีเปน็ นิตบิ คุ คล) - จดทะเบียนพาณชิ ยส์ าหรับธุรกจิ พาณิชย์ อิเลก็ ทรอนิกส์ - เปน็ เจา้ ของโดเมนเนม - มรี ะบบการสั่งซอื้ การช�ำระเงิน และการจดั ส่ง - ปฏบิ ัตถิ กู ตอ้ งตามกฎหมายและไมข่ ดั ต่อความสงบเรียบรอ้ ย หรือศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน - สนิ ค้าหรือบรกิ ารจะตอ้ งเป็นไปตามประเภทธุรกจิ ของพาณชิ ยกจิ ท่ไี ด้จดทะเบียนพาณชิ ย์ และไมข่ ดั ตอ่ กฎหมายอื่นที่เกย่ี วข้อง - สินคา้ หรือบรกิ ารท่อี าจสง่ ผลกระทบต่อเด็กหรอื เยาวชน จะตอ้ งจัดให้มขี อ้ ความเตือนบนเว็บไซต์ เพ่อื ใหค้ ว ามคุม้ กคราองรสยทิ ธนื่ ิ แขกอ่เดอ็กแนลุญะเยาาวตชนใิ ช้เครอ่ื งหมาย - สามารถย่นื ผา่ นทาง www.trustmarkthai.com หรอื กองพาณชิ ยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ บทสรปุ หนังสือ เรื่อง การค้าออนไลน์ส�ำหรับชุมชน (E-Commerce) เล่มนี้ผู้จัดท�ำ ได้สรุปเน้ือหา เรยี บเรยี งจากการบรกิ ารวชิ าการสชู่ มุ ชน เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นไดเ้ ขา้ ใจ ในเรอ่ื งของการขายสนิ คา้ ออนไลน สรา้ งใหร้ า้ น คา้ ชมุ ชน รเู้ ทา่ ทนั เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และการใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั อยา่ งแทจ้ รงิ ในการสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การคา้ ออนไลนร์ ะดบั ชมุ ชน เพอ่ื นำ� เสนอสนิ คา้ และบรกิ ารของชมุ ชนในรปู แบบเนอื้ หาทน่ี า่ สนใจ หรอื เรอ่ื งราวที่ มกี ารเช่อื มโยงกับภูมปิ ัญญา เชื่อมโยงกระบวนการต่างๆ ของการค้าขายออนไลนแ์ บบครบวงจร ส่งเสรมิ การ ขายใหแ้ กช่ มุ ชนผ่านสอ่ื ออนไลน์ ทำ� ใหส้ ามารถสื่อสารจากชมุ ชนออกไปใหไ้ กลขนึ้ เปน็ ที่รจู้ กั เพม่ิ มากข้นึ มกี ารซอื้ ขายสนิ คา้ แบบออนไลน์ นอกจากชอ่ งทางเดมิ ทค่ี า้ ขายแบบออฟไลน รวมทงั้ ผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การจำ� หนา่ ย สินค้าและบริการของชุมชนสู่ตลาดภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐาน “เมื่อเราได้เรียนรู้การค้า ออนไลน์แล้วจะรู้สึกได้ว่าโลกภายนอกไม่ไกลจากเราและเราสามารถใช้ช่องทางออนไลน์เข้าถึงทุกคนได้ทุก ท่ี ทุกเวลา ทั้งในประเทศและต่างประเทศ” นับได้ว่าเป็นอีกก้าวหน่ึงในการวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัล ในระดบั ชมุ ชนเพ่ือน�ำไปสูค่ วามเขม้ แข็งใหใ้ ห้แก่ชมุ ชน ก้าวนำ� ไปสูก่ ารพฒั นาอย่างม่นั คง มง่ั คั่ง และยงั่ ยืน การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำหรบั ชมุ ชน
การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน38 เอกสารอา้ งอิง กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ . (21 มถิ นุ ายน 2562). เงอ่ื นไขการขอ DBD Registered. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https:// www.trustmarkthai.com/index.php/component/dbd/main?layout=condition กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม. (สงิ หาคม 2561). เนต็ ประชารฐั เพอื่ การสรา้ งรายได.้ เขา้ ถงึ ได้ จาก: http://www.mdes.go.th การทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย.(20 มถิ นุ ายน2562). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:https://thai.tourismthailand.org/home “ขายดดี อทคอม (Kaidee.com) ” [ระบบออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://www.kaidee.com “ซอ้ื ของออนไลน”์ [ระบบออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://blog.selsuki.co.th/ซอ้ื ของออนไลน์ “เทพชอ็ ป (lnwshop)” [ระบบออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://www.lnwshop.com “ไทยแลนดโ์ พสตม์ ารท์ (ThailandPostmart)”[ระบบออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://thailandpostmart. com เนต็ ประชารฐั ศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชน. (สงิ หาคม 2561). อนิ เทอรเ์ นต็ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: www.netpracharat.com เนต็ ประชารฐั ศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชน. (สงิ หาคม 2561). 5 ขนั้ ตอนสกู่ ารเปดิ รา้ นคา้ ออนไลน.์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: www.netpracharat.com บรษิ ทั กราฟฟกิ บฟุ เฟต่ ์ จำ� กดั . (10 มถิ นุ ายน 2562). ขนั้ ตอนการออกแบบตราสนิ คา้ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://graphicbuffet.co.th/ขน้ั ตอนการออกแบบ/ “พนั ธวณชิ (Pantavanij)” [ระบบออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://www.pantavanij.com มหาวิทยาลัยทักษิณ. (2560). เอกสารประกอบการบรรยาย Workshop การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Repackaging Design). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/malika/UI/DL/Workshop รตั นา จรญู ศกั ดสิ์ ทิ ธ.ิ (30 พฤษภาคม 2560). เอกสารประกอบการอบรมกจิ กรรมพฒั นาศกั ยภาพคนพกิ าร ผดู้ อ้ ยโอกาส และผสู้ งู อายดุ ว้ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั . สำ� นกั งานคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม. วศนิ เพม่ิ ทรพั ย,์ วโิ รจน์ ชยั มลู . (2548). ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ. พมิ พล์ กั ษณ,์ โปรวชิ น่ั : กรงุ เทพฯ. ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ICT ชมุ ชน. (25 พฤษภาคม 2562). อนิ เทอรเ์ นต็ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://thaitelecentre.org “สนิ คา้ สะดวกซอื้ ”[ระบบออนไลน]์ .เขา้ ถงึ ไดจ้ าก:https://www.google.co.th/search?q=สนิ คา้ สะดวกซอ้ื “สนิ คา้ โอทอป (OTOP)” [ระบบออนไลน]์ . ไทยตำ� บลดอทคอม. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.thaitambon. com/product “สนิ คา้ ” [ระบบออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://www.lazada.co.th/ สำ� นกั งานคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ (2 มถิ นุ ายน 2562). เอกสารประกอบการ อบรมหลกั สตู รการการขายสนิ คา้ ออนไลน์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : www.equitable-society.com สำ� นกั งานคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ (สงิ หาคม2560). เอกสารประกอบการอบรม วทิ ยากร E-Commerce ชมุ ชน Train the Trainer. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.onde.go.th สำ� นกั งานคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ (สงิ หาคz^hม2560). เอกสารประกอบการ อบรม หลกั สตู รดจิ ทิ ลั คอมเมริ ซ์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.onde.go.th สำ� นกั งานคณะกรรมการดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต.ิ (สงิ หาคม 2560). คมู่ อื สำ� หรบั ผปู้ ระกอบ การรา้ นคา้ ชมุ ชน. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.onde.go.th สำ� นกั งานพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั (องคก์ ารมหาชน). (26 กนั ยายน 2560). สงิ่ พมิ พเ์ ผยแพร.่ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://tdga.dga.or.th/index.php?lang=th สำ� นกั งานพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ (องคก์ ารมหาชน). (30 พฤษภาคม 2562). Home. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก thaibiodiversity.org: http://www.thaibiodiversity.org/bedo/index.php สำ� นกั งานสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ (องคก์ ารมหาชน).(25 พฤษภาคม 2562). การออกแบบและพฒั นา ตราสญั ญาลกั ษณ.์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : www.tcdc.or.th/articles/business-industrial สกุ ฤตา หริ ณั ยชวลติ . (2552). กวา่ จะเปน็ บรรจภุ ณั ฑ์ Background of Package. มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ.
ประวัตผิ เู้ ขียน 39 ชื่อ-สกุล นางสรุ นี าฎ มะโนลา ต�ำแหนง่ ปัจจบุ นั อาจารย์ประจ�ำหลักสตู ร ระบบสารสนเทศทางธุรกจิ การศึกษา ปริญญาโท วท.ม. การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร E-Mail [email protected] สถานที่ตดิ ต่อ หลกั สูตรระบบสารสนเทศทางธุรกิจ คณะบริหารธรุ กจิ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 128 ถ.ห้วยแก้ว ต.ชา้ งเผือก อ.เมอื ง จ.เชียงใหม่ 50300 นางสาววาสนา ดวงคำ� ชอ่ื -สกุล อาจารยป์ ระจำ� หลกั สูตร ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ ต�ำแหน่งปัจจบุ นั ปรญิ ญาโท วท.ม. (วทิ ยาการคอมพิวเตอร)์ การศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ [email protected] E-Mail หลกั สตู รระบบสารสนเทศทางธุรกิจ สถานท่ีตดิ ต่อ คณะบริหารธุรกจิ และศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา 128 ถ.หว้ ยแก้ว ต.ชา้ งเผือก อ.เมือง จ.เชยี งใหม่ 50300 ชอื่ -สกลุ นางสาวพรพิพฒั น์ ทองปรอน ต�ำแหนง่ ปจั จุบัน อาจารยป์ ระจ�ำหลักสตู ร ระบบสารสนเทศทางธุรกจิ การศกึ ษา ปริญญาโท วท.ม. สาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศและการจดั การ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ E-Mail [email protected] สถานท่ีตดิ ต่อ หลักสตู รระบบสารสนเทศทางธรุ กจิ คณะบรหิ ารธรุ กจิ และศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา 128 ถ.หว้ ยแกว้ ต.ชา้ งเผอื ก อ.เมอื ง จ.เชยี งใหม่ 50300 การคา้ ออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำหรบั ชมุ ชน
40 การค้าออนไลน์ (E-Commerce) ส�ำห ัรบชุมชน กองบรรณาธกิ าร การคา้ ออนไลนส์ ำ�หรบั ชุมชน ISBN : 978-974-625-869-2 ISBN : 978-974-625-870-8 (e-book) ที่ปรกึ ษา รองศาสตราจารยศ์ ลี ศิริ สง่าจิตร ดร.สรุ พล ใจวงศษ์ า ผู้เขยี น มะโนลา ดวงคำ� นางสรุ นี าฎ ทองปรอน นางสาววาสนา นางสาวพรพพิ ฒั น์ กองบรรณาธกิ าร นายภฤษพงศ์ เพชรบลุ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ยุทธนา เขาสเุ มรุ ผชู้ ่วยศาสตราจารยเ์ กรียงไกร ธารพรศรี นายนรศิ กำ� แพงแก้ว ว่าท่ี รต.รชั ตพ์ งษ์ หอชัยรัตน์ วา่ ท่ี รต.เกรียงไกร ศรีประเสรฐิ นายพิษณ ุ พรหมพราย นายจกั รินทร ์ ชื่นสมบัติ นางสาวรัตนาภรณ ์ สารภ ี นางสาวอารรี ตั น์ พมิ พน์ วน นายเจษฎา สภุ าพรเหมนิ ทร์ นางสาวสุธาสนิ ี ผอู้ ยู่สุข นางสาวฉตั วณัฐ มโนพฤกษ ์ นางสาวหนึ่งฤทัย แสงใส นางสาวเสาวลักษณ ์ จนั ทร์พรหม นางสาวทิน ออ่ นนวล นางสาววราภรณ ์ ต้นใส นายวรี วทิ ย์ ณ วรรณมา จดั ทำ�โดย สถาบนั ถ่ายทอดเทคโนโลยสี ู่ชุมชน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา 98 หมู่ 8 ต�ำบลป่าป้อง อำ� เภอดอยสะเก็ด จังหวดั เชียงใหม่ 50220 พมิ พท์ ่ี บริษทั สยามพมิ พ์นานา จำ� กัด 108 ซอยพงษส์ ุวรรณ ตำ� บลศรภี มู ิ อำ� เภอเมือง จังหวัดเชยี งใหม่ 50200 โทรศัพท์ 0 5321 6962
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: