Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore History of European Civilization

History of European Civilization

Published by pleum.tg, 2020-07-03 09:49:36

Description: History of European Civilization ver3.2

Search

Read the Text Version

By Tanupat Trakulthongchai

สารบญั 2 4 บทที่ 1 ยคุ ก่อนประวตั ศิ าสตร์ 12 บทที่ 2 ยคุ คลาสสิก 17 บทท่ี 3 ยุคกลาง 29 บทที่ 4 ยคุ ใหม่ 32 บทท่ี 5 ยโุ รปในศตวรรษท่ี 21 36 บทท่ี 6 พฒั นาการทางเศรษฐกจิ ของยุโรป 41 บทที่ 7 พฒั นาการทางการเมอื งของยโุ รป บทท่ี 8 พฒั นาการทางศลิ ปวัฒนธรรมของยโุ รป 1

บทท่ี 1 ยคุ กอ่ นประวัตศิ าสตร์ Prehistorical Europe 2

ยคุ กอ่ นประวตั ิศาสตร์ ภาพ 1.1 เปรยี บเทียบขนาดรา่ งกายของโครงกระดกู มนษุ ยท์ ่ีพบในเมือง Dmanisi กบั มนษุ ยป์ ัจจบุ นั Homo sapiens และมนษุ ยย์ คุ ก่อนหนา้ Homo erectus กระดูกของมนษุ ย์ยคุ แรก ๆ ในยุโรปถูกพบท่เี มอื ง Dmanisi ประเทศจอร์เจยี ซ่ึงกระดกู เหลา่ น้ันคาดวา่ มอี ายุราว ๆ 2 ล้านปีก่อน คริสตกาล หลกั ฐานของมนุษยท์ มี่ โี ครงสร้างสรีระคล้ายมนษุ ย์ปจั จุบนั ที่ ปรากฏในยโุ รปทเี่ ก่าท่ีสดุ น้ันคอื ประมาณ 35,000 ปกี ่อนครสิ ตกาล แต่ หลักฐานแสดงการตั้งรกรากถาวรน้ันแสดงอยู่ราว ๆ 7000 ปีก่อนครสิ ตกาล ในบัลแกเรยี โรมาเนยี และกรีซ ยุโรปกลางเขา้ สยู่ คุ หินใหม่ (Neolithic) ในชว่ งประมาณ 6000 ปี ก่อนคริสตกาลกอ่ นหลาย ๆ ทีใ่ นยุโรปเหนือซ่ึงเข้าสู่ยุคหินใหมใ่ นชว่ งประมาณ 5000 ถึง 4000 ปกี อ่ นคริสตกาล ราว ๆ 2000 ปกี อ่ นคริสตกาลเริ่มมอี ารยธรรมทม่ี คี วามรู้ทางการ อ่าน-เขยี นในยโุ รปคอื อารยธรรมของชาวมิโนน (Minoans) ทเี่ กาะครีต และ ตามดว้ ยชาวไมซีเนียน (Myceneans) (ทง้ั สองอารยธรรมอยบู่ รเิ วณซง่ึ เป็น ประเทศกรีซในปจั จบุ นั ) 3

บทท่ี 2 ยุคคลาสสกิ Classical Age 4

กรกี ภาพ 2.1 การจดั กองกาลงั แบบ phalanx ของกรกี ท่ีใชใ้ นการสรู้ บในยคุ โบราณ โดยจดั ทหารราบถือหอกเป็น แถวโดยมีเกราะกาบงั อย่ดู า้ นหนา้ เคล่ือนท่ีชา้ แตส่ ามารถทาลายกองกาลงั ศตั รูไดง้ า่ ย อารยธรรมกรกี เปน็ อารยธรรมของชาวอนิ โด-ยโู รเปียน (Indo-European) ที่ อพยพเข้ามาตั้งรกรากในเอเชยี ไมเนอร์ (Asia Minor) อารยธรรมกรกี เปน็ รากฐานของ อารยธรรมโรมนั และอารยธรรมโลกตะวนั ตกในเวาตอ่ มา กรกี ประกอบดว้ ยนครรฐั หลายนครรัฐ โดยมกี ษตั รยิ ห์ รือผู้ทไี่ ด้รบั การเลือก ต้งั ขนึ้ ปกครองแลว้ แตน่ ครรัฐ นครรฐั ใดทีเ่ จรญิ รุ่งเรอื งในเวลานั้นก็จะเป็นศูนยก์ ลาง ของภูมภิ าค เช่น เมือ่ เอเธนส์ (Athens) มีอานาจทางการคา้ เอเธนส์กเ็ ป็นผู้นาในการ รบกบั เปอรเ์ ซียในสงครามเปอร์เซยี (Persia War) หรอื เม่ือ สปาร์ตา (Sparta) รบ ชนะเอเธนสใ์ นสงครามเพโลพอนเนเชียน (Peloponnesian War) เอเธนส์ก็ตกเปน็ เมืองขนึ้ ของสปาร์ตา อารยธรรมกรกี นั้นให้ความสาคญั กบั งานเขยี น ศลิ ปะ ปรัชญา และศาสนา ทง้ั สี่ อย่างนี้ได้ตกทอดมานับพนั ปแี ม้วา่ ช่วงเวลาอันรุ่งโรจน์ของกรีกจะได้จบลงไปแล้ว หลังจากพ่ายแพแ้ ก่โรมในสงครามไพรกิ (Phyrric War) ภาพ 2.2 อเลก็ ซานเดอรม์ หาราช (Alexander the Great) กษัตรยิ ช์ าว มาซโิ ดเนีย (Macedonia) ท่ีขยายดินแดนกรกี ไปจนถึงอินเดีย 5

ศาสนากรีก ชาวกรกี บชู าเทพเจา้ หลายองค์ ในลกั ษณะของพหเุ ทวนิยม โดยเชอ่ื ว่า เทพเจ้าอาศยั อยบู่ นเทือกเขาโอลิมปัส (Olympus) เทพเจา้ ทชี่ าวกรีกบูชามนี ับรอ้ ย องค์ แต่ชาวกรีกเช่ือวา่ เทพเจา้ ท่สี าคญั ท่ีสุดมอี ยู่ 12 องค์ เรียกวา่ โอลมิ เปยี น (Olympians) ภาพ 2.3 รูปปั้นของซสุ (Zeus) หรอื จปู ิเตอร์ (Jupiter) เทพท่ีชาวกรกี -โรมนั เช่ือว่าเป็นราชาแห่งเทพ เทพตามความเช่อื ของชาวกรีกนน้ั มีลกั ษณะความดี-ชั่วเหมอื น มนุษย์ กลา่ วคอื เทพของกรกี นัน้ ยงั คงสามารถทาความผิดและถกู ลงโทษได้ ชาวโรมนั ก็นบั ถือเทพองคเ์ ดยี วกับชาวกรีก แตเ่ ปลี่ยนชอ่ื จากภาษากรีกเป็น ภาษาละตนิ เช่น ซุส (Zeus) เปน็ จูปิเตอร์ (Jupiter) หรือเฮรา่ (Hera) เปน็ จู โน่ (Juno) ชาวกรกี มกี ารสร้างวิหารเพ่อื สกั การะเทพเจา้ วหิ ารเหล่าน้ียงั คง เหลอื รอดในปัจจบุ นั ทาใหค้ นรุน่ หลงั ยงั ได้มีโอกาสเห็นงานสถาปตั ยกรรมแบบ กรีกอยู่ เช่น วหิ ารพาร์เธนนอน (Parthenon) 6

ปรชั ญาและวิทยาศาสตรก์ รีก ชาวกรกี ไมใ่ ช่คนกล่มุ แรกทีต่ ้องการค้นหาความจริงเก่ียวกบั โลก มนษุ ย์ และ ธรรมชาติ แตเ่ ปน็ คนกุ่มแรกทไี่ ด้จดบันทกึ แนวคิดไวอ้ ย่างเป็นลายลักษณอ์ ักษร โสครา ตีส (Socrates) ไดร้ ับการยกย่องว่าเปน็ บดิ าแหง่ ปรัชญา และเขาก็ไดส้ ่งทอดความรู้ ใหก้ ับศษิ ย์ของเขา เพลโต (Plato) และต่อไปให้อริสโตเติล (Aristotle) ผ้กู ่อตงั้ ไลเซียม (Lycium) ท่เี ป็นโรงเรยี นทส่ี องเกีย่ วกับวิทยาศาสตร์และปรัชญา นอกจากนี้ ชาวกรีกยงั คน้ หาความจรงิ ผ่านวทิ ยาศาสตรอ์ ีกดว้ ย นักวทิ ยาศาสตร์ ทส่ี าคญั ในยคุ กรีกโบราณมหี ลายคน เชน่ ธาลีส (Thales) พีทาโกรสั (Pythagoras) ยคู ลิด (Euclid) ปโตเลมี (Ptolemy) อาคมิ ีดสี (Archimedes) อรี าทอสเธนสี (Erathosthenes) ภาพ 2.4 (ซา้ ย) หนงั สือ Elements ของยคู ลิด เป็นหนงั สือคณิตศาสตรเ์ ลม่ แรก ๆ ของโลก ยคู ลดิ พสิ จู นว์ า่ มี จานวนเฉพาะอยเู่ ป็นอนนั ตใ์ นหนงั สือเลม่ นี้ บทพสิ จู นน์ ีเ้ ป็นรากฐานของการพสิ จู นท์ างคณิตศาสตรใ์ นเวลา ต่อมา นอกจากนีห้ นงั สือเล่มนีย้ งั กลา่ วถงึ หลกั การพืน้ ฐานของเรขาคณิต ทาใหเ้ รขาคณิตแบบท่ียคู ลิดกลา่ วถึง ถกู เรยี กวา่ เรขาคณิตแบบยคู ลดิ (Euclidean Geometry) ภาพ 2.5 (ขวา) หลกั การในการหาความยาวรอบโลกของอีราทอสเธนีส โดยการวดั ความยาวของเงาในเมือง สองเมืองและใชอ้ ตั ราส่วนมาช่วย เขาคานวณว่าโลกมีเสน้ รอบวง 40,000 กิโลเมตร ซง่ึ หา่ งจากความเป็นจรงิ เพยี งไมก่ ่ีรอ้ ยกิโลเมตรเทา่ นนั้ 7

โรมนั โรมยคุ โบราณ (Ancient Rome) แบง่ ออกเป็นสามยคุ ไดแ้ ก่ 1. ยคุ อาณาจักร (Roman Kingdom) (753–509 ก่อน ค.ศ.) 2. ยุคสาธารณรฐั (Roman Republic) (509–27 กอ่ น ค.ศ.) 3. ยุคจกั รวรรดิ (Roman Empire) (27 ก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 395) โรมในยคุ เร่มิ ตน้ ต้ังอยูบ่ นเทือกเขาพาลาไทน์ (Palatine Hill) และได้ ขยายอาณาเขตออกไปจนครอบคลมุ อิตาลี (Italy) และเกาะซซี ลิ ิ (Sicily) ในจุดสงู สุด อาณาเขตของโรมกวา้ งไกลจรดสเปน (Spain) ในทิศตะวนั ตก เกาะบรเิ ตน (Britain) ในทศิ เหนือ อียิปต์ (Egypt) ในทิศใต้ และเอเชียไมเนอร์ (Asia Minor) ในทศิ ตะวนั ออก ชาวโรมนั เปน็ ชนตา่ งชาติกลมุ่ แรกที่เข้าไปในเกาะบริเตนโดยการล่องเรือ ของ จเู ลียส ซีซาร์ (Julius Caesar) หนงึ่ รอ้ ยปีหลงั จากน้นั ชาวโรมนั กเ็ ขา้ ไปตง้ั รกราก ในเกาะบรเิ ตนรว่ มกบั ชนพื้นเมือง ทาใหภ้ าษาองั กฤษมีคาที่มีรากฐานมาจากภาษา ละตินมาก ภาพ 2.6 แผนท่ีของอาณาจกั รโรมนั ในจดุ สงู สดุ ใน ค.ศ.117 8

ระบอบสาธารณรัฐในโรม ภาพ 2.7 ภาพวาดรฐั สภา (Senate) ของสาธารณรฐั โรมนั หลงั จากขับไลก่ ษัตริยค์ นสุดท้าย ทาควนิ อิ ุส (Tarquinius the Proud) ออกไป จากเมอื ง ชาวโรมนั ก็ล้มเลิกระบอบกษัตริย์และเปลย่ี นมาเปน็ ระบอบสาธาณรัฐแทน โดยมกี ารเลอื กตงั้ กงสลุ (Consul) ปีละสองคนมาดารงตาแหนง่ ผู้นาประเทศ โดยมี วาระ 1 ปี และมีวุฒิสภา (Senate) ออกกฎหมายให้กับสาธารณรัฐ โดยแต่ละปจี ะมี การเลอื กตง้ั วุฒสิ มาชิก (Senator) 20 คน เขา้ มาในวุฒสิ ภา ซึ่งสามารถเป็น วุฒิสมาชกิ ได้ตลอดชีพ ระบอบสาธาณรัฐส้นิ สดุ ลงใน 27 ปกี ่อน ค.ศ. เม่ือออตเตเวียน (Octavian) บตุ รบญุ ธรรมของจูเลียส ซีซาร์ (Julius Caesar) สถาปนาตนเองขน้ึ เป็นจกั รพรรดิ ออ กุสตสุ (Augustus) ภาพ 2.8 ซเิ คอโร (Cicero) กงสลุ รฐั บรุ ุษ นกั กฎหมาย และนกั ปรชั ญา ผลงานท่ีสาคญั คือการออกกฎ อยั การศกึ (Senatus Consultum Ultimum) ใน 63 ปีก่อน ค.ศ. เพ่อื ปอ้ งกนั สงครามกลางเมืองระหว่าง รฐั สภาและคาตลิ ินา (Catilina) เขายงั มีงานเขียนมากมายท่ีเลา่ เรอ่ื งราวในยคุ สมยั ของเขา เขาไดร้ บั การ 9 ยกยอ่ งจากนกั ประวตั ิศาสตรว์ ่าเป็นนกั การเมืองท่ีสาคญั ท่ีสดุ ของโรม

โรมยคุ จกั รวรรดิ ในยุคจกั รวรรดิ โรมมรี าชวงศอ์ ยูส่ ร่ี าชวงศ์ โดยจกั รพรรดิของโรมกม็ ี ชื่อเสียงทั้งในทางบวกและทางลบ เชน่ เนโร (Nero) ซง่ึ ไดช้ ื่อว่าเป็นทรราชและทาให้ ราชวงศข์ องตนเองส้นิ สดุ ลง หรอื จัสติเนยี นท่ี 1 (Justinian I) ผู้ประกาศใหศ้ าสนา ครสิ ต์เปน็ ศาสนาหลกั เปลยี่ นจากศาสนากรกี ที่อยมู่ ากว่าหา้ รอ้ ยปี ใน ค.ศ. 395 หลังการตายของทีโอดอซอิ ุสที่ 1 (Theodosius I) จกั รวรรดิไดแ้ บง่ แยกออกเป็นอาณาจกั รโรมนั ตะวันออกและตะวันตก อาณาจักร ตะวันออกมีศนู ย์กลางอยทู่ ี่ไบแซนเทยี ม (Byzantium) และคอนสแตนติโนเปลิ (Constantinople) ในเวลาต่อมา สว่ นอาณาจักรตะวนั ตกมศี นู ย์กลางอยู่ทมี่ ลิ าน (Milan) และโรมไดล้ ดสถานะลงเป็นเพยี งแค่ศนู ยก์ ลางทางศาสนาเท่านัน้ ภาพ 2.9 ภาพวาดจกั รพรรดิเนโร ผสู้ ่งั ใหเ้ ผากรุงโรม เขาอา้ งวา่ เป็นความผดิ ของชาวครสิ ต์ ทาใหช้ าวครสิ ต์ ทง้ั หมดถกู กวาดลา้ งอย่างหนกั Historia Civilis เป็นแชนแนล YouTube ท่ีนำเสนอ เกี่ยวกบั กำรเมืองและสงครำมในยคุ คลำสสิกผำ่ นแอนนิ เมชน่ั สี่เหล่ียมหลำยสี https://www.youtube.com/channel/UCv_vLHiWVBh_F R9vbeuiY-A 10

อาณาจกั รไบแซนไทน์ ใน ค.ศ. 476 ชนเผา่ ทางเยอรมนีได้ต่อตา้ นการปกครองของโรม โรมุลสุ ออกสุ ตสุ (Romulus Augustus) จักรพรรดแิ ห่งอาณาจกั รตะวันออกไม่สามารถตอ่ สู้ กบั ชนเผ่าได้ ทาใหต้ อ้ งหนอี อกจากเมืองไป และเปน็ จดุ สิน้ สุดของอาณาจักรโรมนั ตะวนั ตก บรรดาเมอื งต่าง ๆ ทเ่ี คยอยู่ภายใต้โรมกลายเป็นนครรฐั ทปี่ กครองตนเอง แตอ่ ารยธรรมโรมนั ยังคงอยู่ตอ่ ไปในอาณาจักรตะวนั ออก หรอื ไบแซน ไทน์ (Byzantine) และยงั คงอยู่ไปตลอดยคุ กลาง ถงึ แม้ในตอนท้ายเหลือความเปน็ โรมนั อยู่เพยี งไมก่ ่ีอยา่ ง แมแ้ ต่ภาษาละตินทเ่ี ป็นภาษาหลกั ก็ถูกเปล่ียนเปน็ ภาษากรีก ในร้อยกวา่ ปีตอ่ มา ภาพ 2.10 (ซา้ ย) ภาพโมเสกของจกั รพรรดิจสั ติเนียน ผปู้ ระกาศใหศ้ าสนาครสิ ตเ์ ป็นศาสนาหลกั ของอาณาจกั ร โรมนั ตะวนั ออก และไดร้ บั การแตง่ ตง้ั เป็นนกั บญุ จากพระสนั ตะปาปา อน่งึ โมเสกเป็นหน่งึ ในสถาปัตยกรรม โรมนั ท่ีพบไดบ้ อ่ ยครง้ั ในงานศลิ ปะปัจจบุ นั ภาพ 2.11 (ขวา) เมืองอสิ ตนั บลู (Istanbul) ประเทศตรุ กี ช่ือในอดีตคือคอนสแตนตโิ นเปิล ใจกลางเมืองคือ มสั ยดิ โซเฟีย (Little Hagia Sophia) ท่ีเป็นอดีตมหาวิหารของอาณาจกั ไบแซนไทน์ ถกู เปล่ียนเป็นมสั ยดิ หลงั จากไบแซนไทนเ์ สียเมืองใหก้ บั ออตโตมนั (Ottoman) 11

บทที่ 3 ยุคกลาง Medieval Age 12

ยุคกลาง ยุคกลางนน้ั มคี วามสมั พันธก์ ับอาณาจักรโรมนั ตะวันออกและตะวันตก โดยเริ่มขน้ึ เม่ืออาณาจกั รตะวันตกล่มสลายใน ค.ศ. 476 และส้นิ สดุ ลงเมอ่ื อาณาจกั ร ตะวันออกล่มสลายใน ค.ศ. 1453 ยคุ กลางเรียกอีกอยา่ งหนึง่ ว่ายุคมืด เพราะเปน็ ยคุ ท่ปี ราศจากความ เจรญิ กา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตรห์ รือศิลปะ เปน็ ผลมาจากสงครามนบั คร้ังไมถ่ ว้ นและ ความงมงายในศาสนา รวมไปถึงการลา่ แมม่ ด สงครามครูเสด ใน ค.ศ. 1095 พระสนั ตะปาปาเออร์บนั ท่ี 2 (Urban II) ประกาศให้ชาว ครสิ ตท์ าสงครามกบั ชาวมุสลิมเพอื่ แย่งชงิ ดนิ แดนศักด์สิ ทิ ธแ์ิ ห่งเยรซู าเล็ม (Jerusalem) คนื มาจากการปกครองของมุสลมิ “ตามประสงคข์ องพระเจ้า” (Deus vult) สงครามนี้ส้ืนสดุ ลงใน ค.ศ. 1291 กนิ เวลาเกอื บ 200 ปี สงครามครเู สดแบ่งออกเปน็ สงครามยอ่ ยทงั้ หมดแปดครั้ง นกั รบครูเสด สามารถยึดเยรูซาเลม็ ไดใ้ นสงครามครัง้ ที่ 1 ใน ค.ศ. 1099 ในสงครามครัง้ ที่ 3 ซาลา ดนิ (Saladin) สลุ ตา่ นของชาวมสุ ลมิ ไดเ้ ขา้ ยึดครองเยรูซาเล็มใน ค.ศ. 1187 ชาว คริสต์กไ็ มส่ ามารถยึดเยรซู าเล็มคืนไดเ้ ลยในสงครามอกี ห้าครง้ั ตอ่ มา ภาพ 3.1 ภาพวาดซาลาดิน สลุ ต่านแห่งอียิปตแ์ ละซเี รยี เม่ือเขา้ ยดึ ครองกรุงเยรูซาเล็ม หลงั จากบาเรยี น 13 แหง่ ไอบีรนิ (Balian of Iberin) ยอมแพใ้ นการศกึ แหง่ เยรูซาเลม็ (Siege of Jerusalem)

การคา้ ในยุคกลาง ในขณะทกี่ ารเดนิ เรอื ยงั ไม่พัฒนา การค้าขายระหวา่ งยุโรปกบั เอเชียทา โดยการเดนิ ทางทางบกผา่ นเส้นทางสายไหม (Silk Road) หรอื ผ่านพอ่ คา้ คนกลางคือ ชาวอาหรบั การคา้ ขายเชน่ น้ที าใหเ้ กดิ การแลกเปลีย่ นวัฒนธรรมระหว่างสองทวีป ตวั อย่างท่เี หน็ ได้ชดั ทส่ี ุดคอื การรบั เลขฮนิ ดู-อารบกิ มาใช้แทนเลขโรมนั ทาใหส้ ามารถ คานวณได้ง่ายขึ้น การแลกเปล่ียนวฒั นธรรมยง่ิ งา่ ยดายขึน้ ในสงครามครูเสด เพราะ กองกาลังท้งั สองฝ่ายไดเ้ ดินทางไปข้ามทวีป ทาใหเ้ ศรษฐกจิ ของเมืองในยโุ รป ตะวนั ออก เชน่ คอนสแตนตโิ นเปลิ เฟ่ืองฟู ภาพ 3.2 เสน้ ทางสายไหมท่ีนาสินคา้ จากเอเชียเขา้ สยู่ โุ รปผา่ นตะวนั ออกกลาง การคา้ ขายนีท้ าใหพ้ อ่ คา้ ชาว อาหรบั ร่ารวย สง่ ผลใหโ้ ลกตะวนั ออกกลางมีความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ีสดุ ในโลกในยุคกลาง ภาพ 3.3 โอมาร์ คยั ยาม (Omar Khayyam) นกั คณิตศาสตรแ์ ละกวีชาวอาหรบั ผู้ คน้ พบสตู รสมการกาลงั สาม งานเขียนของเขาสว่ นมากหายสาบสญู แตก่ วีนิพนธ์ อย่าง รุไบยาท (Rubaiyat) ท่ีเป็นงานเขียนปรชั ญาชนิ้ เองของเขายงั มีตีพิมพแ์ ละ ไดร้ บั การยกย่องอย่ใู นปัจจบุ นั 14

ระบบฟวิ ดัล ระบบฟิวดลั (Feudal system) เรียกอกี อย่างวา่ ระบบศักดนิ า เปน็ ระบบทเ่ี ป็นเสาหลกั ทางการเมอื งของยคุ กลาง โดยแบง่ คนออกเปน็ ชนช้นั คอื กษัตรยิ ์ ขนุ นาง อศั วนิ และสามัญชน กษัตรยิ ์เป็นผ้ไู ดร้ บั เลือกมาจากพระเจ้า อ้างองิ ตามพระคมั ภีร์ไบเบลิ ทา ใหม้ ีอานาจอยู่เหนือความเป็นตายของคนอ่ืน ขุนนางได้รับท่ีดนิ จากกษตั ริย์ แลกกับ การปกปอ้ งกษัตริยใ์ หอ้ ย่ใู นอานาจ แลว้ ขนุ นางกน็ าท่ีดินไปมอบใหก้ ับอัศวิน เพอื่ ตอบ แทนทเ่ี ปน็ กองกาลงั ของขนุ นางคนนั้น ๆ อัศวนิ นาท่ดี นิ ไปให้สามัญชนเช่า โดยสามญั ชนตอ้ งจ่ายคา่ เช่าเป็นสนิ ค้าเพื่อแลกมากบั ความคุม้ ครองจากอศั วนิ แทจ้ รงิ แล้ว ระบบฟวิ ดัลเป็นระบบทเ่ี อาเปรียบสามญั ชนอยา่ งมาก เพราะสามญั ชนนั้นแทบไมม่ ีสทิ ธกิ์ าหนดชีวิตของตนเอง เนอ่ื งจากไมม่ ีท่ีดนิ สุดท้ายก็ ต้องเปล่ยี นระบบใหป้ ระชาชนถูกเก็บภาษโี ดยรฐั แตเ่ พียงผเู้ ดียว ภาพ 3.4 พีระมิดของระบบฟิวดลั 15

สงครามอ่ืน ๆ ในยคุ กลาง ภาพ 3.5 โจนสแ์ หง่ อารค์ (Joan of Arc) วีรสตรชี าวฝร่งั เศสในสงครามรอ้ ยปี ผนู้ าทพั ฝร่งั เศสรบชนะทพั องั กฤษ สดุ ทา้ ยเธอถกู จบั ตวั และเผาทงั้ เป็นดว้ ยขอ้ หาวา่ เป็นแม่มด นอกจากสงครามครเู สดแล้ว ในยคุ กลางยังมีสงครามที่สาคัญอน่ื ๆ อกี เช่น • สงครามรอ้ ยปี (Hundred Years’ War) (ค.ศ. 1337-1453) สงครามร้อยปเี ป็นสงครามระหว่างราชวงศ์แพลนทาเจเนต (Plantagenet) ขององั กฤษกบั ราชวงศว์ าลัวร์ (Valois) ของฝร่งั เศส ท้ังสองราชวงศ์ แยง่ ชิงบัลลงั ก์ของฝรงั่ เศส ซ่งึ จบลงดว้ ยชัยชนะของราชวงศว์ าลัวร์ • สงครามดอกกหุ ลาบ (War of the Roses) (ค.ศ. 1455-1487) สงครามดอกกหุ ลาบเปน็ สงครามการแยง่ ชิงบลั ลงั ก์อังกฤษของตระกูล แพลนทาเจเนตทสองสาย คอื ราชวงศ์แลงคาสเตอร์ (Lancaster) และราชวงศ์ยอร์ก (York) ฝ่ายยอร์กเป็นผคู้ รองบัลลงั ก์ในเวลาสว่ นใหญ่แต่ในที่สดุ แลงคาสเตอร์ก็สามารถ กลับมายดึ บัลลงั กค์ นื ได้ เฮนรี ทิวดอร์ (Henry Tudor) สมรสกับเอลิซาเบทแห่งยอร์ก (Elizabeth of York) และปราบดาภิเษกขน้ึ เป็น เฮนรีท่ ่ี 7 (Henry VII) ทาให้ส้ินสดุ สงครามดอกกุหลาบและเปน็ จุดเริ่มต้นของราชวงศ์ทิวดอร์ (Tudor) ภาพ 3.6 ดอกกหุ ลาบสีแดง-ขาว สญั ลกั ษณข์ องราชวงศท์ ิวดอรท์ ่ีเกิดจากการรวมกนั ของกหุ ลาบแดงของแลงคาสเตอร์ และกหุ ลาบขาวของยอรก์ 16

บทที่ 4 ยคุ ใหม่ Modern Age 17

การฟนื้ ฟูศิลปวิทยา ภาพ 4.1 ภาพวาดพระกระยาหารมือ้ สดุ ทา้ ย (The Last Supper) ของลีโอนารโ์ ด ดา วินซี (Leonardo da Vinci) ใน ค.ศ. 1498 การเริม่ ตน้ ของยคุ ฟ้นื ฟศู ลิ ปวิทยา (Renaissance) นั้นสัมพนั ธ์โดยตรง กับการล่มสลายของกรุงคอนสแตนตโิ นเปิล กล่าวคือ เม่ืออาณาจกั รไบแซนไทนล์ ่ม สลาย ปัญญาชนจงึ หาสถานทีท่ ่จี ะอพยพ ซงึ่ คอื อติ าลี และนาตาราและงานเขียนในยคุ คลาสสกิ มาดว้ ย การเขา้ มาของคนกลุ่มนีใ้ นอิตาลีเป็นการกระตุ้นใหช้ าวอิตาลีศกึ ษา ภาษะละตนิ และกรกี เพื่อทจ่ี ะมีโอกาสศกึ ษางานเขยี นคลาสสิก ยุคฟืน้ ฟศู ลิ ปวทิ ยาเป็นจดุ เริ่มต้นของวัฒนธรรมยคุ ใหม่ กินเวลาตงั้ แต่ คริสตศ์ ตวรรษท่ี 14 ถงึ 17 มีการเปลี่ยนแปลงทางวรรณกรรม วทิ ยาศาสตร์ ศลิ ปะ ศาสนาและการเมอื ง การพัฒนาจติ รกรรม และการปฏิรปู การศกึ ษา ซงึ่ การ เปลยี่ นแปลงดงั กล่าวเกิดขึน้ จากแนวคิดมนุษยนิยม (Humanism) และปัจเจกชนนิยม (Individualism) ศนู ยก์ ลางของการฟ้นื ฟูศลิ ปวทิ ยาอยู่ท่ีเมือฟลอเรนซ์ (Florence) ถงึ แม้วา่ จะมีแนวคิดมนุษยนยิ ม แตใ่ นตอนต้นคนสว่ นใหญก่ ็ยงั คงงมงาย กับศาสนาอยู่ ศาสนจกั รพยายามเชื่อมโยงงานเขยี นคลาสสกิ เขา้ กบั ศาสนาครสิ ต์ และ ตดั ส่วนทไ่ี มต่ รงกบั แนวคิดของศาสนาออกไป ภาพ 4.2 ฟรานเชสโก เพตราก (Francesco Petrarch) ผไู้ ดร้ บั การยกยอ่ ง วา่ เป็นบิดาแหง่ เรเนซองส์ เป็นผรู้ เิ รม่ิ แนวคิดมนษุ ยนิยมผ่านการศกึ ษางาน คลาสสกิ และเรม่ิ เรยี กยคุ กลางวา่ ยคุ มืด (Dark Age) 18

โปรเตสแตนต์ ใน ค.ศ. 1517 มาร์ติน ลเู ทอร์ (Martin Luther) ไดต้ ีพิมพข์ ้อปญั หา 95 ขอ้ (Ninety-Five Theses) และแปะประกาศไวห้ นา้ โบสถแ์ หง่ นกั บุญท้งั ปวง (All Saints’ Church) ทีเ่ มืองวิทเทนเบริ ์ก (Wittenberg) ประเทศเยอรมนี เขากลา่ วหา ว่าศาสนจักรคาทอลกิ ใช้ศาสนาเป็นเครอ่ื งมอื ในการหาผลประโยชนใ์ ห้ตนเอง เป็น จุดเร่มิ ตน้ ของการปฏริ ปู ศาสนา (Reformation) มารต์ ิน ลูเทอร์กอ่ ตง้ั นกิ ายโปรเตสแตนต์ (Protestant) โดยไม่ขึ้นตรง ต่อพระสันตะปาปา นกิ ายโปรเตสแตนต์ไมม่ นี กั บวช มีแตผ่ ูเ้ ผยแพร่ศาสนา และยดึ ถอื พระคมั ภรี อ์ ยา่ งเดยี ว เน่ืองจากในสมัยน้ันพระภัมภีร์ลว้ นแตอ่ ยู่ในภาษาละติน ทาให้ นักบวชสามารถเปลีย่ นแปลงคาแปลได้ตามใจชอบ เขาจึงแปลพระคัมภรี ์เป็น ภาษาเยอรมนั เพอื่ ให้ทุกคนสามารถเขา้ ถงึ เน้ือหาได้ นกิ ายโปรเตสแตนต์เจรญิ เติบโตเร่อื ยมาแมล้ เู ทอรจ์ ะเสยี ชวี ติ ใน ค.ศ. 1546 ผ่านไปราว 70 ปี จกั รพรรดเิ ฟอร์ดินานท์ท่ี 2 (Ferdinand II) แหง่ จกั รวรรดิ โรมันอันศกั ดิส์ ิทธิ์ (Holy Roman Empire) ขึน้ ครองราชย์ใน ค.ศ. 1618 และบังคับ ให้ประชาชนทกุ คนเปลย่ี นศาสนาเป็นโรมนั คาทอลกิ ทาให้เกิดความขดั แย้งและ ลกุ ลามเปน็ สงครามศาสนาทั้งยโุ รป เรยี กว่า สงครามสามสบิ ปี (Thirty Years’ War) สงครามเปลีย่ นจากความขัดแยง้ ดา้ นศาสนาเปน็ การเมอื ง และจบลงด้วยสนธสิ ัญญา สันติภาพเวสตฟ์ าเลยี (Peace of Westphalia) ใน ค.ศ. 1648 ทีม่ ีการแบง่ เขตแดน ของประเทศในยโุ รปอย่างชดั เจน และเป็นจดุ เร่ิมต้นของยคุ ทองของฮอลแลนด์ ภาพ 4.3 ความนา่ สลดของสงคราม (Les Grandes Misères de la guerre) โดยแจก็ ส์ แคลล็อต์ (Jacques Callot) ท่ีวาดในสงครามสามสิบปี มีแนวคดิ มนษุ ยนยิ มตามแบบเรเนซองสป์ นอยดู่ ว้ ย 19

ยุคแห่งการสารวจ ยคุ แห่งการสารวจ (Age of Discovery) เปน็ ยุคสมัยท่ีชาวยโุ รปออก เดินทางไปสารวจทวปี อ่ืนของโลกผา่ นการเดนิ เรือ ในยุคกลาง ชาวยโุ รปนน้ั รู้จกั แต่ เพียงดินแดนในแอฟโฟร-ยูเรเชีย (Afro-Eurasia) หรือท่ีเรียกกนั ว่า โลกเก่า (Old World) สมัยนี้เริม่ ตน้ ข้ึนในครสิ ตศตวรรษที่ 15 จากความต้องการของอาณาจักร สเปนและโปรตุเกสในการหาเส้นทางทางเรือจากยุโรปไปยงั อินเดยี เพื่อทีจ่ ะไม่ต้องเสยี ประโยชนจ์ ากพ่อค้าคนกลาง คือชาวอาหรบั ในขณะน้ัน ชาวยุโรปยังไม่ทราบเก่ียวกับทวีปอเมริกาและโอเชียเนีย คน กล่มุ หนง่ึ ท่ีเช่อื ว่าโลกกลมจึงคิดวา่ จะสามารถเดนิ ทางไปอนิ เดยี ในทศิ ตะวันตกด้วยวธิ ี ที่ส้ันกว่าได้ และคริสโตเฟอร์ โคลมั บัส (Christopher Columbus) กม็ ีความเชอ่ื เช่นนน้ั เขาออกเดนิ ทางไปทางตะวนั ตกดว้ ยการสนบั สนนุ ของราชนิ ีสเปน และค้นพบ ดินแดนทเ่ี ขาเช่ือว่าเปน็ อนิ เดยี ใน ค.ศ. 1492 แทจ้ ริงแล้ว ดนิ แดนนนั้ คอื แหลม บาฮามาสในทวีปอเมริกาเหนือ นอกจากนี้ เขายงั เรียกชนพ้ืนเมอื งท่ีพบวา่ ชาวอนิ เดยี น (Indian) ด้วยความเข้าใจผดิ ซง่ึ ยงั เปน็ ชื่อที่ใช้เรยี กชนพน้ื เมอื งอเมรกิ าอยูใ่ นปัจจบุ ัน วาสโก ดากามา (Vasco da Gama) เปน็ ชาวยุโรปคนแรกท่คี ้นพบ เสน้ ทางเดนิ เรอื จากยุโรปไปอินเดยี ใน ค.ศ. 1498 เขาออกเดินทางจากโปรตุเกส ผ่าน ทวปี แอฟรกิ าตอนล่าง และมหาสมทุ รอินเดีย การค้นพบนั้นทาให้ชาวโปรตุเกสไดร้ บั ผลประโยชน์อยา่ งมากจากการขายเครอื่ งเทศทนี่ าเข้ามาจากอินเดียให้ชาตยิ ุโรปอืน่ การคน้ พบเสน้ ทางไปยงั อินเดียและอเมรกิ าทาใหท้ งั้ สเปนและโปรตุเกสเปน็ มหาอานาจจากทรัพย์สมบตั ิในดินแดนนัน้ ๆ ภาพ 4.4 ภาพวาดวาสโก ดากามา หวั หนา้ กองเรอื สเปนท่ีคน้ พบเสน้ ทางไปอินเดีย เขารา่ รวยจากการคา้ ขาย เคร่อื งเทศท่ีซอื้ มาจากชนพนื้ เมืองอินเดีย 20

การปฏิวตั ฝิ ร่ังเศส ชาวฝรั่งเศสในทศวรรษท่ี 1780 ไมพ่ อใจกษัตริย์หลยุ สท์ ่ี 16 (Louis XVI) และขนุ นางเน่อื งจากพวกเขาถกู ขูดรดี ผ่านการเกบ็ ภาษที ่ีมากและซ้าซ้อน ฝรั่งเศสไดส้ นับสนนุ สหรฐั อเมริกาในสงครามประกาศอิสรภาพ (Independence War) เมื่อทศวรรษก่อน ประกอบกับเศรษฐกิจในขณะน้ันตกต่า ทาให้รัฐบาลต้องเกบ็ ภาษมี าก แตร่ ฐั บาลเลอื กเก็บภาษกี บั สามัญชน แตไ่ ม่เก็บกบั ขนุ นางและนักบวช ทาให้ ประชาชนโกรธแค้น และการปฏิวตั ไิ มอ่ าจหลีกเลีย่ งได้ หลุยส์หวาดกลวั วา่ สมาชกิ สภาแหง่ ชาติ (National Assembly) ที่ สามญั ชนตัง้ ขน้ึ มากันเองจะกอ่ การปฏวิ ัติ จึงเรียกทหารจากชายแดนกลับเข้ากรุงปารีส สมาชิกสภาก็หวาดกลวั วา่ หลุยสจ์ ะนากาลงั ทหารมาจับพวกตน จงึ กอ่ การปฏิวัตขิ ้นึ ใน ค.ศ. 1789 การทลายคกุ บาสตยี ์ (Fall of Bastille) ในวนั ที่ 14 กรกฎาคม ถูกนบั ว่า เปน็ จดุ เร่มิ ต้นของการปฏวิ ัติฝรงั่ เศส หลุยสถ์ ูกกักขงั ไวใ้ นพระราชวงั หลุยส์พยายามหนีไปยังออสเตรีย บ้านเกดิ ของคสู่ มรส มารี อ็องตวั เน็ต (Marie Antoinette) แต่ถกู จบั ไดบ้ ริเวณชายแดนและส่งตัวกลบั ออสเตรยี ขวู่ า่ จะ รุกรานฝรัง่ เศสหากหลุยสถ์ กู ประหาร ฝรัง่ เศสจงึ รุกรานออสเตรียและประหารหลุยส์ ใน ค.ศ. 1792 ด้วยกโิ ยติน ชนชน้ั ขนุ นางและนกั บวชนบั หม่ืนถูกประหารในสมัยแหง่ ความน่าสะพรงึ กลัว (Reign of Terror) สมยั นจ้ี บลงใน ค.ศ. 1794 เมอ่ื มักซีมเี ลียง รอแบส็ ปแี ยร์ (Maximilian Robespierre) ผู้นาเผดจ็ การ ถูกประหาร นโปเลยี น โบ นาปารต์ (Napoleon Bonaparte) ทาการรฐั ประหารใน ค.ศ. 1799 ภาพ 4.5 ภาพวาดการประหารชีวิตหลยุ สท์ ่ี 16 ดว้ ยกิโยติน อนง่ึ การประหารชีวิตดว้ ยกิโยตินก็เป็นหนง่ึ ใน สญั ลกั ษณข์ องความเสมอภาค เป็นความเสมอภาคในรูปแบบการตายท่ีคนทกุ ชนชน้ั ไดร้ บั เหมือนกันอยา่ งไม่ ทรมาน ในอดีต โดยท่วั ไป ชนชนั้ สงู จะถกู ประหารดว้ ยการตดั หวั แต่ชนชนั้ ลา่ งจะถกู แขวนคอ 21

การล่าอาณานิคมขององั กฤษ องั กฤษเรม่ิ การลา่ อาณานคิ มใน ค.ศ. 1607 แต่ในขณะน้นั การล่าอาณา นคิ มไมไ่ ดเ้ ป็นไปเพือ่ ทรัพยากร แต่เปน็ ไปเพื่อการเนรเทศอาชญากรในประเทศออกไป และหาทาส อาณานิคมแห่งแรกของอังกฤษอยทู่ ี่เจมส์ทาวน์ (Jamestown) สหรัฐอเมรกิ า และเร่ิมยึดครองดินแดนอเมริกาจากคนอนิ เดียแดง ทาให้คนพื้นเมอื ง ต้องอพยพไปทางตะวันตกของอเมรกิ า อังกฤษเริ่มต้งั อาณานคิ มในแอฟริกาใน ค.ศ. 1624 เพือ่ นาทาสไปขาย ในองั กฤษและอเมริกา ใน ค.ศ. 1707 องั กฤษผนวกกับสกอตแลนด์กลายเป็น อาณาจกั รบริตชิ (British Empire) บรษิ ทั อีสต์อนิ เดีย (East India Company) เป็นบริษทั ทที่ าการคา้ ขาย กบั ประเทศในภมู ภิ าคเอเชียใต้ เอเชียตะวนั ออก และเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ได้รบั การอนุญาตจากรฐั บาลองั กฤษให้มกี องกาลงั เปน็ ของตนเองได้ ซึ่งบรษิ ทั ก็ใช้กองกาลัง เขา้ ยดึ อินเดยี เป็นอาณานคิ มใน ค.ศ. 1757 และทาให้อินเดียกลายเปน็ แหล่ง ทรัพยากรทส่ี าคัญตอ่ บรเิ ตน ใน ค.ศ. 1770 บรเิ ตนเขา้ ยดึ ครองออสเตรเลยี การลา่ อาณานิคมของบริเตนมาถึงจดุ สูงสดุ ในรัชสมัยของพระนาง วคิ ตอเรยี (Victoria) เรยี กวา่ ยคุ วิคตอเรยี น (Victorian era) ในขณะน้ัน จกั รวรรดิ ครอบครองพื้นทแี่ ละประชากรหน่ึงในสขี่ องโลก และรบชนะมหาอานาจในยคุ เก่า อยา่ งจีนในส่งครามฝ่นิ จงึ ได้รับฉายาวา่ จกั รวรรดทิ ่ดี วงอาทิตยไ์ ม่เคยตกดิน (The empire on which the sun never sets) ภาพ 4.6 แผนท่ีจกั รวรรดบิ รติ ิชในจดุ สงู สดุ สมยั พระราชนิ ีนาถวิคตอเรยี 22

การลา่ อาณานิคมของชาตยิ โุ รปอื่น นอกจากองั กฤษแลว้ ชาติยโุ รปอน่ื ก็มกี ารลา่ อาณานคิ มในเอเชยี แอฟริกา อเมรกิ าเหนือ และอเมริกาใต้ดว้ ย แตไ่ ม่มีชาติไหนทม่ี ีอาณานคิ มขนาด เทียบเทา่ หรือใกลเ้ คยี งกบั จกั รวรรดบิ รติ ิช ประเทศทมี่ อี าณานิคมขนาดใหญ่ ได้แก่ ฝรงั่ เศส สเปน โปรตเุ กส และฮอลแลนด์ • ฝรงั่ เศส จุดสูงสุดของจักรวรรดิฝร่งั เศสอยู่ในยุคนโปเลยี น ใน ค.ศ. 1812 จกั รวรรดฝิ รั่งเศสปกครองคนกวา่ 90 ลา้ นคน ดนิ แดน 130 ดนิ แดน • สเปน จดุ สงู สุดของจกั รวรรดสิ เปนอยูใ่ นศตวรรษที่ 16-18 เคยไดร้ ับฉายา เชน่ เดียวกบั อังกฤษว่า จกั รวรรดทิ ่ดี วงอาทิตยไ์ ม่เคยตกดิน • โปรตเุ กส จุดสงู สดุ ของจักรวรรดโิ ปรตุเกสอยูใ่ นต้นศตวรรษที่ 17 ทีไ่ ดค้ รอบครอง บราซิลและดนิ แคนสว่ นใหญ่ในอเมริกาใต้ • ฮอลแลนด์ จุดสูงสุดของการลา่ อาณานคิ มของชาวดตั ซอ์ ยู่ในตน้ ศตวรรษท่ี 17 ท่ีได้ ครอบครองบราซิลและดนิ แดนทีเ่ ปน็ ท่าการค้า ภาพ 6.7 จดุ สงู สดุ ของฝร่งั เศส (ซา้ ยบน) สเปน (ขวาบน) โปรตเุ กส (ซา้ ยลา่ ง) และฮอลแลนด์ (ขวาล่าง) 23

การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม ภาพ 4.8 ภาพรา่ งเคร่อื งจกั รไอนา้ ของเจมส์ วตั ต์ ท่ีทางานโดยการเปล่ียนพลงั งานความรอ้ นเป็นพลงั งานกลให้ เคร่อื งจกั รอ่ืน ๆ ในชว่ ง ค.ศ. 1763-75 เจมส์ วตั ต์ (James Watt) ได้คดิ ค้นเครอื่ งจกั ร ไอนา้ (Steam engine) ซึ่งเปน็ เครื่องจกั รกลทตี่ ่อมาใช้ในงานอตุ สาหกรรม และเปน็ ตวั กระตนุ้ ให้มีการเปดิ โรงงานอุตสาหกรรมทเ่ี ริ่มมาตง้ั แต่ ค.ศ. 1760 องั กฤษเปน็ ชาติ แรกท่ีเขา้ สู่การปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรม มกี ารตง้ั โรงงานขึน้ มากมาย และชาวชนบทอพยพ เข้าสเู่ มอื งใหญ่ การปฏิวัติอุตสาหกรรมทาใหอ้ ังกฤษสามารถผลิตสนิ คา้ ได้มาก เป็น มหาอานาจทางด้านเศรษฐกิจและการทหารของโลก จากเดมิ ที่ตาแหน่งนเ้ี ป็นของ สเปนจากความสามารถในการเดนิ เรอื และกองทพั เรือ อยา่ งไรกด็ ี อังกฤษไมม่ ที รัพยากรเพยี งพอในประเทศท่ีจะผลติ สินคา้ ได้ ตามความตอ้ งการ ทาใหต้ ้องซ้ือทรพั ยากรจากประเทศอื่นด้วยราคาสูง อังกฤษ ต้องการแหลง่ ทรพั ยากรทร่ี าคาตา่ และมีมาก จึงเปน็ ตวั กระตุ้นการลา่ อาณานิคมเพือ่ หาแหลง่ ทรัพยากรมาใชใ้ นงานอตุ สาหกรรม 24

สงครามโลกครั้งที่ 1 ภาพ 4.9 สนามเพลาะ เกิดจากการขดุ ดินเพ่อื เป็นแนวปอ้ งกนั เป็นกลยทุ ธท์ ่ีสาคญั ในสงครามโลกครง้ั ท่ี 1 ในช่วงตน้ ศตวรรษที่ 20 ชาตยิ ุโรปมีความขดั แย้งกันสูง สงครามเป็นส่งิ ทไ่ี มอ่ าจหลีกเล่ยี งได้ ขาดเพยี งแต่ชนวนเทา่ นนั้ ชนวนนัน้ คือการลอบสงั หารอาร์คด ยกุ ฟรานซ์ เฟอรด์ ินานด์ (Archduke Franz Ferdinand) รัชทายาทแห่งออสเตรีย และพระชายา ใน ค.ศ. 1914 ออสเตรยี อา้ งว่าเซอรเ์ บยี อยเู่ บอื้ งหลงั การตายของรชั ทายาท จงึ ประกาศสงครามกบั เซอรเ์ บยี พันธมติ รและศตั รขู องท้งั สองชาติกพ็ ากนั ประกาศสงครามกับอีกฝา่ ย จนกลายเปน็ สงครามโลกทมี่ ีใจกลางทย่ี โุ รป พนั ธมิตรของออสเตรียรวมตัวกนั เป็นฝา่ ยอักษะ ประกอบไปดว้ ย ออสเตรีย ฮังการี เยอรมนี ออตโตมนั และบลั แกเรยี ส่วนฝา่ ยตอ่ ต้านออสเตรียรวมตัว กนั เป็นฝา่ ยสัมพนั ธมิตร นาโดยองั กฤษ ฝร่ังเศส และรสั เซีย ฝรง่ั เศสเปน็ สถานทีท่ ีก่ าร รบสว่ นใหญ่เกดิ ขึน้ คนประมาณ 20 ล้านคนสญู เสยี ชวี ิตใหก้ ับสงครามโลกคร้ังท่ี 1 จงึ ทาใหส้ งครามนไี้ ดช้ ่ือวา่ สงครามทีจ่ ะยุตสิ งครามท้ังหมด (The War to end all Wars) อยา่ งไรก็ตาม คากลา่ วนีไ้ ม่เป็นจรงิ ใน ค.ศ. 1918 องั กฤษยึดเรือเยอรมนที ี่สง่ สารไปยงั เม็กซิโกได้ และนา สารไปมอบให้สหรัฐอเมรกิ า ฝ่ายอกั ษะขอให้เมก็ ซโิ กโจมตีอเมริกา เพราะกลวั ว่า อเมรกิ าจะเขา้ ร่วมกับฝ่ายสัมพนั ธมติ ร อเมรกิ าจงึ เข้าร่วมกับฝา่ ยสมั พันธมิตรและสง่ ทหารมายงั ยโุ รป ทาใหฝ้ ่ายอกั ษะประกาศยอมแพ้ในปีเดียวกัน ผลจากสงครามน้ีคือ การลม่ สลายของอาณาจักรออตโตมัน การปฏวิ ตั ิรสั เซีย การกดขีเ่ ยอรมนี และทาให้ อเมรกิ าแทนท่อี งั กฤษเป็นมหาอานาจโลกจากการคา้ อาวธุ สงคราม 25

การปฏิวตั ิรสั เซยี ภาพ 4.10 เลนินกลา่ วปราศรยั กบั แรงงานท่ีมาชมุ นมุ ในเปโตรกราดในช่วงปฏิวตั ิรสั เซยี ในช่วงสงครามโลกครงั้ ที่ 1 รสั เซยี ประสบปญั หาข้าวยากหมากแพง นอกจากรฐั บาลรัสเซยี จะไม่สนใจประชาชนแลว้ ยงั เกณฑท์ หารไปรบในยุโรปตะวนั ตก อกี ดว้ ย ซาร์นโิ คลัสที่ 2 (Nicholas II) และพระมเหสถี กู รัสปตู นิ (Rasputin) พอ่ มด เกล้ยี กลอ่ มให้คดิ ว่าสถานการณ์เป็นปกติ นอกจากน้ี นโิ คลัสยงั สั่งประหารนักการเมอื ง ท่ีเรยี กร้องสิทธแิ รงงานอกี นับพนั คน ประชาชนตา่ งโกรธแค้นและเฝ้ารอการปฏิวตั ิ การปฏวิ ตั ิเริ่มต้นข้นึ เมือ่ แรงงานที่ทางานในเปโตรกราด (Petrograd: ปัจจบุ ัน St. Petersburg) ออกมาประท้วงในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 นโิ คลัสใน ขณะน้นั กาลงั อยใู่ นแนวหนา้ ของสงคราม จงึ รบี เดนิ ทางกับเปโตรกราดและถูกคุมขงั ไว้ ในพระราชวงั คณะปฏิวัติ นาโดยวลาดิเมียร์ เลนิน (Vladimir Lenin) ทาการ รัฐประหารและปลดซารแ์ ละซารีนาออกจากตาแหนง่ ในเดือนมีนาคม ดูม่า (Duma) รฐั สภาท่ีซาร์ตงั้ ใจต้ังขน้ึ มาเพื่อเปน็ หุ่นเชดิ มอี านาจมากกว่าเขาเอง รสั เซยี จาเปน็ ตอ้ งถอนตัวจากฝา่ ยสัมพันธมิตร เนื่องจากทหารปฏิเสธ การสู้รบและเข้ารว่ มกบั ประชาชนในการปฏวิ ัตริ ัสเซยี ในท่สี ดุ นโิ คลัส ภรรยา และลกู 4 คน ถกู ประหารชีวติ อปิ าเทียฟ (Ipatiev) ในเดอื นกรกฎาคม ค.ศ. 1918 เลนิน หัวหน้าพรรคบอลเชวกิ (Bolshevik Party) เปน็ ผู้นาของรัสเซยี รัสเซยี เปลีย่ นระบอบ การปกครองเป็นแบบคอมมิวนิสต์ เลนินเสียชวี ิตใน ค.ศ. 1924 ทาให้เกดิ การแย่งชิง อานาจในพรรคระหวา่ งโจเซฟ สตาลิน (Joseph Stalin) กับลีออน ทรอตสก้ี (Leon Trotsky) ที่สตาลินเป็นฝ่ายชนะ ทาใหเ้ ขาได้เป็นผูน้ าของรัสเซยี เปน็ เวลาราว 30 ปี 26

สงครามโลกครั้งที่ 2 ภาพ 4.11 ระเบดิ นิวเคลียรแ์ ฟตแมน (Fat Man) ท่ีถกู ทงิ้ ลงท่ีนางาซากิในวนั ท่ี 9 สงิ หาคม ค.ศ. 1944 ท่ีทาให้ ญ่ีป่นุ ประกาศยอมแพอ้ ยา่ งไม่มีเง่ือนไข เยอรมนีแพ้สงครามโลกครง้ั ท่ี 1 และลงนามในสนธสิ ัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versaille) ทีจ่ ากดั กาลังทหารและสทิ ธิของรัฐบาล เยอรมนีในช่วง ทศวรรษที่ 1920 ตอ้ งประสบกับความตกต่าทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง อดอลฟ์ ฮติ เลอร์ (Adolf Hitler) ชนะการเลือกตัง้ ใน ค.ศ. 1933 จากการกาจัดคแู่ ขง่ ทางการ เมอื ง เขาดาเนินนโยบายกวาดลา้ งชาวยวิ ผ่านโฆษณาชวนเช่อื (Propaganda) วา่ ชาว อารยนั เป็นชนชาตทิ ีส่ งู ส่งทีส่ ุด และชาวยิวเปน็ ชนชาติท่สี กปรกและต่าต้อย นโยบาย ฟาสซิสต์ (Fascist) ดังกลา่ ว ประกอบกับการแอบตงั้ กาลังทหารอย่างลับ ๆ ทาให้ ในช่วงปลายทศวรรษท่ี 1930 เยอรมนกี ลับมาเปน็ มหาอานาจของยุโรปอีกครงั้ เยอรมนีบกุ รกุ โปแลนดใ์ นวันท่ี 1 กันยายน ค.ศ. 1939 และโปแลนด์ก็ ยอมจานนไม่นานหลงั จากนัน้ อังกฤษประกาศสงครามกับเยอรมนีจากเหตกุ ารณ์ ดงั กล่าว รัสเซยี สนับสนนุ เยอรมนเี พราะรัสเซยี ได้รับผลประโยชน์จากการแบง่ ดนิ แดน โปแลนดด์ ว้ ย ใน ค.ศ. 1940 เยอรมนบี กุ ฝรง่ั เศสและยดึ กรุงปารีสไดใ้ นเวลาเพยี ง 16 วนั ใน ค.ศ. 1941 เยอรมนบี ุกรสั เซยี แต่ไม่สาเร็จ ทาใหร้ ัสเซยี ไปเข้ารว่ มฝ่าย สัมพนั ธมติ ร เยอรมนีเปน็ พันธมิตรกบั อิตาลีและญป่ี นุ่ ท่มี แี นวคดิ ฟาสซสิ ตเ์ หมอื นกนั โดยอิตาลีเข้ายึดครองดินแดนในแอฟริกาและตะวนั ออกกลาง สว่ นญ่ปี นุ่ ยึดครอง ดนิ แดนในเอเชยี ตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ และโอเชียเนีย สหรฐั อเมริกาเขา้ ร่วมฝา่ ยสัมพันธมิตรจากเหตกุ ารณท์ เ่ี พิร์ลฮาร์เบอร์ (Pearl Harbor) เยอรมนถี ดถอยลงเปน็ ลาดับหลังจากแพ้รสั เซีย เช่นเดียวกบั อิตาลีท่ีแพ้ ใหก้ ับอังกฤษในแอฟรกิ า ทง้ั สองชาติยอมแพ้สงคราม ญ่ีป่นุ เปน็ ชาตอิ กั ษะชาติสุดทา้ ย ท่ียอมแพ้ หลังจากอเมรกิ าท้งิ ระเบดิ นิวเคลยี รท์ ี่ฮิโรชมิ า่ และนางาซากิ สงครามโลก 27 ครั้งท่ี 2 ส้ินสุดลงในวันท่ี 2 กันยายน ค.ศ. 1945 เมอ่ื จกั รพรรดิญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้

สงครามเย็น ผลจากสงครมโกครั้งทส่ี องทาใหส้ หรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตเป็น มหาอานาจของโลก เยอรมนีถูกแบง่ ออกเป็นสองส่วน คือเยอรมนตี ะวนั ออกและ เยอรมนีตะวันตก เยอรมนตี ะวันออกอยู่ใตอ้ านาจของรสั เซยี ปกครองด้วยระบอบ คอมมิวนสิ ต์ ส่วนเยอรมนตี ะวนั ตกอยใู่ ตอ้ านาจของสหรัฐอเมรกิ า ปกครองด้วย ระบอบประชาธปิ ไตย กรุงเบอร์ลินตงั้ อยู่ในเยอรมนตี ะวนั ออก แตถ่ ูกแบง่ เป็นสองส่วน เชน่ กัน เยอรมนีตะวันตกเจรญิ กวา่ เยอรมนตี ะวันออกมาก ทาใหค้ นฝั่งตะวนั ออกพา กนั อพยพไปยังตะวันตก โซเวียตไมพ่ อใจ จงึ สรา้ งกาแพงท่ชี ายแดนและในเบอรล์ ินใน ค.ศ. 1961 ความขดั แย้งในเยอรมนีกลายเปน็ ความขดั แย้งของโลกในเวลาต่อมา สหรัฐอเมริกาพยายามเผยแพรแ่ นวคดิ เสรนี ิยม ส่วนสหภาพโซเวียต พยายามเผยแพรแ่ นวคิดสงั คมนยิ ม ทั้งสองชาตติ ระหนักถงึ ความเสยี หายที่จะเกดิ ขน้ึ จากอาวธุ นวิ เคลยี ร์หากรบกันโดยตรง จงึ เกิดสงครามตัวแทนข้นึ ในประเทศอน่ื ๆ มี บางสว่ นท่เี กดิ ขึ้นในทวีปยโุ รป เช่น สงครามกลางเมอื งกรซี (Greek Civil War) ใน ค.ศ. 1946-9 หรอื วิกฤตการณ์เบอร์ลนิ (Berlin Crisis) ใน ค.ศ. 1961 ทง้ั อเมรกิ าและโซเวยี ตมีพันธมติ รท่วั โลก พนั ธมติ รของอเมรกิ าและฝา่ ย เสรีนิยมรวมตวั กนั เป็นองคก์ ารสนธสิ ญั ญาแอตแลนตกิ เหนอื หรือ นาโต้ (NATO) ทีใ่ ห้ ความค้มุ ครองกบั ชาตเิ ล็ก ๆ ทเ่ี สีย่ งถกู โซเวยี ตผนวกเข้า โดยเฉพาะในยุโรปกลาง เช่น ออสเตรยี ฮังการี สงครามเยน็ จบลงเม่ือสหภาพโซเวียตแยกตวั ออกเป็นประเทศยอ่ ย ๆ ใน ค.ศ. 1991 แตผ่ ลจากสงครามเย็นยงั คงอยมู่ าจนถึงปจั จุบนั ภาพ 4.12 แผนท่ีนาโต้ (ฟา้ ) และวอรซ์ อร์ (แดง) ในยโุ รป ช่วงทศวรรษท่ี 1980 28

บทท่ี 5 ยโุ รปในศตวรรษที่ 21 Europe in the 21st century 29

ภาพรวมยโุ รปในศตวรรษที่ 21 ปจั จุบนั ประเทศในยุโรปสว่ นมากเปน็ ประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ และมีส่วน น้อยทก่ี าลังพัฒนา เมอื งทใี่ หญ่ทส่ี ดุ ในยุโรปคอื อสิ ตันบูล (Istanbul) ในตรุ กี ซึ่งเป็น เมืองท่ีใหญท่ ่สี ุดในยคุ กลางด้วยเช่นกัน คณุ ภาพชวี ติ โดยรวมของชาวยุโรปตะวันตก ดีกว่าชาวยุโรปตะวนั ออก เปน็ ผลมาจากสงครามเยน็ อย่างไรก็ตาม คณุ ภาพชวี ิตของ ชาวยุโรปโดยท่ัวไปถอื วา่ ดีกวา่ คนในทวีปอ่นื ๆ มาก ภาพ 5.1 (บนซา้ ย) กรุงปารสี ประเทศฝร่งั เศส ภาพ 5.4 (บนขวา) กรุงเบอรล์ ิน ประเทศเยอรมนี ภาพ 5.2 (กลางซา้ ย) กรุงลอนดอน ประเทศองั กฤษ ภาพ 5.5 (กลางขวา) กรุงโรม ประเทศอิตาลี สหราชอาณาจกั ร ภาพ 5.6 (ลา่ งขวา) ลเิ วอรพ์ ลู แชมป์ ยโุ รป 5 สมยั ภาพ 5.3 (ลา่ งซา้ ย) กรุงมาดรดิ ประเทศสเปน แชมป์ ลีกสงู สดุ 19 สมยั และแชมป์ พรเี มียรล์ ีกปัจจบุ นั 30

สหภาพยโุ รป สหภาพยุโรป (European Union) กอ่ ต้งั ขน้ึ ใน ค.ศ. 1993 โดยมี วัตถุประสงคเ์ พือ่ พัฒนาความรว่ มมอื ทางด้านเศรษฐกจิ และการเมอื งของประเทศใน ยโุ รป สมาชิกจะไดร้ ับผลประโยชนต์ ่าง ๆ เช่น การยกเว้นกาแพงภาษี อานาจต่อรอง ในประชาคมโลก ปัจจบุ ัน สหภาพยุโรปมีสมาชิก 27 ประเทศ เชน่ เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี สเปน เนเธอรแ์ ลนด์ มีบางประเทศทอี่ ยใู่ นยุโรปแตไ่ ม่อยใู่ นสหภาพยุโรป เชน่ สหราชอาณาจกั ร รัสเซยี สวสิ เซอร์แลนด์ โดยประเทศเหลา่ น้ีมกั ไดร้ บั สิทธิพิเศษทาง การคา้ กับสหภาพยโุ รปบางส่วนแต่ไมท่ ง้ั หมด สหภาพยโุ รปมีสภาท่ีออกกฎหมายบงั คบั ใช้ในทุกประเทศสมาชิก มี องค์กรตารวจระหว่างประเทศ และมีอานาจในการเจรจาทางการทูตในฐานะทกุ ชาติ สมาชิก รวมไปถึงการใชเ้ งนิ สกุลเดียวกัน คอื ยโู ร (Euro) สหภาพยุโรปทาให้ชาติยโุ รป ยังมีบทบาทสาคญั ในโลกแม้จะมมี หาอานาจอืน่ เชน่ สหรฐั อเมริกา จีน รสั เซยี จดี ีพี (GDP) ของสหภาพยุโรปเป็นรอ้ ยละ 16.28 ของโลก (ค.ศ. 2018) หากนบั เปน็ ประเทศจะเปน็ อนั ดบั สามของโลก อยา่ งไรกต็ าม อานาจของสหภาพยุโรปในเรื่องการเมืองภายในก็ทาให้ บางชาตไิ มพ่ อใจ เช่น สหราชอาณาจักร ทถ่ี อนตวั ออกจากสหภาพยุโรป (Brexit) ใน ค.ศ. 2020 แตโ่ ดยรวม การมีอยขู่ องสหภาพยโุ รปนั้นให้ประโยชนม์ ากกวา่ โทษกบั สมาชกิ และเหตุการณ์เบรก็ ซติ ก็ถูกมองจากต่างชาติว่าเกดิ ข้นึ เพยี งเพราะการ เคลื่อนไหวทางการเมอื งของพรรคอนรุ กั ษ์นยิ มเทา่ นน้ั ภาพ 5.7 (บน) สภาสหภาพยโุ รป (EU Parliament) เป็นฝ่ายนติ บิ ญั ญตั ิของ สหภาพยโุ รป สมาชกิ สภาไดร้ บั การเลือกตง้ั มาจากประชาชนในประเทศตนเอง 31 ภาพ 5.8 (ซา้ ย) ธงสหภาพยโุ รป โดยจานวนดาวไม่เก่ียวขอ้ งกบั จานวนประเทศ

บทท่ี 6 พฒั นาการทางเศรษฐกิจของยโุ รป Economic Development of Europe 32

เศรษฐกจิ ยุคกลาง ภาพ 6.1 ส่วนประกอบตา่ ง ๆ ในแมเนอรย์ คุ กลาง เชน่ ปราสาท หมบู่ า้ น โรงสี ท่ีนา คอกสตั ว์ ในยคุ กลาง เศรษฐกจิ ในยุโรปเป็นแบบแมเนอร์ (Manor) โดยทีข่ ุนนาง ให้ราษฎรเชา่ ทดี่ นิ และรับรายไดเ้ ปน็ ค่าเช่าจากผลผลิต เศรษฐกิจแบบน้เี ป็นผลมาจาก ระบบฟิวดัล ท่ีเป็นการใหท้ ด่ี ินต่อกันเปน็ ทอด ๆ ของแต่ละชนชั้นในสังคม ขนุ นางจะ นาผลผลติ ทเ่ี ก็บไดไ้ ปขายยงั แมเนอร์อนื่ ซึง่ ส่วนมากเป็นสินคา้ เกษตร ทาให้ขนุ นางท่มี ี ทด่ี นิ มากและมที ีด่ ินเหมาะกบั การเพาะปลูกมเี งินและมอี านาจมาก เศรษฐกจิ ยคุ ใหม่ เศรษฐกิจในยุคกลางนน้ั ปราศจากความเจรญิ เพราะขาดทรพั ยากรและ ทรพั ยากรส่วนมากหมดไปกบั สงคราม ปญั หานไ้ี ดห้ มดไปเมอ่ื เขา้ สสู่ มยั แห่งการสารวจ เพราะชาวยโุ รปค้นพบดนิ แดนใหม่ท่มี ที รัพยากรมากกวา่ และการเมืองมีความมั่นคง มากขึ้น ทาให้การค้าขายเจรญิ รุ่งเรือง ภาพ 6.2 ทองคา แรท่ ่ีพบมากในแอฟรกิ า ทาใหช้ าติท่ีมีอานาจใน แอฟรกิ า เชน่ ฝร่งั เศส ร่ารวย 33

พาณชิ ยนิยม พาณิชยนยิ ม (Mercantilism) เป็นระบบเศรษฐกิจที่เปน็ ผลมาจากการ ลา่ อาณานิคมและการรวมอานาจเข้าส่ศู ูนย์กลาง โดยรฐั บาลเรมิ่ ใช้นโยบายภาษีเขา้ ควบคมุ การนาเขา้ และส่งออก ลดการนาเข้าและเพมิ่ การส่งออกเพอื่ ความได้เปรยี บ ทางการคา้ ตัวอยา่ งทเี่ ห็นไดช้ ดั ทีส่ ดุ คอื สงครามฝน่ิ ท่ีรัฐบาลอังกฤษต้องการลดความ เสยี เปรยี บดลุ การคา้ กับจีน จนี ไดเ้ ปรียบจากการส่งออกชาไปยังอังกฤษ อังกฤษจงึ ส่ง ฝิ่นไปขายที่จนี แตจ่ นี ประกาศใหฝ้ ิ่นผดิ กฎหมาย ทาใหเ้ กดิ สงครามในทา้ ยที่สดุ ทนุ นิยม ทนุ นิยม (Capitalism) เป็นระบบเศรษฐกจิ ท่ใี ห้ความสาคัญกบั การค้า เสรี (Free Market) โดยลดบทบาททางการผลิตของรฐั บาล เพื่อเพ่ิมใหก้ ับเอกชน ระบบนี้ถกู วจิ ารณว์ า่ ทาให้ความเหลอ่ื มล้าทางสังคมสงู เพราะคนรวยรวยขึ้น ส่วนคน จนกจ็ นลง อย่างไรก็ตาม ระบบนี้กระตุ้นให้เกดิ การสร้างสรรคน์ วัตกรรมใหม่ ๆ เพ่ือ ผลประโยชนท์ างการค้า และนวตั กรรมนั้นกพ็ ฒั นาคุณภาพชวี ติ ของทกุ คน ประเทศที่ ใช้ระบบน้ีในยโุ รปมหี ลายประเทศ เชน่ สหราชอาณาจกั ร เยอรมนี ฝรง่ั เศส ภาพ 6.3 พรี ะมดิ แห่งระบบทนุ นยิ ม (“Pyramid of Capitalist System”) การต์ นู ลอ้ เลียนระบบทนุ นิยม แสดงถงึ ความไม่เทา่ เทียมทางสงั คม ท่ีนกั การเมือง นกั บวช ทหาร และคนรวยกดข่ีแรงงานคนจน 34

สงั คมนิยม ระบบเศรษฐกิจสงั คมนยิ ม (Socialism) มีรากฐานมาจากแนวคิดของ คอมมวิ นิสต์ (Communism) ของคารล์ มากร์ซ (Carl Marx) เป็นระบบทเี่ นน้ ความ เทา่ เทียมกันของคนทกุ ชนชน้ั ผา่ นการเพ่ิมอานาจรัฐทแ่ี ลกมากับรฐั สวสั ดิการของ ประชาชนทกุ คน ถึงแมร้ ะบบจะมีรากฐานมาจากแนวคิดคอมมิวนสิ ต์ แต่กม็ ปี ระเทศ ประชาธิปไตยหลายประเทศทน่ี าไปใช้ โดยเฉพาะประเทศในกล่มุ สแกนดิเนเวยี คือ สวเี ดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก ฟนิ แลนด์ ทเี่ ก็บภาษีสูงและลดการแขง่ ขันทางการคา้ แต่ สรา้ งรฐั สวัสดิการให้กบั ประชาชน ประเทศเหลา่ นี้ประสบความสาเร็จในการพฒั นา คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนผา่ นนโยบายสังคมนยิ ม อยา่ งไรกต็ าม ยงั มีหลายประเทศทไ่ี มป่ ระสบความสาเร็จกบั ระบบสังคม นิยม ในยโุ รป เชน่ ประเทศทแี่ ยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต เช่น ยเู ครน โครเอเชีย หรือแมก้ ระทง่ั รสั เซียในศตวรรษที่ 20 เพราะระบบนเี้ ป็นระบบทง่ี ่ายแกก่ ารคอร์รัปชน่ั ของรฐั บาลมาก ภาพ 6.4 (ซา้ ย) เมืองสต็อกโฮลม์ ประเทศสวีเดน ไดร้ บั การยกย่องวา่ เป็นหนง่ึ ในเมืองท่ีมีการจดั การดีท่ีสดุ ใน โลก สวีเดนเป็นหน่งึ ในประเทศท่ีเจรญิ ดว้ ยระบบสงั คมนิยม ภาพ 6.5 (ขวา) เดก็ ชาวรสั เซยี ท่ีอดอยากจากการปกครองของสตาลิน รฐั บาลสตาลินเป็นหน่งึ ในรฐั บาลท่ีมีการ คอรร์ ปั ช่นั มากท่ีสดุ ในโลก มีการประมาณการว่ามีคนอดตาย 6 ลา้ นคนในเวลาเพยี ง 2 ปี ใน ค.ศ. 1932-33 35

บทท่ี 7 พฒั นาการทางการเมอื งของยโุ รป Political Development of Europe 36

ระบอบกษตั ริย์ ระบอบกษัตริย์ (Monarchy) เปน็ ระบอบทีเ่ กา่ แกท่ ่ีสดุ ของมนษุ ย์ โดย เป็นการเลอื กผนู้ าจากวงศ์ตระกูลเดิม เม่ือผนู้ าคนเก่าตายไปแล้ว อาจเป็น ลกู พ่ีนอ้ ง หรือญาติ สบื ทอดตาแหน่งผูน้ าทางสายเลอื ด ในยุคคลาสสกิ มหี ลายรัฐท่ีใช้การสืบ ทอดตาแหน่งแบบน้ี เช่น อาณาจักรโรมัน (โรมยคุ ตน้ ) อาณาจกั รมาซิโดเนยี (Macedonian Kingdom) ระบอบคณาธปิ ไตย ระบอบคณาธปิ ไตย (Oligarchy) เปน็ ระบอบทีช่ นกลุ่มน้อยมีอานาจ สงู สดุ สามารถแต่งต้ังผู้นาได้ เช่น วฒุ สิ ภา (Senate) ทป่ี กครองสาธาณรัฐโรมัน หรือ ตระกลู เกา่ แก่ในเอเธนส์ตอนต้น ระบอบประชาธปิ ไตยแบบเอเธนส์ ระบอบประชาธปิ ไตยแบบเอเธนส์ (Athenian Democracy) เป็น ระบอบประชาธิปไตยทใี่ ชใ้ นเอเธนสต์ อนกลางและตอนปลาย โดยประชาชนเป็นผอู้ อก เสยี งลงคะแนนโดยตรงในเรือ่ งต่าง ๆ ไม่จาเปน็ ต้องมีผู้แทน เป็นระบอบประชาธิปไตย โดยตรง (Direct Democracy) อยา่ งไรก็ตาม เราไม่สามารถกล่าวไดว้ ่าระบบน้เี ป็น ประชาธปิ ไตยอย่างแทจ้ ริง เพราะมเี พยี งผูช้ ายท่ีเปน็ พลเมืองเอเธนสเ์ ท่าน้ันทมี่ สี ทิ ธิ ลงคะแนน ซ่ึงคนกลุม่ นี้เปน็ เพียงรอ้ ยละ 10 ของประชากรของเมอื ง ภาพ 7.1 คะแนนเสียงในการโหวตขบั ไล่ (Ostracism) ของชาวเอเธนส์ ทกุ ๆ ปีจะมีการลงคะแนนเพ่อื ขบั ไลใ่ ครก็ไดอ้ อกจากเมืองเป็นเวลา 10 ปี โดยไม่จาเป็นตอ้ งมีความผิดหรอื ขอ้ กล่าวหาใด ชาวเอเธนสโ์ หวต 37 โดยการเขียนช่ือคนท่ีตอ้ งการขบั ไล่ลงบนเครอ่ื งปั้นดินเผาท่ีถกู ทบุ

ระบอบฟิวดลั ดหู น้า 15 ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ (Absolute Monarchy) เป็นระบอยท่ี ใหอ้ านาจสิทธิข์ าดในการบรหิ ารประเทศทกุ อย่างแกก่ ษัตริย์ โดยไม่ต้องผา่ นสภาหรือ คณะกรรมการใด ๆ ระบอบนเี้ ปน็ ระบอบกษตั ริยแ์ บบหนงึ่ ท่มี กี ารรวมอานาจเข้าสู่ ศนู ยก์ ลางอย่างสงู สุด ตัวอยา่ งท่ีสาคัญของระบอบน้ีคอื ฝร่ังเศสภายใต้หลยุ สท์ ี่ 14 (Louis XIV) ทีก่ ล่าวไว้วา่ L’état, c’est moi (ฉันคอื รัฐ) ภาพ 7.2 ภาพวาดพระเจา้ หลยุ สท์ ่ี 14 38

ระบอบประชาธิปไตย ระบอบประชาธิปไตย (Democracy) เป็นหนง่ึ ในสองรปู แบบการ ปกครองใหญ่ ๆ ทีใ่ ชใ้ นยโุ รปปัจจุบัน ระบอบประชาธปิ ไตยให้ความสาคัญกับการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการเมืองการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยมสี องลักษณะ ใหญ่ คอื ระบอบประชาธิปไตยโดยตรง และระบอบประชาธปิ ไตยผา่ นผ้แู ทน (Representative Democracy) เกอื บทกุ ประเทศใชร้ ะบอบประชาธปิ ไตยลกั ษณะ หลัง ระบอบประชาธปิ ไตยยังแบ่งย่อยไดห้ ลายแบบ เช่น ระบอบราชาธิปไตยภายใต้ รฐั ธรรมนูญ (Constitutional Monarchy) มกี ษัตริย์เปน็ ประมุขแลนายกรัฐมนตรีเปน็ หัวหน้ารัฐบาล ท่ีใช้โดย อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ เป็นต้น ระบอบประชาธิปไตยแบบ ประธานาธบิ ดี (Presidential Democracy) มีประธานธิบดีเป็นท้ังประมุขและ หัวหน้ารฐั บาล ใช้โดย ไซปรัส ระบอบประชาธปิ ไตยแบบกึ่งประธานาธิบดี (Semi- Presidential Democracy) มีประธานาธิบดีเปน็ ประมขุ และนายกรฐั มนตรเี ปน็ หวั หนา้ รฐั บาล ใชโ้ ดย ฝร่งั เศส เยอรมนี อติ าลี เปน็ ต้น ภาพ 7.3 บอรสิ จอหน์ สนั (Boris Johnson) นายกรฐั มนตรสี หราชอาณาจกั รและหวั หนา้ รฐั บาล (Government) เขา้ พบพระราชินีอลิซาเบธท่ี 2 (Elizabeth II) ประมขุ ราชอาณาจกั รบรเิ ตนใหญ่และไอรแ์ ลนด์ เหนือ (Sovereign) หลงั จากเขา้ รบั ตาแหน่งนายกรฐั มนตรี 39

ระบอบเผด็จการ ระบอบเผด็จการ (Dictatorship) เป็นอีกรปู แบบการปกครองใหญ่ ๆ ท่ี ใชใ้ นยุโรปปัจจุบัน เป็นระบอบทป่ี ระชาชนไมม่ ีสว่ นรว่ มในการบรหิ ารประเทศที่ แทจ้ ริง โดยผนู้ าอาจมาจากการสบื ทอดทางสายเลือด การเลือกจากคนกลมุ่ นอ้ ย หรอื การเลือกตัง้ ทีไ่ ม่เป็นธรรมและไม่สะทอ้ นความต้องการที่แทจ้ รงิ ของประชาชน เบลารสุ เป็นชาตยิ โุ รปเพยี งชาติเดียวทีน่ านาชาติให้ความเหน็ ว่าปกครองดว้ ยระบอบ เผด็จการ ภาพ 7.4 (บน) อเล็กซานเดอร์ ลคู าเชนโก (Alexander Lukashenko) ประธานาธิบดี เบลารุส ผนู้ าเผด็จการคนสดุ ทา้ ยของ ยโุ รป ท่ีทาใหเ้ บลารุสถกู นานาชาติคว่า บาตร ภาพ 7.5 (ซา้ ย) การสวนสนามของกองทพั เบลารุส เป็นเรอ่ื งปกติท่ีผนู้ าเผด็จการให้ ความสาคญั กบั กาลงั ทหาร เพราะทาให้ เขาสามารถอย่ใู นอานาจตอ่ ไปได้ 40

บทที่ 8 พัฒนาการทางศิลปวฒั นธรรมของยโุ รป Art & Cultural Development of Europe 41

ศิลปะคลาสสกิ ศิลปะคลาสสกิ (Classical Art) ให้ความสาคัญกบั ศาสนาและความ สมจรงิ ตามอัตราส่วน กวีนพิ นธ์ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตั ยกรรมกรีก- โรมนั ลว้ นแต่เก่ยี วข้องกับศาสนาทง้ั ส้นิ ภาพ 8.1 (บนซา้ ย) รูปปั้นเทพีอาธีนา (Athena) ในยคุ กรกี โบราณ ภาพ 8.2 (บนขวา) มหาวหิ ารพารเ์ ธนอน (Parthenon) ภาพ 8.3 (ล่างซา้ ย) ภาพวาดของชาวกรกี น่าจะส่ือถงึ การคา้ ขายของคนสองคน ภาพ 8.4 (ล่างขวา) หนงั สือ ความรบั รูแ้ ละการรบั รู้ (Sense and Sensibilia) ของอรสิ โตเตลิ ในภาษากรกี ทง้ั นี้ หนงั สือกรกี สว่ นใหญ่อย่ใู นภาษาอาหรบั เพราะตน้ ฉบบั ภาษากรกี สญู หายไปพรอ้ มกบั สงคราม 42

ศิลปะกอธกิ ภาพ 8.5 มหาวิหารมลิ าน (Milan Cathedral) ในเมืองมลิ าน สรา้ งขนึ้ ดว้ ยสถาปัตยกรรมกอธิก ศิลปะกอธิก (Gothic Art) เร่มิ ตน้ จากฝรง่ั เศสในศตวรรษท่ี 12 และ แพรห่ ลายไปยงั ประเทศอนื่ ๆ และมีลักษณะตามภมู ิภาคนน้ั ๆ ด้วย ลักษณะสาคัญ ของสถาปัตยกรรมมีผนังเปดิ กวา้ ง มสี ว่ นสงู เดน่ เป็นพเิ ศษและมแี บบที่ออกมาเป็น ลายเสน้ อนั ซับซอ้ น ทุกส่วนล้วนประกอบเข้าด้วยกนั เปน็ สญั ลกั ษณท์ างศาสนา โครงสร้างหลงั คาเป็นโคง้ แหลม ศิลปะเรเนซองส์ ภาพ 8.6 มหาวหิ ารเซนตป์ ีเตอร์ (St. Peter’s Basilica) ในนครรฐั วาตกิ นั สรา้ งขนึ้ ดว้ ยสถาปัตยกรรมเรเนซองส์ ศิลปะเรเนซองส์ (Renaissance Art) เกิดขึ้นในอิตาลพี ร้อมกับการฟื้นฟู ศลิ ปวทิ ยา เน้นความมีความสมมาตร สัดส่วน รปู ทรงเรขาคณิต และลกั ษณะในศิลปะ คลาสสิค การวางโครงสรา้ งจะเปน็ แบบแผนไมว่ า่ จะเป็นเสา หรอื คานรบั เสา และการ ใช้ซุ้มโค้งครง่ึ วงกลม การใชโ้ ดม มุข ซึ่งสง่ิ ตา่ งๆเหล่าน้เี ข้ามาแทนทจี่ ะเปน็ แบบตรงกัน 43 ข้ามกบั รปู ทรงทซี่ ับซ้อน และไม่เปน็ ระเบยี บ ท่ีเป็นท่นี ยิ มของสิง่ กอ่ สร้างแบบกอธิค

ศลิ ปะบารอก ภาพ 8.6 การตกแตง่ ภายในพระราชวงั แวรซ์ ายสเ์ ป็นแบบบาโรก มีความหรูหรา ศิลปะบารอก (Baroque) หรือบาโรก เป็นสมยั หนึ่งของศิลปะตะวันตก ซึ่งเร่มิ ประมาณตน้ คริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่กรงุ โรม ประเทศอิตาลี เนน้ ความเป็น นาฏกรรม แสดงความขัดแย้งและความหรหู รา โอ่อ่า ศลิ ปะสัจนิยม ศิลปะสัจนยิ ม (Realism) คอื ทัศนศลิ ป์ และ วรรณกรรมทแ่ี สดงตัวแบบ หรือเร่ืองราวตามทป่ี รากฏในชวี ติ ประจาวันโดยปราศจากการสรา้ งเสรมิ หรือการ ตีความหมาย และหมายถึงงานศลิ ปะท่ีเผยให้เห็นถงึ ความเปน็ จรงิ ทอี่ าจจะเน้นความ เป็นอัปลักษณ์ดว้ ย ศิลปะลักษณะนีเ้ จริญสูงสดุ ในศตวรรษท่ี 20 เพราะมกี ารถ่ายภาพ แบบสัจนิยมด้วย ภาพ 8.8 (ซา้ ย) รูปป้ัน นกั คดิ (The Thinker) โดยออกสุ โรดนิ (Auguste Rodin) ภาพ 8.9 (ขวา) ตะกรา้ ขนมปัง (The Basket of Bread) โดยซลั วาดอร์ ดาลี (Salvador Dalí) 44

per angusta ad augusta


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook