Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการด้านสังคมของเด็กปฐมวัย

พัฒนาการด้านสังคมของเด็กปฐมวัย

Published by ภัทรวดี คงตระกูล, 2021-10-21 15:13:48

Description: พัฒนาการด้านสังคมของเด็กปฐมวัย

Search

Read the Text Version

พัฒนาการดานสังคมของเด็กปฐมวยั ภทั รวดี คงตระกูล กลุม 8 เลขที่ 4 รายงานน้ีเปนสว นหน่ึงของการศกึ ษาวิชาการคน ควาและการเขยี นรายงานเชงิ วิชาการ สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2564



พัฒนาการดานสังคมของเด็กปฐมวยั ภทั รวดี คงตระกูล กลุม 8 เลขที่ 4 รายงานน้ีเปนสว นหน่ึงของการศกึ ษาวิชาการคน ควาและการเขยี นรายงานเชงิ วิชาการ สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2564

ก คำนำ รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อปฏิบัติการเขียนรายงานการคนควา ทถี่ ูกตองอยางเปนระบบ อัน เปนสวนหนึ่งของการศึกษารายวิชา 01210017 การคนควาและการเขียนรายงานเชิงวิชาการ ซึ่งจะ นำไปใชในการทำรายงานคนควาสำหรับรายวิชาอ่ืนไดอีกตอไป การที่ผูจัดทำเลือกทำเรื่อง พัฒนาการ ดา นสงั คมของเด็กปฐมวัย เนอ่ื งดว ยพฒั นาการดานสงั คมของเด็กปฐมวัยเปนสิ่งท่สี ำคัญมาก ดงั นั้น จึงมี ความจำเปน อยางมากทีจ่ ะตองนำเสนอความรูความเขาใจที่ถูกตองเกีย่ วกับพัฒนาการดานสังคมของ เดก็ ปฐมวัย รายงานเลม นกี้ ลาวถึงเนื้อหาเกีย่ วกับความหมายและพฒั นาการในดา นตางๆของเดก็ ปฐมวัย พัฒนาการดานสังคมของเด็กปฐมวัย เหมาะสำหรับผูที่ตองการความรูความเขาใจเกี่ยวกับพัฒนาการ ดานสังคมของเด็กปฐมวยั ทีถ่ ูกตอ ง และทราบแนวทางในการพัฒนาสังคมของเดก็ ปฐมวยั ขอขอบคุณผูชวยศาสตราจารย ดร. พนิดา สมประจบ ที่กรุณาใหความรูและคำแนะนำโดย ตลอด และขอขอบคุณทานเจาของหนังสือ บทความ งานวิจัย ที่ผูเขียนใชอางอิงทุกทาน หากมี ขอ บกพรอ งประการใด ผูเขียนขอนอมรบั ไวเ พ่ือปรับปรงุ ตอไป ภัทรวดี คงตระกูล 4 ตุลาคม 2564

ข สารบญั หนา คำนำ………………………………………………………………………………………………………………………… ก สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………………. ข บทที่ 1.บทนำ………………………………………………………………………………………………………………… 1 1.1ความหมายพฒั นาการทางสงั คมของเด็กปฐมวัย………………………………………………… 2 1.2 ความหมายของการพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคมของเด็กปฐมวยั ……………………….. 3 1.3 ความสำคัญของสัมพันธภาพทางสังคมของเดก็ ปฐมวยั ………………………………………. 4 2. พฒั นาการดา นสังคมและอารมณของเด็กปฐมวยั …………………………………………………… 6 2.1พฒั นาการทางสงั คมของเด็กต้งั แต 3-6ป………………………………………………………….. 7 2.1.1 พัฒนาการทางสงั คมของเดก็ วยั 3ขวบ…………………………………………………… 8 2.1.2 พัฒนาการทางสงั คมของเดก็ วัย 4ขวบ…………………………………………………… 8 2.1.3 พฒั นาการทางสงั คมของเด็กวยั 5ขวบ…………………………………………………… 8 2.1.4 พัฒนาการทางสังคมของเดก็ วัย 6ขวบ…………………………………………………… 8 2.2 การกำหนดบุคลกิ ภาพของเดก็ ไมนอยกวา ชว งวยั ทารก……………………………………… 8 2.2.1 การฝก หดั ควบคุมจิตใจ………………………………………………………………………… 9 2.2.2 การฝก ใหเ ดก็ รูจ กั ตนเอง………………………………………………………………………. 9 2.2.3 การฝก หัดใหเ ชอ่ื ฟง …………………………………………………………………………….. 9 2.2.4 การฝก การอยูรว มกับผูอน่ื ……………………………………………………………………. 9 2.2.5 การฝก ฝกจรยิ ธรรม…………………………………………………………………………….. 10

ค สารบัญ (ตอ ) หนา 2.2.6 การฝก ปฏบิ ตั ิกิจกรรมทางศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี กบั ครอบครัว โรงเรยี นและชมุ ชน…………………………………………………………………… 10 2.2.7 การฝก ใหเด็กพงึ่ ตนเอง………………………………………………………………………… 10 2.2.8 การฝก ใหรูจ กั สภาพชมุ ชนท่ตี นเองอย…ู …………………………………………………. 10 2.2.9 การฝก หัดใหรจู ักตนเองและหนาท่ี รจู ักสิทธขิ องตนเองและผอู ืน่ ……………… 11 3. สรุป…………………………………………………………………………………………………………………. 12 บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………………… 17

1 บทท่ี 1 บทนำ เฮอรลอค ไดใหความหมายของพัฒนาการทางดานสังคมของเด็กปฐมวัยไววา การพัฒนา ความสามารถในการแสดงพฤตกิ รรมใหส อดคลองกับแบบแผนทสี่ งั คมยอมรบั เพื่อเขา กับสงั คมได และการ ท่ีเดก็ สามารถปรับตวั ใหเขากบั สงั คมไดดีมากนอยเพียงใด เด็กสามารถชวยเหลือตนเองไดดีขึ้น อาบน้ำ แตงตัว ใสรองเทาเอง บอกเวลาจะถายได ถอด กางเกง เขา หองนำ้ เอง และทำความสะอาดหลังขับถายได - เดก็ เรยี นรูท ี่จะปฏิบัตติ วั เพือ่ ใหสังคมยอมรับ ทำตัวใหเขากลุมได รูจักให รับ รูจักผอนปรน รูจักแบงปน เด็กเรียนรูจากคำสอน คำอธิบายและการ กระทำของพอแม เด็กรสู ึกละอายใจเมือ่ ทำผดิ เดก็ เร่ิมรูจกั เห็นใจ ผอู น่ื เม่อื เห็นแมเสียใจเดก็ อาจเอาตกุ ตา มาปลอบ เปน ตน พัฒนาการทางดา นสังคมของเด็กปฐมวยั ในชวงเร่ิมตนวัยเด็กยงั มีความสัมพันธเฉพาะกับคนใน ครอบครัว และยังยึดติดตัวเองเปนศูนยกลาง แตเมื่อเขาสูวัย 3-4 ขวบ เด็กเริ่มมีความสัมพันธกับคน ภายนอก การเลี้ยงดูทส่ี งเสรมิ พฒั นาการทางดานสงั คมของเด็กปฐมวยั จึงควรคำนงึ ถงึ สง่ิ ตางๆ ดังนี้ 1.การเลน การทำกิจกรรมตางๆชว ยพฒั นาการทางดา นสงั คม เพราะการเลนทำใหเดก็ ไดมีโอกาส ปฏิสัมพนั ธกบั ผูอ่ืน ชว ยใหม ีโอกาสฝกวธิ ีเขาสังคมเรียนรูการที่จะอยูรว มกับผูอนื่ นอกจากน้ันถาพอแมได สงั เกตขณะที่เด็กกำลังเลนหรือทำกิจกรรม พอแมจะสังเกตเห็นวาเดก็ จะเรยี นรูการรอคอย การเลนเรยี นรู วิธีเลนกับผูอื่น เรียนรูการแบงปนของเลนใหเพื่อนในกลุมที่เลนอยูดวยกัน การแลกเปลี่ยนของเลน ผลัดเปลี่ยนกันเลน บาง บางครั้งก็เปนผูนำในการเลนเครื่องเลนหรือของเลนตางๆ บางครั้งก็เปนผูตามทีด่ ี อกี ท้ังยงั รูจกั รักษากติกาการเลน รูจักแพชนะ ซึ่งเทา กับเปน การเตรยี มใหเด็กวยั น้รี จู ักปรับตัวในสังคมไดดี เม่ือเติบโตเปน ผูใหญ 2.การพาเด็กไปเที่ยวสถานที่ตางๆ ทำใหเด็กไดรูจักสังคมนอกบาน ไดเรียนรูการอยูรวมกัน เชน พาไปเทีย่ วสวนสัตว ขณะทเี่ ดินดูตามกรงสัตว เด็กจะเห็นสัตวที่อาศัยอยูดวยกัน การแบงปนอาหารกัน ขณะเดียวกันพอแมไดพูดคุยสอนเด็กถึงการอยูรวมกันของสัตว การพึ่งพาอาศัยกัน การแบงปน การ

2 เสียสละ ซึ่งเด็กจะไดเห็นดวยตนเองเปนการศึกษาจากของจริงเด็กจะคอยๆเรียนรูการอยูรวมกัน การ อาศยั ซง่ึ กันและกนั การแบง ปน เปนการสงเสรมิ พัฒนาการดา นสังคมของเด็ก 3.การพาเดก็ ไปพบญาติพ่ีนอง ลูกๆ หลานๆ ในวัยเดียวกันหรอื พอ แมพาไปบา นเพ่ือน ของพอแม ที่มีลูกอยูในวัยเดยี วกนั ใหเด็กๆไดอยูรวมกันเพื่อเปนการฝกใหรูจ ักอยูร วมกับผอู ืน่ รูจักปรับตัวใหเขากับ ผอู น่ื เพือ่ เปน การปูพ้นื ฐานในการเขา สังคม และอยรู วมกันอยา งมีความสุขในวัยตอมา 1.1ความหมายพฒั นาการทางสงั คมของเด็กปฐมวัย พัฒนาการทางสังคม หมายถึง การพัฒนาความสามารถในการแสดงพฤติกรรมใหสอดคลองกับ แบบแผนทีส่ ังคมยอมรับ เพื่อดำรงชีวิตในสังคมไดอยางเปนปกติสุข ซึ่งเด็กอายุ 3-6 ปจะเปนชวงวัยที่ สนใจเรียนรูสังคมภายนอกบานมากขึ้น เปนการเรียนรูเกี่ยวกับการสรางสัมพนั ธภาพกับบุคคลอื่นที่อยู รอบตัว พัฒนาการดา นสังคมของเด็กวยั นีจ้ งึ เปน พื้นฐานการสรางบุคลิกภาพที่เหมาะสมของเขาในอนาคต เม่ือเด็กยางเขาสูวยั สามขวบ เด็กจะเรียนรูกระบวนการทส่ี ำคญั และจำเปน สำหรบั เขา และจะทำ ใหเด็กเรยี นรูแนวทางการปฏิบัติตัวในสงั คมที่ถูกตอ ง นัน่ คอื การปรับตัวใหบุคคลอนื่ ยอมรับ เพ่อื อยูรวมกับ บคุ คลรอบตัวได ซ่ึงการเรยี นรนู ้เี ปนกระบวนการปรบั ตวั ทางสังคม (Socialization process) เด็กเรียนรทู ี่ จะรวมมือกับผูอื่นในลกั ษณะกลุม รูจ ักการเปนสมาชิกของกลุม รูจักปฏิเสธ การรับ การสื่อสาร หรอื การ ใชภาษา ซึ่งสวนมากเด็กจะเรียนรูผานการเลน ดังนั้น การเลนและการทำกิจกรรมรวมกับผูอ ืน่ จะชวยให เด็กเรียนรูที่จะลดตนเองจากการเปนศูนยกลางไปสูการปฏิบัติที่ยอมรับคนอื่นมากขึ้น แตการมี สัมพันธภาพกับบุคคลอน่ื ยังอยูในชว งเวลาสัน้ ๆ เราจงึ มกั จะเห็นวา เดก็ มีพฤติกรรมการแสดงอารมณดีสลับ อารมณไ มด ีอยูเชนนน้ั การอบรมเล้ยี งดเู ด็กดว ยความเขาใจ ดว ยการเปน แบบอยา งท่ีดีและแนะนำส่ังสอน เด็กดวยความออนโยน ชี้แนะระเบียบกฎเกณฑของสังคม การจัดกิจกรรมกลุม การชวนเลนแบบมี ขอ ตกลง จะชว ยพฒั นาการดานสงั คมใหเด็กไปสูคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค พฒั นาการทางสงั คมของเด็กวัย 3-6 ป เปน พนื้ ฐานสำคญั ในการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ ดังทน่ี ักจติ วทิ ยาผูมีชอ่ื เสยี งไดก ลาวไว Sigmund Freud กลาวถึงขั้นตอนพัฒนาการของเด็กวา ประสบการณในวัยเด็กมีความสำคัญท่ี สงผลตอบุคลิกภาพในวัยผูใหญ โดยเฉพาะชวงปฐมวัยวาเปนวัยสำคัญที่สุด หากวยั เด็กมีพัฒนาการท่ี สมบูรณจากการอบรมเล้ียงดอู ยา งถูกตอ งจากครอบครวั เด็กจะผา นขน้ั ตอนการเจรญิ เตบิ โตอยางดี ไมเกิด การชะงักงัน (Fixation) หรือการถอยกลบั (Regression) เมื่อเด็กเติบโตขึ้นจะมีบุคลิกภาพดีเปนปกติ แต ในทางตรงขาม หากเด็กไมไดรับการตอบสนองเด็กจะชะงักในวัยเด็กนั้นตลอดไป ฟรอยด กลาววา การ

3 พัฒนาการของเด็กวัยนี้จะอยูในขั้นความพอใจอยูที่อวัยวะเพศ (Phallic Stage) ลักษณะความสนใจของ เด็กเริ่มมองเห็นความแตกตางของเพศมากขึ้น เด็กชายจะเลียนแบบพอ ผูหญิงจะเลียนแบบแมมากข้ึน ดังนั้น การเลี้ยงดูเด็กอยางใกลชิด ใหโอกาสเด็กเรียนรูบทบาทของตนตามเพศจากการเลียนแบบพอแม เปนการสงเสรมิ พัฒนาการทางสงั คมของเด็กไดอยางเหมาะสม Erik H. Erikson กลาววา ในชวงอายุ 3-6 ป เปนระยะที่พัฒนาความคิดรเิ ริ่มหรือความรูสึกผิด (Initiative versus Guilt) เด็กจะกระตอื รือรนที่จะเรียนรสู ิ่งตา งๆรอบตัว รจู กั เลนเลียนแบบสมมตุ ิ เด็กจึง ควรมีอิสระท่ีจะในการคนหา หากไมมีอิสระเดก็ จะรสู ึกผิดทีไ่ มสามารถเรียนรู สงผลตอความรสู ึกไมดีของ เด็ก 1.2 ความหมายของการพัฒนาสมั พันธภาพทางสังคมของเดก็ ปฐมวัย ไดม ีผกู ลา วถึงความหมายของการพฒั นาสมั พนั ธภาพทางสงั คมของเด็กปฐมวยั เอาไวด ังนี้ โฮเวิรด การดเนอร (เยาวพา เดชะคุปต. 2552 : 33 – 34; อางอิงจาก Howord Gardner.1933) นักวิทยาศาสตรดานระบบประสาทแหงมหาวิทยาลยั ฮารดวารดไดศึกษาเกี่ยวกับความหลากหลายของ สติปญญาและไดพูดถึงสติปญญาดานความเขาใจระหวางบุคคล (lnterpersonal lnteligence) ท่ี เกี่ยวของกับการสรางสัมพันธภาพวา คือ ความสามารถในการเขาใจอารมณ ความรูสึก ความคิด และ เจตนาของผูอ่ืน ทั้งนรี้ วมถึงความไวในการสงั เกต นำ้ เสียง ใบหนา ทาทาง ท้ังยงั มีความสามารถสงู ในการรู ถึงลักษณะตางๆ ของสัมพันธภาพทางสังคมของมนุษยและสามารถตอบสนองไดอยางเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ ไฉไล บญุ มาก (2537: 19) กลาววา การสรางสมั พันธภาพ หมายถงึ การที่เดก็ สามารถอยูรวมกัน กับเพื่อนได โดยที่เพื่อนๆในกลุมยอมรับ มีอารมณและพฤติกรรมที่แสดงออกตอกันอยางเหมาะสม ตลอดจนเอื้อเฟอตอเพ่ือนในกลมุ ดารณี ดิษยเดช (2531: 8) กลาววา พัฒนาการทางสงคมเปนการแสดงความสามารถในการ แสดงพฤตกิ รรมใหสอดคลองกบั แบบแผนทีส่ งคมยอมรับ ปฏิบัติตนไดตามที่สังคมกำหนด และมีความรู สกึ วาตนเปนสวนหน่งึ ของสงั คม มีสวนรวมและพอใจกับสงั คมน้นั ๆ อรวรรณ สุมประดิษฐ (2533: 12) กลาววา พัฒนาการทางสังคมเปนการแสดงพฤติกรรม ของ มนษุ ยทีส่ ังคมนั้นยอมรับและสามารถปฏิบัติตามบทบาทที่วางไวไดอยางถูกตอง โดยรูส ึกวาตนเปนสวน หนึ่งของสงั คม

4 สรุปความหมายของการพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคมไดวาการพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคมของ เด็กปฐมวัยเปนวัยท่ีเดก็ มกี ารปรับตัวเรยี นรพู ฤติกรรมทางสงั คม สามารถสรางความสมั พนั ธร ะหวางตนเอง กับผูอื่นไดตามลำดบั ขั้นตอนของวัยและชวงอายุ เด็กสามารถแสดงพฤติกรรม ความรูสึกที่เหมาะสมใน สภาพแวดลอ มและสถานการณต า งๆ ในชีวติ ประจำวัน สามารถเลน ทำงาน และอยูร วมกบั ผูอ่ืนไดอยางมี ความสุข ซ่ึงเปน สง่ิ สำคัญทีจ่ ะชวยสงเสริมใหเด็กเกิดการเรียนรูและมพี ัฒนาการทางสังคมในลำดบั ตอไป 1.3 ความสำคัญของสัมพันธภาพทางสงั คมของเด็กปฐมวัย สัมพันธภาพทางสังคมเปนสิ่งท่ีมีความสำคัญอยางย่ิงสำหรบั เด็กปฐมวยั ซึ่งมีผูกลาวเอาไวหลาย ทศั นะ ดังน้ี พัชรี ผลโยธิน (2538: 2) กลาววา เด็กอนุบาลนั้นถามีโอกาสไดปฏสิ ัมพันธกับเด็กอืน่ หรือผูใหญ เด็กจะยิง่ มโี อกาสเรียนรูความคิดเห็นของผูอ่ืน รูจกั แกไขปญหาและเพื่อนจะมีอิทธิพลตอการพัฒนาเด็ก ดานสงั คมและสติปญญาเปนอยางยิ่ง ทั้งน้ีเพราะเด็กตางกับผูใหญตรงที่เด็กจะแสดงออกกับเพื่อนแตละ คนอยางเสมอภาค ซ่ึงเทา กับเปดโอกาสใหเด็กแสดงความคิดเหน็ โตแยงกัน อยางอิสระถาเปดโอกาสเด็ก อยางตอเนื่องเด็กจะเห็นวาคนอื่นมีความคิด ความรูสึกแตกตางจากตนเองได และเริ่มตระหนักถึง พฤติกรรมของตนทแ่ี สดงตอคนอน่ื ชคิ เคนแดนซ (สทุ ธพิ รรณ ธรี พงศ. 2534: 15; อางองิ มาจาก Chickendanz. n.d.) กลา ววา การ ที่เด็กมปี ฏิสัมพันธทางสังคมโดยเฉพาะอยางยิ่งการปฏิสัมพันธกับกลุมเพื่อนในโรงเรียน จะทำใหเด็กได เรียนรูวิธีปฏิบตั ิตน ซึ่งตางจากพฤติกรรมที่ตนอยูทีบ่ า น เพราะที่โรงเรียน เด็กจะตองเรียนรูวาเขากำลังมี การแบงปน ทงั้ ในดานของพื้นท่ี วสั ดุของเลน เรียนรกู ารทำงานรว มกันกับเพอ่ื น ตองยอมรบั ฟงทัศนะของ ผูอ ื่น เรียนรูเรอ่ื งของการใหค วามรวมมือ ซ่งึ สง่ิ เหลาน้ีจะนำเดก็ ไปสูว ธิ กี ารปรบั ตวั ใหเขากับผอู ื่นตอ ไป กุลยา ตันติผลาชีวะ (2549, กรกฎาคม: 18 - 21) กลาววา เด็กจะเรียนรูความคิดเห็นและ ความรูส ึกของผูอืน่ และพรอ มที่จะแกไขพฤติกรรมการแสดงตนตอผูอ ื่นในทางที่ดี เรียนรูที่จะหวงใยผูอื่น ซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่น ซึ่งสังคมของเด็กกาวหนาขึ้นตามลำดบั จากบานสูโรงเรียนและสูชุมชนนอก โรงเรยี นท่ีเปน สงั คมไกลจากตวั เด็กออกไป การมสี มั พันธภาพทางสงั คมมีอทิ ธิพลตอบุคลกิ ภาพ การเรียนรู ที่จะสรางความสัมพันธทีด่ กี ับเพื่อน รวมทั้งมีความพึงพอใจในสัมพันธภาพทางสังคมทีด่ ีตอผูอ ่ืนเปน สิง่ ท่ี จำเปนอยางยิ่งสำหรับเด็ก เด็กทุกคนตองการเปนที่ยอมรับของกลุมเพื่อน ความสมพันธทีเ่ ด็กมีตอ เพ่ือน จะเปนเครื่องตัดสินวาเขามองโลกและตนเองอยางไรถาเขารูสึกมั่นคงในความสัมพันธกับเพื่อนรุนราว

5 เดียวกัน เขาก็จะรูสึกวาโลกนี้เปนสถานที่ที่อบอุนนา อยูรูสึกมั่นใจในตนเองและผูอื่นดวย ซึ่งเด็กมีความ ตองการที่จะเลนกับเพื่อนเปนกลุม ตองการความปลอดภยั การยอมรับกําลงั ใจ และคำชมจากผูใหญ ตอง การความอิสระและความชวยเหลือ ซึ่งเปนลักษณะความตองการทางสังคมของเด็ก การจัดใหเด็กไดทำ กิจกรรมรวมกันเปนกลุม ใหเด็กไดแสดงออกทำใหเด็กเกิดการปรับตัวและปรับพฤติกรรม มีความ ภาคภมู ิใจในตนเอง อันนำไปสูพฤติกรรมทางสงั คมทีพ่ งึ ประสงค

6 บทท่ี 2 พฒั นาการดา นสังคมและอารมณของเด็กปฐมวยั พัฒนาการดานสังคมชวยใหเด็กไดเรียนรูและเขาใจตนเองและผูอื่น มีการปรับตัวไดอยาง เหมาะสม และสามารถอยูรว มกบั ผอู ่ืนในสังคมไดอยางปกตสิ ุข พัฒนาการดา นสงั คมเกิดข้ึนตั้งแตวัยทารก หากทารกไดรับการตอบสนองอยางเหมาะสม จะมีความไววางใจผูเลี้ยงดู ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนของ พัฒนาการดานสังคมที่สำคัญ เมื่ออายุมากขึ้นเด็กจะมีการพัฒนาที่ซับซอนมากขึ้น จะเริ่มอยากเลนกับ เพือ่ น มีกลุมเพื่อนสนิท ไดเ ลน ไดแ สดงความรูสกึ ไดเ รียนรขู อตกลง กฎเกณฑต า งๆ ของสังคมตามวัยแต ละชวงอายุ ในปจ จุบันสังคมมีการเปลย่ี นแปลงเปนชมุ ชนอุตสาหกรรมมากขึน้ โดยเฉพาะเขตปริมณฑล พบ การยายถนิ่ เขามาทำงาน ซึ่งสว นใหญม ลี ักษณะเปนครอบครัวเดี่ยว สง ผลใหขาดเครอื ขายระบบสงั คม ชว ยเหลือดแู ลเดก็ จากการสำรวจโดยสำนักงานสถิตแิ หง ชาตพิ บวา เดก็ อายุ 3-5 ป ไดรับการดแู ลจาก สถานรบั เลย้ี งเด็ก ศูนยพฒั นาเด็ก และโรงเรยี นกวา รอ ยละ 53.3 จำนวนเด็กปฐมวยั ท่ตี องผละออกจากพอ แมก อนวัยอนั ควรถูกสงไปเลีย้ งดูในโรงเรยี นระดบั กอนประถมศึกษาเพ่มิ ขึ้นอยา งตอเน่อื ง และดว ย ลักษณะการแขงขันในสังคมท่ีท้ังพอ และแมตองหารายได สง ผลใหครอบครัวมีความตึงเครยี ด มเี วลาใหกบั บุตรนอ ยลง การดแู ลตอบสนองเด็กท้งั ดา นรา งกายและจิตใจลดลง นอกจากนน้ั สถานภาพสมรส ระดบั การศกึ ษาของพอแม รายไดข องครอบครัว ความรูเ กี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูก็สง ผลกระทบโดยตรงตอ สุขภาพและพัฒนาการองครวมของเดก็ ปฐมวยั เชน กัน ในขณะเดียวกันจากการศกึ ษาศนู ยพ ัฒนาเด็กปฐมวยั สวนใหญในเขตปรมิ ณฑลพบวา เนน ไปท่ี การควบคุมการแพรกระจายเช้อื การสงเสริมภาวะโภชนาการ การเจรญิ เตบิ โต พฒั นาการ ทนั ตสุขภาพ และการปองกนั อุบัตเิ หตุ สว นฐานขอ มลู เกีย่ วกบั การดูแลเด็กใหมีพฤติกรรมทีเ่ หมาะสม และสง เสริมให เดก็ มีพ้ืนฐานทางอารมณทีเ่ หมาะสมยังมีนอย ไมมีแนวทางการปองกันแกไขเดก็ ท่ีมปี ญหาเกยี่ วกับพ้ืนฐาน ทางอารมณ ท้ังท่ีพ้นื ฐานทางอารมณในเดก็ ปฐมวยั เปนหัวใจสำคัญของบคุ ลิกภาพทเ่ี ปน ลักษณะสำคญั ของ บุคคลในวัยตอ มา ปจจุบนั พบปญหาสุขภาพจำนวนมากท่เี ปนผลตอเนือ่ งมาจากพฤตกิ รรมการอบรมเลีย้ งดูเด็กไม เหมาะสม เดก็ ที่มปี ญ หาการควบคมุ อารมณเ พมิ่ ข้ึน และหากไมไดร บั การแกไข อาจกอใหเ กิดการทำผิด กฎหมาย เปนผใู หญท ี่มีปญ หาสุขภาพจติ มีพฤติกรรมความรุนแรง ท้ังน้ี การแกปญ หามีความยากลำบาก

7 กวา การปองกนั ดงั นน้ั จึงจำเปนทีจ่ ะตองศึกษาสถานการณภาวะสขุ ภาพ พัฒนาการ พื้นฐานอารมณของ เดก็ และปจ จยั ท่มี ผี ลตอ พ้ืนฐานทางอารมณในเด็กปฐมวัย เพ่อื ใหส ามารถนำขอ มลู มาใชวางแผนพัฒนา รูปแบบการดแู ลเด็กปฐมวยั ที่มีปญหาดา นพ้ืนฐานทางอารมณ ในขณะท่ีพัฒนาการดา นรางกายของเด็กปฐมวยั มกี ารเจรญิ เติบโต พฒั นาการทางดานอารมณก ็ เชน เดยี วกนั เด็กวัยอนบุ าลจะแสดงออกดา นอารมณเดนชดั ขึน้ มคี วามสนใจในเรอื่ งตางๆคอนขางส้นั เวลา ดใี จ เสียใจ โกรธ หรอื กลัว ก็จะแสดงอารมณออกมาเตม็ ท่ี ไดแก กระโดด กอด ตบมือ โวยวาย รอ งไหเสยี ง ดัง ทบุ ตี ขวา งปาสิ่งของ ไมพอใจเมือ่ ถกู หาม ฯลฯ เพียงช่วั ครูก จ็ ะหายไป อารมณท เ่ี กิดขึน้ กับเด็กวัยนีม้ ี ดงั นี้ อารมณดา นบวก รกั เม่อื เด็กรสู กึ มีความสุข จะแสดงออกดว ยการกอด ย้มิ หัวเราะ อยากอยูใกลช ิดกับบุคคลหรือสง่ิ ทีร่ ัก และอาจตดิ สง่ิ ของบางอยาง เชน ตกุ ตา หมอน ผา หมสนกุ สนาน เกิดจากความสขุ การประสบ ความสำเรจ็ ในกจิ กรรมทที่ ำ หรอื ไดรับส่งิ ใหมๆ เด็กจะแสดงออกดว ยการตบมอื ย้ิม หวั เราะ กระโดด กอด ฯลฯ อารมณดา นลบ โกรธ เมื่อถูกขัดใจ ถูกแยง ของเลน ถกู หา มไมใ หท ำพฤติกรรมบางอยา ง เด็กจะแสดงออกดวยการ ทบุ ตี กัด ขวน หรอื แสดงวาจาโกรธเกรย้ี วกลัว กลวั ถูกทอดท้งิ กลัวคนแปลกหนา กลวั ความมืด กลัวผี ซ่ึง มกั จะมาจากจินตนาการของเดก็ เองอจิ ฉา เมอ่ื มนี องใหม และเดก็ ไมเขา ใจ อาจแสดงความโกรธ กาวรา ว หรอื พฤตกิ รรมเบ่ียงเบนอ่นื ๆ เชน ดดู นิว้ ปสสาวะรดทีน่ อนเศรา เสยี ใจ เกิดขึ้นเมื่อเด็กรูสกึ สญู เสยี ส่งิ ที่รกั หรือส่งิ ท่มี ีความสำคญั เชน ของเลน จงึ แสดงออกดว ยอาการทีเ่ ศราซมึ ไมยอมเลน ไมร บั ประทานอาหาร หรือรบั ประทานไดน อ ยลง 2.1พัฒนาการทางสังคมของเดก็ ตัง้ แต 3-6ป ในชวงวัย 3-6 ป เด็กมีพัฒนาการทางสังคมมากขึ้น และตองการเรียนรูสังคมจากสมาชิกใน ครอบครัว แตปจจุบันเด็กใชเวลาอยูในสถานศึกษามากกวาอยูกับครอบครัวหรือญาติผูใหญเหมือน สมัยกอน เนื่องจากสภาพสังคมไทยปจจุบันเปนครอบครวั เดี่ยว หลายครอบครัวมีแตพ อแมเล้ียงลูกตาม ลำพัง การสรา งสัมพันธภาพทางสังคมที่ใชครอบครัวเปนศนู ยกลาง จึงเปนหนาที่ที่พอแมควรรวมมือกัน ปฏบิ ตั เิ พ่ือพฒั นาลูกโดยการฝก หดั ใหเกิดการเรียนรทู างสังคม

8 เด็กวัย 3-6 ป มีพัฒนาการดานสังคมมากขึ้น เด็กสนใจการเลียนแบบพอแมตามเพศของตน ครู ควรใหความรแู ละสรางความเขาใจกบั พอแม เพอื่ ใหพอแมน ำผลการศึกษาไปพฒั นาครอบครัว นอกจากนี้ การจัดการศึกษาปฐมวัยตามการปฏิรูปการศึกษาที่มีขึ้นตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ยังเนนการใชชุมชนเปนแหลงเรียนและการมีสวนรว มของชุมชนในการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อ สงเสริมใหเ ดก็ พัฒนาตนเองอยา งเต็มศักยภาพ เชน การนำเด็กไปศึกษานอกสถานที่ เพื่อใหเขารูจกั แหลง ทรัพยากรที่มคี ณุ คา ของชุมชนตนเอง เปนตน 2.1.1 พฒั นาการทางสังคมของเด็กวัย 3ขวบ ดานสงั คม การสรางความสัมพันธกับผอู ื่นยังไมแนนอนแลวแตอ ารมณของเด็ก เด็กวัยนี้เปนวยั ที่ ชอบเลนคนเดียว หรือเลนสมมุติมากกวาจะเลนกับคนอื่น ชอบเลนแบบคูขนาน คือ เลนของเลนชนิด เดียวกันแตตางคนตางเลน ขณะท่เี ลน ชอบออกคำสั่ง ทำหรอื พูดเหมือนกับสิ่งนัน้ มีชีวติ รูจักการรอคอย เร่มิ ปฏิบตั ติ ามกฎ กติกางายๆ รจู ักทำงานทไ่ี ดร บั มอบหมาย เร่ิมรูวา สิ่งใดเปนของคนอื่น 2.1.2 พัฒนาการทางสงั คมของเดก็ วัย 4ขวบ ดา นสังคม เรม่ิ เลนรว มกับผอู ื่นได แตมักจะเปนเพศเดยี วกันกับตนมากกวา มักโกรธกันแตไมนาน เด็กก็จะกลับมาเลนกันอีก รูจักการใหอภัย การขอโทษ มีความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย รูจัก เกบ็ ของเลน มมี ารยาทในการอยรู ว มกัน 2.1.3 พฒั นาการทางสงั คมของเด็กวัย 5ขวบ ดานสังคม เลนกับเพื่อนโดยไมเลือกเพศและสามารถฝก กติกางายๆในการเลนได สามารถปฏบิ ัติ กิจวัตรประจำวนั ได เลน หรือทำงานโดยมจี ุดหมายเดียวกนั รูจ กั ไหวท ำความเคารพเมอ่ื พบผใู หญ 2.1.4 พฒั นาการทางสงั คมของเด็กวัย 6ขวบ ดานสังคม เลนกบั เพื่อนโดยไมเลือกเพศและสามารถฝก กตกิ างายๆในการเลนได สามารถปฏบิ ัติ กิจวัตรประจำวันได เลน หรอื ทำงานโดยมจี ดุ หมายเดยี วกัน รจู ักไหวท ำความเคารพเมื่อพบผใู หญ 2.2 การกำหนดบคุ ลกิ ภาพของเดก็ ไมนอยกวา ชว งวัยทารก บทบาทในการกำหนดบคุ ลิกภาพของเดก็ ไมนอยกวาชว งวยั ทารก ดงั น้ี

9 2.2.1 การฝกหดั ควบคุมจิตใจ เด็กจะไดทุกอยา งตามใจตอ งการไมได เพราะสังคมมกี ฎระเบียบเง่ือนไขตางๆเพ่ือใหทุกคนปฏิบัติ ตาม เด็กเปนสมาชิกหนึ่งในสังคม จะตองเรียนรูที่จะควบคุมความตองการของตนเอง เชน ขณะที่แม ทำอาหารอยู ลกู ขอรอ งแมใ หมาเลานทิ าน ควรบอกใหลูกรอคอยแมท ำอาหารใหเสรจ็ กอนแลว จะไปเลาให ฟง เมอื่ ถึงเวลาทตี่ กลงกันก็ควรเลานิทานใหลกู ฟง เดก็ จะเรมิ่ เรยี นรวู า อะไรคอื งานหรือธรุ ะ มีความสำคัญ และอะไรที่ทำภายหลังได การรอคอยได จะเปนพืน้ ฐานเรื่องความอดทน และการรูจักเกรงใจผูอื่นไดใน เวลาตอมา 2.2.2 การฝกใหเดก็ รจู กั ตนเอง พอแมลกู สามารถทำรวมกันไดที่บาน เชน ชวนลูกทำสมดุ ประวัตติ นเอง มีภาพถายของลูกตั้งแต วยั ทารกจนปจ จุบัน ภาพพอแม พี่ นอง ปูยา ตายาย ใหล กู จัดภาพลงสมุดภาพ ใหบ อกชอ่ื เลน ชอ่ื จริงและ นามสกุล ชื่อพอ แม และบุคคลในภาพ พอแมชวยเขียน หากเด็กวัย 5-6 ป อาจเขียนตามแบบได บาง ภาพอาจเลาเรื่องราวและบนั ทึกไว ทำตอไปจนเด็กโตเขา ชั้นประถมศกึ ษาเขาจะทำเองได กิจกรรมนี้ชวย ใหเด็กรจู กั ตนเองและความสมั พนั ธในครอบครวั 2.2.3 การฝก หดั ใหเชอื่ ฟง เด็กวัย 3 ขวบจะมีความเขาใจภาษา เมื่อผูใหญช ี้แนะกฎเกณฑ กติกา มารยาททางสังคมที่เด็ก จำเปนตองปฏิบัติ เด็กจะเชื่อฟงผูใหญเมื่อเขาไดรับการปฏิบัติตามขอตกลงจริง เด็กจะเกิดการศรัทธา ขณะเดียวกันผูใหญควรใหการเสริมแรง เชน ยอมรับการปฏิบัติของเด็ก ชมเชยดวยคำพูด ยิ้ม โอบกอด เม่ือเดก็ ปฏบิ ตั ติ นดี เปน ตน เดก็ ก็เรียนรูว า หากเชอ่ื ฟงผใู หญจ ะไดส ิ่งดีตอบแทน 2.2.4 การฝก การอยรู ว มกบั ผอู น่ื การเรียนรูที่จะอยูรวมกับคนอื่นของเด็กวัย 3-6 ป เปนการพัฒนาความตองการที่จะมีสังคมที่ นอกเหนือจากพอแม การอยูกับคนอื่นเปนสิ่งท่ีเด็กตองเรียนรูวา เราอยูคนเดียวในโลกนี้ไมได เด็กควรได อยูในสงั คมแหง ความรัก คือ มีลักษณะของการสง เสริมใหเ ด็กรักเพื่อน สัตว ตนไม ฯลฯ กิจกรรมที่จัดให เด็กเรียนรทู ีจ่ ะอยูในสังคมจากการปฏบิ ัติตอกันในชีวิตประจำวนั เชน การรบั ประทานอาหารรวมกัน การ ชวยพอแมหยิบของใช การชวยเลี้ยงนอง เลนกับนองหรือเพื่อน ชวยใหอาหารสัตวเลี้ยง ชวยรดน้ำตนไม เปนตน

10 2.2.5 การฝก ฝก จรยิ ธรรม จริยธรรมเบื้องตนสำหรับเด็กเปนการสรางเสริมทัศนคติตอคุณธรรมเพื่อใหมีความพรอมทาง จริยธรรมในขั้นสูงตอไป โดยเริ่มสอนใหเด็กรูจักกรรมดีชั่วใหถ ูกตอง รูวาทำดีไดดี ทำชั่วไดชั่ว และรูวา ความสุขที่แทจ ริงคือความสงบ ไมดีใจเกินไปหรือเสียใจเกินไป โดยมีตัวแบบปฏิบัติที่ถกู ตอ งดงี ามใหเด็ก ซึมซับจากตัวแบบจริง เชน การเห็นผูใหญพูดจาไพเราะ แบงปน เอื้อเฟอตอกนั และใหเด็กเรียนรูจากตวั แบบทางออม เชน จากตวั ละครในนิทาน การแสดงละคร การเลน บทบาทสมมุติ เปนตน 2.2.6 การฝกปฏิบัตกิ ิจกรรมทางศาสนาวฒั นธรรมประเพณี กับครอบครวั โรงเรียนและชุมชน กิจกรรมเหลาน้ีมีความหมายตอชีวิตท้ังตนเองและสังคม พอแมควรปลูกฝงและชี้แนะใหเด็กทำ ความดี ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของศาสนาที่ตนนับถือ รวมกิจกรรมตามประเพณีในสังคมไทย ซึ่งมี จุดมุงหมายคือการทำความดี เชน กิจกรรมวันแม วันที่ 12 สิงหาคม กิจกรรมวันพอ วันที่ 5 ธันวาคม กิจกรรมวนั สารทเดอื นสิบ กิจกรรมวนั ตรุษจีน กิจกรรมเหลา น้ปี ลูกจิตสำนึกใหเดก็ รูวา เรามีผเู ลยี้ งดูเรามา เราตองมีความกตัญูกตเวทตี อทานดว ยการเชื่อฟง ทำดแี ละตอไปภายหนาเราควรเปนผูเล้ียงดูตอบแทน ทาน ผใู หญควรสอนเรือ่ งน้แี กเ ด็ก เนื่องจากการมีความกตญั จู ะเปนหนทางของคนดี เปนตน 2.2.7 การฝกใหเดก็ พึง่ ตนเอง คุณลักษณะการพ่ึงตนเองเปนสิ่งที่ดีงามของชีวิตท่ีทำใหต นเองมีคณุ คา และไมเปนภาระของผอู นื่ ดังคณุ ลักษณะที่พึงประสงคของเด็กปฐมวัยตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช 2546 ไดระบุไววา เด็กควรชวยเหลือตนเองไดเหมาะสมกับวัย ดังนั้นวัยเด็ก 3-6 ป เด็กจะตองแตงตัว อาบน้ำ ทำความ สะอาดอวัยวะขับถาย จัดและเก็บที่นอน รับประทานอาหารไดเอง หยิบของเลนไดเอง และรูจักเก็บให เรยี บรอ ย รวมทั้งชว ยพอแมท ำงานบานงายๆได เชน รดน้ำตนไม ใหอ าหารสัตวเลย้ี ง หรอื เขยี น วาดภาพ เลน เพลดิ เพลนิ ไดโดยไมรบกวนผใู หญ 2.2.8 การฝก ใหรูจ ักสภาพชุมชนท่ตี นเองอยู หมายถึงบุคคล สถานที่ เรื่องราวงายๆที่เกิดขึ้น เพื่อเขาจะไดรูเห็นวาสังคมประกอบดวยอะไร โลกรอบตัวเขากวาง มีสิง่ ที่เกดิ ข้ึนเก่ียวขอ งกบั เขาดว ย พอ แมค วรนำเด็กไปในสถานทส่ี าธารณะตางๆดวย เชน ตลาด ไปรษณีย รานคา โรงพยาบาล ฯลฯ เด็กจะเรียนรูวา มีผูปฏิบัติงานหรือมีอาชีพ มีการปฏิบัติ ตนตอกนั อยางไร เหตุใดตองไปที่แหงนัน้ เปนการเตรียมเด็กไปสูสังคมนอกบาน เด็กจะคอยๆปรับตัวจน เปนผใู หญท ่ฉี ลาดในอนาคต

11 2.2.9 การฝกหัดใหร ูจ กั ตนเองและหนาท่ี รจู กั สิทธิของตนเองและผูอ น่ื เด็กควรรูจ ักตนเองวาเปนสมาชิกของครอบครัวมีหนาทีเ่ ช่ือฟงพอแมและชวยเหลือครอบครัวใน ฐานะสมาชิก เด็กเปนสมาชกิ ของโรงเรียน หนา ท่ีของเดก็ คอื การเรียนหนงั สอื ปจจุบันเดก็ วัย 3 ขวบไปโรงเรียนแลว เขาจะตองเรยี นหนังสือกับครู เด็กๆทุกคนมีสิทธิท่ีไดเรยี น จึงควรต้งั ใจเรยี น คุณครเู ปน ครูของทุกคน เพื่อนทีอ่ ยดู ว ยเปนมิตรกนั มสี ทิ ธิที่จะเลนที่โรงเรยี นเหมือนกัน มีของเลนเราเลนดวยกันได เด็กควรรูจักสิทธิและหนา ทีผ่ านกิจกรรมที่เด็กทำได โดยพอแมเปนผูปลูกฝง ผา นการกระทำและสนทนากับเดก็ เพอื่ เขาจะไดเปน สมาชิกที่ดีของสังคมเมื่อเตบิ โต

12 บทท่ี 3 สรปุ เฮอรลอค ไดใหความหมายของพัฒนาการทางดานสังคมของเด็กปฐมวัยไววา การพัฒนา ความสามารถในการแสดงพฤตกิ รรมใหส อดคลองกับแบบแผนที่สงั คมยอมรับเพ่ือเขา กบั สงั คมได และการ ท่เี ดก็ สามารถปรบั ตวั ใหเขากบั สงั คม เด็กสามารถชวยเหลือตนเองไดดีขึ้น อาบน้ำ แตงตัว ใสรองเทาเอง บอกเวลาจะถายได ถอด กางเกง เขาหองนำ้ เอง และทำความสะอาดหลังขับถา ยได - เดก็ เรยี นรทู ่ีจะปฏิบัตติ ัว เพื่อใหสังคมยอมรับ ทำตัวใหเขากลุมได รูจักให รับ รูจักผอนปรน รูจักแบงปน เด็กเรียนรูจากคำสอน คำอธิบายและการ กระทำของพอ แม เด็กรสู กึ ละอายใจเมื่อทำผดิ เดก็ เรมิ่ รูจกั เห็นใจ ผอู ืน่ พัฒนาการทางดานสังคมของเด็กปฐมวัยในชวงเริ่มตนวัยเด็กยังมีความสัมพันธเฉพาะกับคนใน ครอบครัว และยังยึดติดตัวเองเปนศูนยกลาง แตเมื่อเขาสูวัย 3-4 ขวบ เด็กเริ่มมีความสัมพันธกับคน ภายนอก การเล้ยี งดูทสี่ ง เสริมพฒั นาการทางดานสงั คมของเด็กปฐมวัยจงึ ควรคำนึงถงึ สิ่งตางๆ 1.การเลน การทำกจิ กรรมตา งๆชวยพัฒนาการทางดา นสงั คม เพราะการเลน ทำใหเด็กไดมีโอกาส ปฏิสัมพนั ธก บั ผอู น่ื 2.การพาเด็กไปเที่ยวสถานทีต่ างๆ ทำใหเดก็ ไดรูจักสังคมนอกบาน ไดเรียนรูการอยูรวมกัน เชน พาไปเทย่ี วสวนสตั ว ขณะที่เดินดูตามกรงสตั ว เด็กจะเห็นสัตวท อี่ าศยั อยดู ว ยกัน 3.การพาเด็กไปพบญาติพี่นอ ง ลกู ๆ หลานๆ ในวยั เดยี วกนั หรือพอ แมพาไปบา นเพือ่ น ของพอแม ทม่ี ลี กู อยใู นวัยเดยี วกนั ใหเ ดก็ ๆไดอยรู วมกนั เพือ่ เปนการฝกใหร ูจักอยูรว มกบั ผอู ่ืน พัฒนาการทางสังคม หมายถึง การพัฒนาความสามารถในการแสดงพฤติกรรมใหสอดคลองกับ แบบแผนที่สังคมยอมรับ เพื่อดำรงชีวิตในสังคมไดอยางเปนปกติสุข ซึ่งเด็กอายุ 3-6 ปจะเปนชวงวัยท่ี สนใจเรียนรูสังคมภายนอกบานมากขึ้น เปนการเรียนรูเกี่ยวกับการสรางสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นที่อยู รอบตวั พฒั นาการดา นสังคมของเดก็ วยั นจ้ี งึ เปน พ้ืนฐานการสรางบุคลกิ ภาพท่เี หมาะสมของเขาในอนาคต เมื่อเด็กยา งเขาสวู ยั สามขวบ เดก็ จะเรยี นรูกระบวนการท่ีสำคญั และจำเปน สำหรับเขา และจะทำ ใหเ ด็กเรียนรูแนวทางการปฏิบตั ติ ัวในสังคมทถ่ี ูกตอ ง นัน่ คือการปรับตวั ใหบ ุคคลอ่นื ยอมรบั เพอื่ อยูรวมกับ บุคคลรอบตวั ได ซ่ึงการเรยี นรนู ี้เปนกระบวนการปรับตวั ทางสงั คม (Socialization process) เดก็ เรียนรทู ่ี

13 จะรวมมือกับผูอื่นในลักษณะกลุม รูจ ักการเปนสมาชิกของกลุม รูจักปฏเิ สธ การรับ การสื่อสาร หรอื การ ใชภาษา ซึ่งสวนมากเด็กจะเรียนรูผานการเลน ดงั นั้น การเลนและการทำกิจกรรมรวมกบั ผูอื่นจะชวยให เด็กเรียนรูที่จะลดตนเองจากการเปนศูนยกลางไปสูการปฏิบัติที่ยอมรับคนอื่นมากขึ้น แตการมี สัมพันธภาพกบั บคุ คลอนื่ ยังอยูในชวงเวลาสัน้ ๆ เราจงึ มักจะเหน็ วาเด็กมพี ฤติกรรมการแสดงอารมณดีสลับ อารมณไ มดีอยูเชน นัน้ การอบรมเลย้ี งดเู ด็กดวยความเขาใจ ดวยการเปน แบบอยา งที่ดีและแนะนำสั่งสอน เด็กดวยความออนโยน ชี้แนะระเบียบกฎเกณฑของสังคม การจัดกิจกรรมกลุม การชวนเลนแบบมี ขอ ตกลง จะชว ยพัฒนาการดา นสังคมใหเด็กไปสูคุณลักษณะที่พึงประสงค พัฒนาการทางสังคมของเด็กวัย 3-6 ป Sigmund Freud กลาวถึงขั้นตอนพัฒนาการของเด็กวา ประสบการณในวัยเด็กมีความสำคัญที่ สงผลตอบุคลิกภาพในวัยผูใหญ โดยเฉพาะชวงปฐมวัยวาเปนวัยสำคัญที่สุด หากวยั เด็กมีพัฒนาการที่ สมบรู ณจากการอบรมเลย้ี งดูอยา งถกู ตองจากครอบครวั เด็กจะผา นขั้นตอนการเจรญิ เตบิ โตอยางดี ไมเกิด การชะงักงัน (Fixation) หรอื การถอยกลับ (Regression) เมื่อเด็กเติบโตขึ้นจะมีบคุ ลิกภาพดีเปนปกติ แต ในทางตรงขาม หากเด็กไมไดรับการตอบสนองเด็กจะชะงักในวัยเด็กนั้นตลอดไป ฟรอยด กลาววา การ พัฒนาการของเด็กวัยนี้จะอยูในขั้นความพอใจอยูที่อวัยวะเพศ (Phallic Stage) ลักษณะความสนใจของ เด็กเริ่มมองเห็นความแตกตางของเพศมากขึ้น เด็กชายจะเลียนแบบพอ ผูหญิงจะเลียนแบบแมมากขึ้น ดังน้ัน การเลี้ยงดูเด็กอยางใกลชิด ใหโอกาสเด็กเรียนรูบทบาทของตนตามเพศจากการเลียนแบบพอแม เปนการสงเสริมพัฒนาการทางสงั คมของเดก็ ไดอยางเหมาะสม Erik H. Erikson กลาววา ในชวงอายุ 3-6 ป เปนระยะที่พัฒนาความคิดริเริ่มหรือความรูสึกผิด (Initiative versus Guilt) เด็กจะกระตอื รือรนที่จะเรยี นรูสิ่งตา งๆรอบตวั รจู ักเลนเลียนแบบสมมุติ เด็กจึง ควรมีอิสระที่จะในการคนหา หากไมมีอิสระเดก็ จะรสู ึกผิดทีไ่ มสามารถเรยี นรู สงผลตอ ความรสู ึกไมด ีของ เด็ก ไฉไล บญุ มาก (2537: 19) กลา ววา การสรางสัมพนั ธภาพ หมายถึง การที่เด็กสามารถอยูรวมกัน กับเพื่อนได โดยที่เพื่อนๆในกลุมยอมรับ มีอารมณและพฤติกรรมที่แสดงออกตอกันอยางเหมาะสม ตลอดจนเออ้ื เฟอ ตอเพื่อนในกลุม ดารณี ดิษยเดช (2531: 8) กลาววา พัฒนาการทางสงคมเปนการแสดงความสามารถในการ แสดงพฤตกิ รรมใหส อดคลองกับแบบแผนที่สงคมยอมรับ ปฏิบัติตนไดตามที่สังคมกำหนด และมีความรู สกึ วาตนเปน สวนหนึ่งของสงั คม มีสว นรวมและพอใจกบั สงั คมนนั้ ๆ

14 อรวรรณ สุมประดิษฐ (2533: 12) กลาววา พัฒนาการทางสังคมเปนการแสดงพฤติกรรม ของ มนุษยทีส่ ังคมนั้นยอมรับและสามารถปฏิบัติตามบทบาทที่วางไวไดอยางถูกตอง โดยรูสึกวาตนเปนสวน หน่ึงของสังคม ความหมายของการพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคมไดวาการพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคมของเด็ก ปฐมวัยเปนวยั ทีเ่ ดก็ มกี ารปรบั ตวั เรียนรูพฤติกรรมทางสงั คม สามารถสรา งความสัมพนั ธร ะหวางตนเองกับ ผูอน่ื ไดตามลำดบั ขัน้ ตอนของวยั และชว งอายุ เดก็ สามารถแสดงพฤติกรรม ความรสู กึ ทเ่ี หมาะสมในสภาพ แวดลอมและสถานการณตางๆ ในชีวิตประจำวัน สามารถเลน ทำงาน และอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมี ความสขุ ซ่งึ เปน สิ่งสำคญั ที่จะชว ยสงเสริมใหเด็กเกดิ การเรียนรูแ ละมพี ฒั นาการทางสังคมในลำดบั ตอไป สัมพันธภาพทางสังคมเปนสิ่งที่มีความสำคัญอยา งย่ิงสำหรับเด็กปฐมวยั ซึ่งมีผูกลาวเอาไวหลาย ทัศนะ ดังนี้ พัชรี ผลโยธนิ (2538: 2) กลาววา เด็กอนุบาลน้นั ถามีโอกาสไดปฏิสัมพนั ธกับเด็กอืน่ หรือผูใหญ เด็กจะยิง่ มีโอกาสเรียนรูความคิดเห็นของผูอ่ืน รูจกั แกไขปญหาและเพื่อนจะมีอิทธิพลตอการพัฒนาเด็ก ดานสงั คมและสติปญญาเปนอยางยิ่ง ทั้งนี้เพราะเด็กตางกับผูใหญตรงที่เด็กจะแสดงออกกับเพื่อนแตละ คนอยางเสมอภาค ซึง่ เทากับเปด โอกาสใหเด็กแสดงความคิดเห็นโตแยง กัน อยางอิสระถาเปดโอกาสเด็ก อยางตอเนื่องเด็กจะเห็นวาคนอื่นมีความคิด ความรูสึกแตกตางจากตนเองได และเริ่มตระหนักถึง พฤติกรรมของตนทแี่ สดงตอคนอื่น ในปจจุบันสังคมมีการเปลี่ยนแปลงเปนชุมชนอุตสาหกรรมมากขึ้น โดยเฉพาะเขตปริมณฑล พบ การยายถิ่นเขามาทำงาน ซึ่งสวนใหญมีลกั ษณะเปนครอบครัวเดี่ยว สงผลใหขาดเครือขายระบบสังคม ชวยเหลือดูแลเด็ก จากการสำรวจโดยสำนักงานสถิติแหงชาติพบวาเด็กอายุ 3-5 ป ไดรับการดูแลจาก สถานรับเลี้ยงเด็ก ศูนยพัฒนาเด็ก และโรงเรียนกวารอ ยละ 53.3 จำนวนเด็กปฐมวัยที่ตองผละออกจาก พอแมกอนวัยอันควรถูกสงไปเลี้ยงดูในโรงเรียนระดับกอนประถมศึกษาเพ่ิมขึ้นอยางตอเนื่อง และดวย ลกั ษณะการแขงขนั ในสงั คมท่ที ั้งพอและแมต องหารายได สง ผลใหครอบครวั มีความตึงเครยี ด มเี วลาใหกับ บุตรนอยลง การดูแลตอบสนองเด็กทั้งดานรางกายและจิตใจลดลง นอกจากนั้นสถานภาพสมรส ระดับ การศึกษาของพอแม รายไดของครอบครัว ความรูเกี่ยวกับการอบรมเลี้ยงดูก็สงผลกระทบโดยตรงตอ สขุ ภาพและพัฒนาการองครวมของเดก็ ปฐมวยั เชน กัน

15 ในขณะเดียวกันจากการศึกษาศูนยพัฒนาเด็กปฐมวัยสวนใหญในเขตปริมณฑลพบวา เนนไปท่ี การควบคมุ การแพรกระจายเชื้อ การสงเสริมภาวะโภชนาการ การเจริญเติบโต พัฒนาการ ทันตสุขภาพ และการปองกันอุบัติเหตุ สว นฐานขอมูลเกี่ยวกับการดูแลเด็กใหมีพฤตกิ รรมที่เหมาะสม และสงเสริมให เด็กมีพืน้ ฐานทางอารมณท เ่ี หมาะสมยังมีนอย ไมม ีแนวทางการปองกนั แกไขเดก็ ทมี่ ีปญหาเก่ียวกับพ้นื ฐาน ทางอารมณ ทงั้ ท่ีพน้ื ฐานทางอารมณในเด็กปฐมวยั เปนหวั ใจสำคัญของบคุ ลกิ ภาพทเี่ ปนลักษณะสำคญั ของ บุคคลในวยั ตอมา ปจจุบันพบปญหาสุขภาพจำนวนมากที่เปนผลตอเนือ่ งมาจากพฤติกรรมการอบรมเลีย้ งดูเด็กไม เหมาะสม เดก็ ที่มีปญหาการควบคุมอารมณเพิ่มขึ้น และหากไมไดรับการแกไข อาจกอใหเกิดการทำผิด กฎหมาย เปนผูใ หญที่มีปญ หาสุขภาพจิต มพี ฤติกรรมความรุนแรง ทั้งนี้ การแกปญหามคี วามยากลำบาก กวาการปองกัน ดังนั้นจึงจำเปนที่จะตอ งศึกษาสถานการณภ าวะสุขภาพ พัฒนาการ พื้นฐานอารมณของ เด็กและปจจัยที่มีผลตอพื้นฐานทางอารมณในเด็กปฐมวัย เพื่อใหสามารถนำขอมูลมาใชวางแผนพฒั นา รูปแบบการดแู ลเด็กปฐมวัยทม่ี ีปญหาดา นพน้ื ฐานทางอารมณ ในขณะทีพ่ ัฒนาการดานรางกายของเด็กปฐมวัยมีการเจริญเติบโต พัฒนาการทางดานอารมณก็ เชนเดียวกัน เด็กวัยอนุบาลจะแสดงออกดานอารมณเดนชัดขึ้น มีความสนใจในเรื่องตางๆคอนขางสั้น เวลาดีใจ เสียใจ โกรธ หรือกลัว ก็จะแสดงอารมณออกมาเต็มท่ี ไดแก กระโดด กอด ตบมือ โวยวาย รองไหเ สียงดัง ทบุ ตี ขวา งปาสิง่ ของ ไมพ อใจเมือ่ ถกู หาม ฯลฯ เพยี งชั่วครูก็จะหายไป อารมณด านบวก รักเมือ่ เด็กรูสึกมีความสุข จะแสดงออกดวยการกอด ยิ้ม หวั เราะ อยากอยใู กลชิดกับบุคคลหรือ สิ่งที่รัก และอาจติดสิ่งของบางอยาง เชน ตุก ตา หมอน ผาหม สนุกสนาน เกิดจากความสุข การประสบ ความสำเร็จในกจิ กรรมท่ที ำ หรือไดร บั ส่ิงใหมๆ เด็กจะแสดงออกดวยการตบมอื ย้มิ หวั เราะ กระโดด กอด ฯลฯ อารมณด านลบ โกรธ เมอื่ ถกู ขัดใจ ถูกแยง ของเลน ถกู หามไมใ หทำพฤติกรรมบางอยาง เด็กจะแสดงออกดวยการ ทุบตี กดั ขวน หรอื แสดงวาจาโกรธเกร้ียวกลวั กลวั ถูกทอดทิ้ง กลัวคนแปลกหนา กลัวความมืด กลัวผี ซ่ึง มักจะมาจากจนิ ตนาการของเด็กเองอิจฉา เมื่อมีนองใหม และเด็กไมเขาใจ อาจแสดงความโกรธ กาวรา ว หรือพฤติกรรมเบยี่ งเบนอน่ื ๆ เชน ดูดนิว้ ปส สาวะรดทีน่ อนเศรา เสยี ใจ เกิดขึน้ เม่อื เดก็ รูสึกสูญเสยี ส่ิงที่รกั

16 หรือส่งิ ทมี่ ีความสำคัญ เชน ของเลน จึงแสดงออกดว ยอาการท่เี ศราซึม ไมยอมเลน ไมรับประทานอาหาร หรือรบั ประทานไดน อ ยลง เด็กวัย 3-6 ป มีพัฒนาการดานสงั คมมากขึ้น เด็กสนใจการเลียนแบบพอแมต ามเพศของตน ครู ควรใหความรแู ละสรางความเขาใจกับพอแม เพอื่ ใหพ อ แมนำผลการศึกษาไปพฒั นาครอบครัว นอกจากนี้ การจัดการศึกษาปฐมวัยตามการปฏิรูปการศึกษาที่มีขึ้นตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ยังเนนการใชชุมชนเปนแหลง เรียนและการมีสวนรวมของชุมชนในการจัดการศึกษาปฐมวัย เพ่ือ สงเสริมใหเด็กพัฒนาตนเองอยางเต็มศักยภาพ เชน การนำเด็กไปศึกษานอกสถานที่ เพื่อใหเขารูจ ักแหลง ทรัพยากรทม่ี คี ณุ คา ของชมุ ชนตนเอง เปนตน

17 บรรณานกุ รม “ความหมายพฒั นาการทางสงั คมของเด็กปฐมวัย,\" [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจ าก : https://sites.google.com/site/phathnakarkhxngdekpthmway/home/phathnakar-khxng- dek-pthmway-dan-tang/phathnakar-dan-sangkhm-khxng-dek-pthmway [สบื คน เม่อื 4 ตลุ าคม 2564] “ความหมายของการพฒั นาสัมพันธภาพทางสังคมของเดก็ ปฐมวัย,” [ออนไลน] . เขาถึงไดจ าก : http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Jariya_S.pdf [สืบคน เม่ือ 4 ตุลาคม 2564] “ความสำคญั ของสัมพันธภาพทางสังคมของเดก็ ปฐมวัย,” [ออนไลน] . เขา ถงึ ไดจ าก : http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Jariya_S.pdf [สบื คนเมื่อ 4 ตุลาคม 2564] “พัฒนาการดา นสังคมและอารมณของเด็กปฐมวยั ,” [ออนไลน]. เขาถงึ ไดจาก : https://sites.google.com/site/phathnakarkhxngdekpthmway/home/phathnakar-khxng- dek-pthmway-dan-tang/phathnakar-dan-sangkhm-khxng-dek-pthmway [สบื คน เมื่อ 4 ตุลาคม 2564] “พัฒนาการทางสงั คมของเด็กตง้ั แต 3-6ป,” [ออนไลน] . เขาถึงไดจ าก : https://sites.google.com/site/phathnakarkhxngdekpthmway/home/phathnakar-khxng- dek-pthmway-dan-tang/phathnakar-dan-sangkhm-khxng-dek-pthmway[สืบคนเมือ่ 4 ตุลาคม 2564] “พัฒนาการทางสงั คมของเด็กวัย 3ขวบ,” [ออนไลน] . เขา ถึงไดจาก : https://www.brainkiddy.com/article/50/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8% 99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B 9%87%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0 %B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1 [สบื คน เม่ือ 5 ตุลาคม 2564]

18 “พฒั นาการทางสังคมของเด็กวัย 4ขวบ,” [ออนไลน]. เขา ถึงไดจ าก : https://www.brainkiddy.com/article/50/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8% 99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B 9%87%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0 %B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1 [สบื คน เมอ่ื 5 ตุลาคม 2564] “พัฒนาการทางสงั คมของเด็กวัย 5ขวบ,” [ออนไลน] . เขา ถึงไดจ าก : https://www.brainkiddy.com/article/50/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8% 99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B 9%87%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0 %B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1 [สบื คนเม่ือ 5 ตุลาคม 2564] “พฒั นาการทางสงั คมของเด็กวยั 6ขวบ,” [ออนไลน] . เขาถึงไดจ าก : https://www.brainkiddy.com/article/50/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8% 99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B 9%87%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0 %B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1 [สบื คน เม่ือ 5 ตลุ าคม 2564] “การกำหนดบคุ ลกิ ภาพของเดก็ ไมนอ ยกวาชว งวัยทารก,”[ออนไลน]. เขา ถงึ ไดจาก : https://sites.google.com/site/phathnakarkhxngdekpthmway/home/phathnakar-khxng- dek-pthmway-dan-tang/phathnakar-dan-sangkhm-khxng-dek-pthmway [สืบคนเมอื่ 5 ตุลาคม 2564]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook