รายงานวจิ ยั ในช้นั เรียน เรอ่ื ง การพฒั นาบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เรือ่ ง เทคโนโลยีรอบตัว ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 จดั ทาโดย นางสาวบศุ รนิ เหมทานนท์ ตาแหนง่ ครผู ้ชู ่วย โรงเรยี นเกาะคาวทิ ยาคม อาเภอเกาะคา จงั หวดั ลาปาง สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 35
1 1. ชือ่ งานวิจยั การพฒั นาบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน เรอ่ื ง เทคโนโลยีรอบตัว ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 2. ชอ่ื ผู้วจิ ัย นางสาวบุศรนิ เหมทานนท์ 3. กลุ่มเปา้ หมายและระยะเวลาในการทาวจิ ยั กลมุ่ เปา้ หมายเปน็ นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาช้ันปีท่ี 2 โรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม จานวน 17 คนซงึ่ การทาวจิ ยั ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562 4. ความเปน็ มาและสาเหตขุ องปญั หา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับที่ 3 พุทธศักราช 2545) มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรูต้ ้องมุ่งปลูกฝังจิตสานกึ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความ เปน็ ไทย รู้จักรกั ษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทัง้ สง่ เสริมศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม ของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความริเรมิ่ สร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2552) การเรียนสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพฒั นาให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ พน้ื ฐานท่จี าเป็นต่อการดารงชีวิต และร้เู ท่าทนั การเปล่ยี นแปลง สามารถนาความรเู้ กยี่ วกบั การดารงชวี ิต การอาชีพและเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ในการทางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และแข่งขันใน สังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทางาน และมีเจตคติท่ีดีต่อการทางาน สามารถดารงชวี ิตอยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างพอเพียงและมคี วามสุข ปัจจุบันท่ัวโลกได้ให้ความสาคัญกับการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ เพื่อเป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศและเป็นที่ประจักษช์ ัดวา่ เทคโนโลยีสารสนเทศมีอิทธิพลต่อการ พัฒนาเป็นอย่างมาก อาทิ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ที่ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการผลิต การบริหาร จัดการ ตลอดจนการส่งเสริมคุณภาพการเรียนรู้ ทาให้ประเทศต่างๆ ท่ัวโลกพยายามใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างกว้างขวาง เพื่อสรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกจิ และพัฒนา คุณภาพชีวติ ของประชาชนในสังคมและเมอ่ื พิจารณากระแสการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสงั คมใน ระดับนานาประเทศท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาประเทศไปสู่เศรษฐกิจและสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ สะท้อนให้เห็นถึงความสาคัญของเทคโนโลยีสารเสนเทศท่ีเพิ่มมากขึ้น เนื่องด้วยเป็นเทคโนโลยีที่มีส่วน สาคัญย่ิงต่อการผลิต การเข้าถึงการจัดเก็บ และการแพร่กระจายความรู้ อันเป็นปัจจุบันการผลิตหลัก ภายใต้ระบบเศรษฐกิจและสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (สานักงานเลขานุการคณะกรรมการ เทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ, 2545) สถานศึกษาหลายแห่งในปัจจุบัน ได้มีการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมี ความสามารถในการพัฒนาทักษะทางด้านการคิด การแก้ปัญหาและการนาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ ใช้ ควบค่ไู ปกับเทคโนโลยีทางดา้ นคอมพิวเตอร์ซง่ึ ปัจจบุ นั สถานศึกษาทมี่ ีความพรอ้ มทางด้านเทคโนโลยีจะ มี ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ พ่ื อ ใ ช้ ส อ น นั ก เ รี ย น ใ น วิ ช า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ต า ม ห ลั ก สู ต ร ข อ ง กระทรวงศึกษาธิการท่ีได้วางไวเ้ ป็นแม่แบบ หากแต่การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษา ถ้าขาด นโยบาย ข้อบังคับ หรือแนวทางในการนาไปใช้ที่ชัดเจน อาจจะก่อให้เกิดการใช้เทคโนโลยีอย่างหลง
2 ทิศทาง ใช้อย่างฟุ่มเฟือย หรือใช้เพื่อเป็นเครื่องประดับของสถาบัน (สันติ วิจักรขณาลัญฉ์, 2546) คอมพิวเตอร์มสี ่วนสาคัญในการเรียนรตู้ ลอดชีวิต โดยเฉพาะปัจจุบันรฐั บาลเน้นการนาเทคโนโลยมี าใช้ ครูและผูป้ กครองทถี่ อื เป็นผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสียกบั นกั เรยี น จึงต้องเตรยี มความพรอ้ มในการใชค้ อมพิวเตอร์ ในการแสวงหาความรู้อย่างแท้จรงิ (สมชาย เทพแสง, 2547) สงิ่ ท่ีมีจากัดต่างๆ เช่น อปุ กรณ์ บคุ ลากร ส่ือการเรียนการสอน ในโรงเรียนไม่ได้เป็นปัญหาในการจัดการ หากเรามีกลยุทธ์ในการบริหารจัดการ ทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (แจม่ จันทร์ ศรอี รุณรัศมี, 2548) การจัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา เป็นการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาข้ัน พื้นฐานที่เปิดโอกาสให้ทุกคนได้เข้ามาสู่ระบบการศึกษาอยา่ งเสมอภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการ เรียนการสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา ซ่ึงเป็นภารกิจหลักของโรงเรียนนั้นมีความสาคัญต่อการพัฒนา พฤตกิ รรมการเรียนรู้ของผเู้ รียน เนอื่ งจากผู้เรียนในระดบั นี้ จะใช้เวลาสว่ นมากอยู่ทีโ่ รงเรยี นประมาณวัน ละ 7 – 8 ชั่วโมง ซ่ึงในแต่ละปีการศึกษา ผู้เรียนจะใช้เวลาอยู่ที่โรงเรียนทั้งส้ินประมาณ 200 วันการ จัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา มีผลต่อการพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็น อย่างยิ่ง ถ้าผู้เรียนเข้ามาอยู่ในโรงเรียนแล้ว ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ไม่สอดคล้องกับ พัฒนาการ ความสนใจความสามารถ และความต้องการ ก็จะทาให้ผู้เรียนรู้สึกเคร่งเครียด เบ่ือหน่าย และเกิดความรู้สึกท่ีไม่ดีต่อการเรียน (วสันต์ ทองไทย, 2548) จากการวิจัยปัจจัยท่ีมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษา ได้แก่ ทักษะพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ แรงเสริมของผู้สอน ความพร้อม ทางดา้ นร่างกายและจติ ใจ ค่านยิ ม ความเข้าใจในวชิ าทีเ่ รียน แรงจงู ใจใฝส่ มั ฤทธิ์ ดังนั้น ความเบ่ือหน่าย ความรู้สึกไม่ดีต่อการเรียนและความรู้สึกเคร่งเครยี ด นั้นเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ต่า (สรายุทธ มาลา, 2545) เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวมาข้างต้น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นอีกวิธีหน่ึงในการ แก้ไขปัญหา โดยรูปแบบของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรูปแบบหนึ่งที่นามาใช้ในการจัดทาบทเรียน คือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมการสอน (Instructional game) เนื่องจากการนาเกมมาใช้ในกิจกรรม การเรียนการสอนก็เป็นกระบวนการอย่างหนึ่งท่ีจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ท่ี กาหนดและกระตุ้นการมีส่วนรว่ มต่อการเรียน เป็นวิธีการสร้างแรงจูงใจให้เกิดความสนใจในการเรียน มากยิ่งข้ึน เนื่องจากเกมมีลักษณะที่ทาให้เกิดความสนุกสนาน ท้าทายและต่ืนเต้นกับการมีปฏิสัมพันธ์ กับบทเรียนตลอดเวลา โดยให้นักเรียนเล่นเกมภายใต้การควบคุมของกฎกติกาและสถานการณ์ของ เน้ือหา หลังจากการเล่นเกมแล้ว นักเรียนจะประจักษ์แจ้งด้วยตนเอง ทาให้เกิดความคงทนต่อการจา (ทศิ นา แขมมณี, 2549) จากท่ีกล่าวมาข้างต้น ผู้วจิ ัยสนใจที่จะสร้างบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนมาใช้ในการ เรยี นการสอน หน่วยการเรียนรู้ เทคโนโลยรี อบตวั สาหรบั นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการใชบ้ ทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จะกระตุ้นและสรา้ งแรงจูงใจให้ผู้เรียนอยากท่ีจะเรียนรู้ สามารถเรียนด้วยความ สนุกสนาน ตลอดจนสรา้ งองคค์ วามรู้เป็นของตนเอง ด้วยกจิ กรรมทอ่ี ยใู่ นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รวมทง้ั ยงั ช่วยแกป้ ญั หาข้างตน้ ไดอ้ ีกทางหนงึ่ โดยผ้เู รยี นสามารถศึกษาเน้ือหาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนที่เรียนได้เร็วก็สามารถเรียนล่วงหนา้ ไปได้ ผู้ที่เรียนช้าก็สามารถทบทวน บทเรียนไดโ้ ดยไมจ่ ากัดเวลา ลดปัญหาความเหลื่อมล้าในกระบวนการเรียนการสอน ทาใหผ้ ู้เรยี นเรียนรู้ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งขน้ึ
3 5. วัตถปุ ระสงค์ของงานวจิ ัย 1) เพ่ือสรา้ งและหาประสิทธภิ าพของบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน หนว่ ยการเรยี นรู้ เทคโนโลยรี อบตวั สาหรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ช้ันช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน หน่วยการเรียนรู้ เทคโนโลยีรอบตวั 6. วธิ ีการวิจัย 6.1 เครอ่ื งมือในการวจิ ยั เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในงานวจิ ยั ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรยี นรู้ สาหรับนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาชัน้ ปีท่ี 2 2) บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนแบบเกมการสอนหน่วยการเรียนรู้ เทคโนโลยรี อบตัว 3) แบบความพึงพอใจของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ทีม่ ีตอ่ บทเรยี นคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เร่ือง เทคโนโลยีรอบตวั 6.2 การสรา้ งและหาประสิทธภิ าพของเคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในงานวจิ ยั 6.2.1ขนั้ ตอนการสร้างแผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเร่ืองเทคโนโลยี รอบตัว 1 แผน โดยมีวธิ ีการสรา้ งและหาคุณภาพดงั นี้ 1) ศึกษาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรแกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชพี และเทคโนโลยี พทุ ธศักราช 2551 จดุ ประสงคก์ ารเรียนร้,ู สาระสาคญั กระบวนการจัดการเรียนรู้ เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ บันทึกผลหลงั การสอน 2) สรา้ งแผนการเรียนรู้ จานวน 1 แผน 3) นาแผนการจดั การเรยี นรู้ เรือ่ ง เทคโนโลยีรอบตวั ไปให้ผเู้ ช่ยี วชาญจานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา โดยพิจารณาความสอดคล้องกับจุดประสงค์การวัดและ ประเมนิ ผล แลว้ นามาปรับปรงุ แกไ้ ขข้อเสนอแนะ โดยพจิ ารณาจากแบบประเมนิ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบมาตราสว่ นประมาคา่ 5 ระดบั นาแผนการจดั การเรียนรู้ เร่ืองเทคโนโลยรี อบตัว ทไ่ี ดร้ บั การปรบั ปรุง เรยี บรอ้ ยแล้วไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนกับผเู้ รียน 6.2.2 ข้นั ตอนการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน นวัตกรรมที่ใช้ได้แก่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีรอบตัว จานวน 1 เรอ่ื งโดยมกี ารสร้างและหาคุณภาพดังนโี้ ดยใช้ทฤษฏีการเรียนรกู้ ลุ่มพฤตกิ รรมนิยม ทฤษฏกี าร เสริมแรงของสกินเนอร์ โดยการให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนและแสดงผลย้อนกลับในทันทีให้กับ ผเู้ รียน ทาให้ผู้เรียนมีการกระตุ้นในการเรียนมากยิ่งข้ึน อาจจะทาให้คะแนน แบบทดสอบหลังเรียนทฤษฎีคอนสตรัคติวิสม์ เพ่ือให้ผู้เรียนรู้และสร้างความรู้ด้วยตนเองในบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประกอบด้วย สถานการณ์ปัญหา ภารกิจ ฐานความช่วยเหลือและแหล่งเรียนรู้ เพิ่มเติม รูปแบบการสอนของ ADDIE MODEL ใช้ในการออกแบบสร้างนวัตกรรมในการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย
4 6.2.2.1. ข้ันตอนการวิเคราะห์ (Analysis) วิเคราะห์เน้ือหาบทเรียนประเด็นของ คุณลักษณะของผู้เรียน วัตถปุ ระสงค์,ความรู้,ทกั ษะ,พฤตกิ รรมท่คี าดหวงั ปรมิ านและความรใู้ นเน้อื หา แหลง่ ขอ้ มลู ขนั้ ตอนการ วิเคราะห์ประกอบด้วย 1) ศึกษาหลักสูตรและคู่มือหลักสูตรแกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี พุทธศักราช 2551 2) ศึกษาค้นคว้าข้อมูลและการวิจัยที่เก่ียวข้องกับบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อปุ กรณ์ส่ือสารขอ้ มูล 3) ศึกษาวิธสี ร้างสื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน ( CAI : Computer Assisted Instruction ) ขอ้ มูลจากเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง 4) ศึกษาวธิ กี าร หาคุณภาพของส่ือการเรียนรู้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI : Computer Assisted Instruction ) จากเอกสารงานวิจยั ท่ีเก่ยี วข้อง 6.2.2.2 ขนั้ การออกแบบ (Design) ประกอบด้วย 2 ขัน้ ตอนคือ 1) จดั ทาตน้ แบบหน้าจอกาหนดขนาดการ วางตัวเลอื กต่างๆ ในการใชง้ าน 2) ออกแบบสตอร่ีบอรด์ การออกแบบการจดั วางเนื้อหาและออกแบบ 6.2.2.3 ขัน้ การพฒั นา (Develop) ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนคือ 1) ลงมือปฏิบัติการออกแบบพัฒนา ส ร้ า ง ส่ื อ ก า ร เ รี ย น รู้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ช่ ว ย ส อ น ( CAI : Computer Assisted Instruction ) เร่ือง รจู้ ักอปุ กรณ์สือ่ สารขอ้ มูลโดยกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล จดั วางเน้ือหา ตามลาดับการเรียนรู้ 2) นาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI : Computer Assisted Instruction) เรื่อง รู้จักอุปกรณ์สื่อสารข้อมูล ไปให้ผู้เช่ียวชาญ จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความ เที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยพิจารณาความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ การวัดประเมินผล แลว้ นามาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 6.2.2.4 ข้ันการนาไปใช้ (Implement) นาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer Assisted Instruction) เร่ือง รู้จักอุปกรณ์ส่ือสารข้อมูล ที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขแล้วนาไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย นกั เรยี นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเกาะคาวิทยาคม จานวน 17 คน เปน็ เวลา 2 ชั่วโมง 6.2.2.5 ข้นั ตอนการประเมินผล (Evaluate) เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนหลังจากใช้ สื่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI : Computer Assisted Instruction) เร่ืองรู้จักอุปกรณ์ส่ือสารข้อมูล ท่พี ฒั นาข้นึ วา่ บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ที่กาหนดไว้หรอื ไม่ โดยนาคะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรียนท่ีได้จาก การใช้จริงมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรยี นและหลังเรียนเพื่อดูความก้าวหน้าของการ เรยี น 6.2.3 ข้นั ตอนการสรา้ งแบบทดสอบ ผู้วิจัยได้จัดทาแบบทดสอบ เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดยมีวิธี สร้างและหาคณุ ภาพ ดังนี้ 1) ศึกษาค้นควา้ เอกสารเก่ียวข้องกบั การสร้างแบบทดสอบวัดสัมฤทธ์ิทางการ เรียนของนักเรียน 2) วิเคราะห์ตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้เกี่ยวกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เพ่ือนามาสรา้ งแบบทดสอบจานวน 10 ขอ้ เพ่ือใช้ในการทดสอบก่อน เรียนและหลังเรียน 3) นาแบบทดทดสอบท่ีสร้างขึ้นไปให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบความสอดคล้อง และ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามข้อเสนอแนะของผ้เู ช่ียวชาญ และคดั เลอื กคาถาม มาจดั พิมพเ์ พ่อื นาไปใช้ต่อไป
5 6.2.4 ขน้ั ตอนการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ ผู้วิจยั ไดจ้ ดั ทาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียน เพอ่ื ให้นักเรยี นไดแ้ สดง ความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน หนว่ ยการเรียนรู้ เทคโนโลยีรอบตัว ท่ีผวู้ ิจัยสรา้ งข้ึน เปน็ แบบตรวจสอบรายการ ดังน้ี 1) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของ นักเรยี น 2) ผู้วจิ ยั สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียนตอ่ บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน หนว่ ย การเรียนรู้ เทคโนโลยีรอบตัว จานวน 15 ขอ้ ซ่ึงเปน็ แบบ Rating Scale 5 ระดบั โดยมเี กณฑก์ ารให้ค่า คะแนน ดังน้ี 5 คือ พอใจมากทส่ี ดุ , 4 คือ พอใจมาก , 3 คือ พอใจปานกลาง , 2 คือ พอใจนอ้ ย และ 1 คอื พอใจน้อยทีส่ ุด มเี กณฑก์ ารแปลความค่าเฉลยี่ ดังนี้ 4.51 – 5.00 พงึ พอใจในระดบั มากทีส่ ุด 3.51 – 4.50 พงึ พอใจในระดับมาก 2.51 – 3.50 พึงพอใจในระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 พงึ พอใจในระดับน้อย 1.00 – 1.50 พงึ พอใจในระดับน้อยทส่ี ดุ
6 7. ผลการวิจัย ตารางที่ 1 ผลของการสร้างและหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีรอบตวั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 รายการประเมินขอ้ ที่ คะแนนจากผ้เู ช่ยี วชาญ คนท่ี3 คา่ เฉลีย่ S.D. คนท่ี1 คนท่ี2 1. ดา้ นเน้อื หา 4 4.33 0.58 1 45 4 4.33 0.58 2 45 5 4.67 0.58 3 45 5 4.33 0.58 4 44 5 5.00 0.00 5 55 5 4.67 0.58 6 45 5 5.00 0.00 7 55 5 4.67 0.58 8 45 4.63 0.43 5 2. ด้านส่ือ รวม 5 50 9 5 50 10 55 5 50 11 55 4 4.67 0.58 12 55 4 4.33 0.58 13 45 5 4.33 0.58 14 45 5 4.67 0.58 15 45 4.67 0.58 45 5 4.71 0.36 5 16 4 5 5 4.67 0.58 3. ด้านการวดั และประเมินผล รวม 5 4.67 0.58 5 4.67 0.58 17 4 5 4.67 0.58 18 4 5 4.67 0.58 19 4 5 20 4 5 21 4 5
7 รายการประเมินข้อที่ คะแนนจากผู้เช่ยี วชาญ คนท่ี3 ค่าเฉลย่ี S.D. คนที่1 คนท่ี2 5 22 4.67 0.58 23 45 5 4.67 0.58 24 4.33 0.58 45 5 4.63 0.58 4.65 0.46 44 รวม รวมเฉลยี่ จากตารางท่ี 1 พบว่าผลการหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยี รอบตัว ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มคี ณุ ภาพอยูใ่ นระดับมากท่ีสดุ มีคา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 4.65 ตารางที่ 2 ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เทคโนโลยี รอบตวั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 คะแนนแบบฝึกหดั และช้ินงานระหว่างการใชบ้ ทเรยี น คะแนนสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี น (10 คะแนน) นักเรียนคนท่ี คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 1 (10คะแนน) 2 (10คะแนน) 3 (10คะแนน) 19 8 6 6 2 10 9 7 8 38 10 7 9 48 9 6 9 5 8 7 10 8 69 10 7 9 78 9 6 8 8 10 8 7 8 99 8 6 9 10 9 8 6 8 11 10 9 7 9 12 8 10 7 8 13 8 9 6 8 14 8 7 10 8 15 9 10 7 7 16 8 9 6 9
8 คะแนนแบบฝึกหัดและชนิ้ งานระหว่างการใชบ้ ทเรียน คะแนนสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียน (10 คะแนน) นกั เรียนคนที่ คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน 8 1 (10คะแนน) 2 (10คะแนน) 3 (10คะแนน) 74 8.22 17 10 8 7 82.22 82.22 รวม 79 78 62 m 8.78 8.67 6.89 รอ้ ยละ 87.78 86.67 68.89 ประสทิ ธิภาพ 81.11 จากตารางท่ี 2 พบว่าผลการหาประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีรอบตวั มีประสิทธิภาพ เทา่ กับ 81.11/81.22 ซงึ่ เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดคือ 80/80 ตารางท่ี 3 ผลการหาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีมีต่อบทเรียน คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน เร่อื ง เทคโนโลยีรอบตวั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ท่ี รายการ S.D. แปลผล ดา้ นเนอื้ หา 4.76 0.44 ดีมาก 1 การจดั ลาดบั นาเสนอเนื้อหาท่เี หมาะสม 4.88 0.33 ดีมาก 2 ภาษาที่ใช้สื่อความหมายและและเข้าใจง่าย เหมาะสมกบั กบั วยั 4.94 0.24 ดีมาก หรือระดบั ชน้ั 4.76 0.44 ดมี าก 4.71 0.59 ดมี าก 3 ภาษาทใี่ ชถ้ กู ตอ้ ง ชัดเจน ทั้งคาศัพทแ์ ละไวยกรณ์ 4.81 0.41 ดีมาก 4 เน้ือหามคี วามยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรยี น 5 เนอื้ หามคี วามเหมาะสมกับระยะเวลาในการจดั กิจกรรมการเรยี น การสอน รวมเฉลย่ี ดา้ นสือ่ 4.71 0.59 ดีมาก 6 สอ่ื มีความนา่ สนใจ และดงึ ดดู ความสนใจ 4.88 0.33 ดีมาก 7 ขนาดของตัวอกั ษรมีความเหมาะสม 4.82 0.39 ดมี าก 8 รปู ภาพที่ใช้มีความสอดคล้องกบั เนือ้ หา 4.94 0.24 ดีมาก 9 การเชื่อมโยงไปยงั หน้าต่างอนื่ ๆมคี วามเหมาะสม
9 ท่ี รายการ S.D. แปลผล 10 มีการนาเสนอเน้ือหาต่อเนอื่ ง 4.82 0.39 ดีมาก รวมเฉล่ีย 4.83 0.39 ดมี าก ดา้ นการวดั และประเมินผล 4.71 0.59 ดีมาก 11 ความเหมาะสมของจานวนขอ้ สอบ 4.94 0.24 ดีมาก 12 ความถกู ตอ้ งชัดเจนของคาถามและคาตอบ 4.94 0.24 ดีมาก 13 ประเภทของแบบทดสอบเหมาะสมกับวัยของผเู้ รียน 14 แบบทดสอบมีความยากง่ายเหมาะสมกบั วยั ของผู้เรียน 4.88 0.33 ดมี าก 15 แบบทดสอบมีความครอบคลุมเนอ้ื หาทกุ ขอ้ 4.82 0.39 ดีมาก รวมเฉลีย่ 4.86 0.36 ดีมาก 4.83 0.38 ดีมาก รวมเฉลีย่ ทกุ รายการ จากตารางท่ี 3 พบว่าความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่มีต่อบทเรียน คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง เทคโนโลยีรอบตัว ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความพงึ พอใจมากที่สุดในด้าน การวัดและประเมินผล มีค่าเฉลี่ย 4.86 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมามีความพึงพอใจด้านส่ือ มีค่าเฉลี่ย 4.83 อยใู่ นระดับดีมาก และสุดท้ายคือดา้ นเนอื้ หา มีคา่ เฉล่ยี 4.81 อย่ใู นระดบั ดีมาก 9. สรปุ ผลสะท้อนผล บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เร่อื ง เทคโนโลยีรอบตวั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 การศกึ ษาครง้ั นี้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของส่ือบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เทคโนโลยีรอบตัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ศกึ ษา ในครัง้ นี้ คือ นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2/1 ทเี่ รียนในภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเกาะคา วิทยาคม จานวน 17 คน เนื้อหาที่ใช้เป็นเน้ือวิชาการออกแบบเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ เทคโนโลยีรอบตัว สาหรับ นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ คอื บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน เร่อื ง เทคโนโลยีรอบตัว ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ใช้ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ 1 แผน ผู้วิจัยได้นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนไปทดลองใช้เพื่อหาประสิทธิภาพกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 ซ่ึงเป็นนักเรียนห้อง 1 โรงเรียนเกาะคาวิทยาคม ปีการศึกษา 2562 จานวน 17 คน พบว่าการทดลองใช้ซ่ึงมีประสิทธิภาพ 81.11/82.22 ซ่ึงค่าประสิทธภิ าพเปน็ ไปตามเกณฑ์ทก่ี าหนด ผูว้ จิ ัยเปน็ ผู้ดาเนินการเอง สถิตพิ น้ื ฐาน ท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ (IOC) หาค่า ประสิทธิภาพของการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มาตรฐาน EPUB 3 โดยใช้สูตร E1/ E2 ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซ่ึงผู้วิจัยได้นาเสนอผลกการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ตามลาดับดงั น้ี
10 สรปุ ผลการศึกษา จากการศกึ ษาและนาบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เรือ่ ง เทคโนโลยีรอบตัว ชั้นมธั ยมศึกษา ปีที่ 2 ไปใช้กบั กลมุ่ เปา้ หมายปรากฏผลดังนี้ 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีรอบตัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความ เหมาะสมสอดคล้องขององค์ประกอบต่างๆ ได้แก่ ด้านเน้ือหา ด้านส่ือ ด้านวัดผลและประเมินผล มี คุณภาพเท่ากับ 4.65 อยู่ในระดับมากท่ีสุด และมีประสิทธิภาพ 81.11/81.22 ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์ท่ี กาหนด 2. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน เร่ือง เทคโนโลยีรอบตัว ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.83 อภปิ รายผลการศกึ ษา ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เทคโนโลยีรอบตัว ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ผวู้ ิจยั ไดอ้ ภปิ รายผลการศกึ ษาไวด้ งั น้ี 1. การสร้างและหาและหาประสิทธิภาพของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีรอบตัว ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ให้มปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 ผลของการสร้างส่อื บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เร่ือง เทคโนโลยรี อบตวั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 จากความคิดเห้นของผู้เช่ียวชาญพบว่า บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน เรือ่ ง เทคโนโลยีรอบตวั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 มีคุณภาพอยู่ในระดับมากท่ีสุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.65 นั่นเป็นเพราะบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เทคโนโลยีรอบตัว มีองค์ประกอบต่างๆท่ีน่าสนใจ ซึ่งประกอบด้วย ขอ้ ความ ภาพนิง่ /ภาพกราฟกิ และเสียงท่เี หมาะสมกบั วยั ของผู้เรยี น ซ่งึ ทาให้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน ท่ีพัฒนาข้ึนช่วยกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนเกิดความต้องการท่ีจะเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนมี กระบวนการเรียนรทู้ ี่ดีขึน้ ซึง่ การออกกแบบบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน เรอื่ ง เทคโนโลยรี อบตัว มี ข้ันตอนการออกแบบโดยยึดข้ันตอนการออกแบบของนักการศึกษา วารุณี คงวิมล (2559) การพัฒนา ส่ือมัลติมีเดีย โดยยึดหลักของ ADDIE Model ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นการวิเคราะห์ (Analyze), ข้ันการออกแบบ (Design), ข้ันการพัฒนา (Develop), ข้ันการนาไปใช้ (Implement), ข้ัน การประเมินผล (Evaluate) ซ่ึงบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เรอ่ื ง เทคโนโลยรี อบตัว ช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 2 มีจานวน 1 หน่วยการเรียนรู้ ซ่ึงประกอบด้วย คานา คาแนะนาสาหรับการใช้งาน จุดประสงค์ การเรียนรู้ เนื้อหา และกิจกรรมใบงาน ซ่ึงขั้นตอนท่ีครบถ้วนเหล่าน้ี จะช่วยส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกดิ การ เรียนรไู้ ดเ้ ป็นอยา่ งดี และยงั ชว่ ยกระตนุ้ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรยี นรู้ไดด้ ้วยตนเอง ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีรอบตัว ชั้น มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรียนเกาะคาวิทยาคม ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 ผลการหาคณุ ภาพพบว่า มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 81.11/81.22 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดคือ 80/80 ท้ังนี้เพราะบทเรียน คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ทพ่ี ัฒนาขนึ้ นนั้ ผู้วิจัยไดศ้ กึ ษาวธิ ีการสร้างบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วย เพื่อกาหนด ขอบเขตและเน้ือหาท่ีต้องการ ผู้วิจัยได้มีการแบ่งเนื้อหาของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีรอบตัว โดยผู้วิจัยนาทฤษฎี ADDIE Model มาช่วยในการออกแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มาตรฐาน EPUB 3 ซ่ึงมีข้ันตอนการออกแบบ 5 ขั้นตอน คือ ข้ันตอนที่ 1 การวิเคราะห์ (Analysis), ข้นั ตอนที่ 2 ข้นั การออกแบบ (Design), ข้ันตอนท่ี 3 ขน้ั การพฒั นา (Development), ขั้นตอนท่ี 4 การ
11 นาไปใช้ (Implementation) และ ข้ันตอนท่ี 5 การประเมินผล (Evaluation) การพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีรอบตัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้ผ่านการตรวจสอบของ ผเู้ ชย่ี วชาญทกุ ขัน้ ตอนและได้รับการปรับปรงุ แก้ไขตามขอ้ เสนอแนะ จึงทาให้บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วย สอน มีประสิทธิภาพช่วยพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ เจษฎา ถาวรนุวงศ์ (2553) ได้ทาการวิจัยเรื่องการศึกษา เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาท่ีเรยี นด้วยหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์กับการสอนดว้ ยวิธี ปกตริ ะดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี พบวา่ ประสิทธภิ าพของหนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ วชิ าคอมพวิ เตอร์เพ่ือ งานอาชีพ รหัส 2001-0005 มีประสิทธิภาพ 85.96/88.67 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ท่ี กาหนด นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ อโณทยั ภู่สีม่วง (2558) การพัฒนาการเรียนการสอน โดยใช้ส่ือการสอน E-book เร่ืองการสร้างเว็บเพจด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป Adobe Dreamweaver CS 3ของนักศึกษาระดับช้ัน ปวส.2 สาขาวชาิ คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2557 วทิ ยาลยั เทคโนโลยีวิมลศรี พบว่า. ประสิทธิภาพของการพัฒนาการเรียนการสอน โดยใช้สื่อการสอน E-book เร่อื งการสรา้ งเว็บเพจดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรปู Adobe Dreamweaver CS 3 ของนกั ศกึ ษา ระดบั ปวส.2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ต้ังไว้ 80/80 โดยคะแนนแบบฝึกระหว่างเรยี น เท่ากับ 82.50 และคะแนนหลังเรียนเท่ากับ 81.70 ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานท่ีตั้ง และสอดคล้องกับ งานวิจยั ของ สนธยา กวนสาโรง, ศักด์ิ สวุ รรณฉาย และชาตรี เกดิ ธรรม (2557) ได้ทาการวิจยั เรือ่ ง การ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและทักษะปฏิบัติโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนกิ ส์ กลุ่มสาระการเรียนร้กู าร งานอาชีพและเทคโนโลยี สาหรับนกั เรียนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 พบวา่ ประสทิ ธภิ าพของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ สาหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ที่สร้ างข้ึนมีคุณภาพตามเกณฑ์ 81.21/82.89 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ต้ังไว้ 2. การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีมีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ย สอน เรอ่ื ง เทคโนโลยีรอบตวั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีรอบตัว ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.83 อยู่ในระดับมากที่สุด ท้ังน้ีเป็นเพราะ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประกอบไปด้วย รูปภาพ/กราฟิก ภาพเคล่ือนไหว ข้อความท่ีเหมาะสม กับวัยของผู้เรียนจึงช่วยดึงดูดความสนใจของผู้เรียนเป็นอย่างมาก ทาให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการการ เรยี นรู้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั งานวิจยั ของ เยาวลักษณ์ งามแสนโรจน์ (2555) ไดท้ าการ วิจยั เร่ือง การพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชา 4000113 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรียนรู้ โดยใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มี พบว่า ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มตี ่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในภาพรวม อยู่ ในระดบั มาก คิดเป็นคา่ เฉลี่ย 4.21
12 ข้อเสนอแนะในงานวิจยั จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนเกาะคาวิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ประจาปีการศึกษา 2562 ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เร่ือง เทคโนโลยีรอบตัว ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 ผวู้ ิจัยมีขอ้ เสนอดงั น้ี 1. ขอ้ เสนอแนะทว่ั ไป 1.1 โรงเรยี นตอ้ งมเี คร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มีประสทิ ธิภาพ เพอ่ื ทีจ่ ะใช้งานบทเรียน คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน เรอ่ื ง เทคโนโลยีรอบตวั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ได้ 1.2 กอ่ นการจดั กิจกรรกมการเรียนการสอนด้วยบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน เรือ่ ง เทคโนโลยีรอบตัว ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ผู้สอนควรตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ก่อน การ จัดกิจกร ร มการ เรียน การ สอน เพ่ือช่วยให้การ จัดกิจกร ร มการ เ รียน การ สอน ดาเนิน ไปอย่างมี ประสิทธิภาพ 2. ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน ในกลมุ่ สาระการเรยี นร้อู ื่นๆ เพ่ือให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรอู้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
13 บรรณานุกรม กนษิ ฐก์ านต์ ปันแก้ว. (2556). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการออกแบบส่ิงแวดลอ้ ม ทางการเรยี นรูต้ ามแนวคอนสตคั ติวสิ ์ต. ลาปาง : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏลาปาง. กรรณิกา แช่มประเสรฐิ . (2557). การพัฒนาบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน วิชาการงานอาชีพ เร่ือง การใช้พลังงานไฟฟา้ อย่างประหยดั กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานพิ นธ์การบรหิ ารการศึกษา. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบุรี. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2545). หลักสตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2544. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กรงุ เทพมหานคร. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษา พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร. โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. กัลยา จนั ทร์สระแก้ว. (2555). การพัฒนาบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนบนเครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ แบบเกมการสอนเพอื่ ส่งเสรมิ ความคิดเชิงตรรกะ เรอ่ื ง ผงั งาน ระดับชัน้ ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้นั ปีที่ 2. วิทยานพิ นธ์ครุศาสตร์อตุ สาหกรรมมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . กลั ยา วานิชยบ์ ญั ชา. (2546). การใช้ SPSS for Windows ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล. พมิ พค์ ร้ังท่ี 6. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ครองชัย สวุ รรณมาโจ. (2552). การพัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนวชิ าคอมพิวเตอร์ เรือ่ งการใช้โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6. วทิ ยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑติ . มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : สานักงาน. จตุพร ทรงประสิทธิ์. (2545). การศึกษาเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์
14 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ท่ีเรียนดว้ ยบทเรียน คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนรูปแบบเกมการสอน และรปู แบบสถานการณ์จาลอง. วิทยานิพนธค์ รศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีเทคนิคศกึ ษา บัณฑติ วทิ ยาลัย สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระ นครเหนือ. แจ่มจนั ทร์ ศรีอรุณรศั ม.ี (2548). 13 กลยทุ ธ์ สาหรบั การสนับสนนุ ICT ในโรงเรยี น. ฉบบั ที่ 137. วารสารการศึกษาวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลย.ี ชนติ รา ศรลัมพ์. (2547). การศึกษาความพงึ พอใจในการเรยี นกลุ่มสาระการงานอาชพี และเทคโนโลยีของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนในสังกดั สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญา ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2520). ระบบส่อื การสอน. วารสารศลิ ปากรศึกษาศาสตรว์ ิจยั , ปีท่5ี , ฉบับท่ี 1,7-10. ชศู รี วงศร์ ตั นะ. (2553). เทคนคิ การใชส้ ถิติเพื่อการวิจัย. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 12. นนทบรุ ี: ไทเนรมติ กจิ อินเตอร์ โปรเกรสซฟิ จากัด. ทิศนา แขมมณ.ี (2549). 14วิธกี ารสอนสาหรับครมู อื อาชีพ. พิมพค์ ร้ังที6่ . โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร. ธราภพ ยานการ. (2550). การสรา้ งบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนเรอื่ งการสรา้ งเว็บเพจ สาหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาหลักสูตรและการ สอน(การสอนท่ัวไป). อุตรดติ ถ์. นา้ ผ้งึ กรอบทอง. (2553). การพฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงาน
15 อาชพี และเทคโนโลยี เร่อื ง หลักการทางาน และองค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ ของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1. วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราช ภัฏเทพสตรี. เนตร หงษไ์ กรเลิศ. (2545). การพฒั นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมในการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ สาหรบั นกั เรียนอายรุ ะหว่าง 7-10 ปี ท่ีมอี าการสมาธสิ ัน้ และมี พฤติกรรมอย่ไู มน่ ่งิ . วิทยานพิ นธ์ปริญญาครุศาสตรดษุ ฎบี ัณฑิต จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ประภาส เกตแุ กว้ . (2546). ความพงึ พอใจของผ้ใู ชบ้ ริการที่มีตอ่ การใหบ้ ริการของฝ่ายทะเบียนรถ สานกั งานเขตขนส่งจงั หวัดประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตร์ มหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. พชิ ติ ฤทธิจ์ รูญ. (2547). การวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาการเรียนร้ปู ฏบิ ตั กิ ารวจิ ัยในช้นั เรียน. (พิมพ์ครง้ั ท4่ี ). กรุงเทพ. จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. พนั ธ์ยศ ศรีนเรศพงษ์. (2549). ออนไลน์. https://www.gotoknow.org/posts/20932. พนั ธศ์ กั ดิ์ นาคเนียม. (2552). ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรียนเซนต์โยซฟ บางนา ที่เรยี นโดยใชบ้ ทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรอื่ ง “การ ใชโ้ ปรแกรม Microsoft PowerPoint 2003” ในสาระเทคโนโลยีเพือ่ การทางานและ อาชพี . วิทยานิพนธ์ศลิ ปศาสตรม์ หาบณั ฑติ . มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี. มีธี มงุ คุณ. (2551). การพัฒนาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี เรอ่ื ง คอมพวิ เตอรเ์ บอื้ งตน้ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5. วิทยานพิ นธค์ รุศาสต รมหาบณั ฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. มนต์ชัย เทียนทอง. (2546). การออกแบบและพฒั นาคอรส์ แวรส์ าหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ ชว่ ยสอน. ศนู ย์ผลิตตาราเรียน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื . กรุงเทพมหานคร. มนธิรา ชมโคกกรวด. (2550). การลาเลยี งสารในส่งิ มชี วี ิต รายวชิ าชวี วิทยาสาหรับนกั เรยี น ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่4. กรุงเทพฯ: บริษทั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จากดั .
16 รุ่งอรุณ ลียะวณิชย.์ (2546). ผลของการใช้เกมคณิตศาสตรใ์ นการสอนตามแนวคดิ คอนสตรคั ติวิสต์ ทมี่ ผี ลตอ่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและสานึกดา้ นจานวนของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 3. วิทยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ ภาควิชาประถมศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลดั ดาวัลย์ เพชรโรจน์ และอัจฉรา ชานิประศาสน.์ (2545). ระเบียบวิธวี ิจัย. กรุงเทพ. สถาบนั ราชภัฏพระนคร วัชราพร เพง็ สขุ . (2554). การพฒั นาบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน เรอ่ื ง พน้ื ฐานการสอื่ สารขอ้ มูล และเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีของ นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3. วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลยั ราชภัฏ เทพสตรี. วทิ ยา พรพชั รพงศ์. ทฤษฎีเกม. (ออนไลน์).แหลง่ ท่ีมา : www.gotoknow.org/blog/modernmanagement/71847 (24 ตุลาคม 2558). วรวทิ ย์ บุญมนั่ แสนสขุ .( 2550). ประเภทของซอฟต์แวรเ์ กม. [ระบบออนไลน]์ . 10 กรกฎาคม. (2551). เข้าถึง 19 มีนาคม 2559 http://igdgamestudio.is.in.th/?md=content&ma=show&id=10 วสัน ทองไทย. (2548). รูปแบบการเรียนการสอนเพอ่ื พัฒนาจิตพิสยั ในการเรียนรู้ สาหรบั ผู้เรียนในระดับประถมศึกษา. ฉบบั เมษายน – มิถุนายน. วารสารวิชาการ. สกลุ สขุ ศิร.ิ (2550). ผลสมั ฤทธ์ขิ องสอ่ื การเรยี นรู้แบบ Game Based Learning. สารนพิ นธว์ ทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ . การพัฒนาทรพั ยากรมนุษยแ์ ละองคก์ าร .คณะพัฒนา ทรัพยากรมนษุ ย์ สถาบนั บัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์. สันติ วจิ กั รขณาลัญฉ์. (2546). E-Learning รูปแบบการเรยี นรู้ยคุ ปัจจุบนั . ฉบับ กรกฎาคม – สิงหาคม. วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลย.ี สุพนิ บุญชูวงศ.์ (2551). เรอื่ ง : ความคิดเหน็ ของนกั ศึกษาคณะครุศาสตร์
17 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดุสิตต่อการเรียนวิชาหลักการสอนโดยสรุปเนอื้ หาดว้ ยแผนที่ ความคดิ . มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดุสติ . สมชาติ กจิ ยรรยง สมชาติ กจิ ยรรยง. (2552). เกมกิจกรรมเพ่ือการเสรมิ สร้าง และพัฒนาทมี งาน. กรงุ เทพฯ: พาวเวอรฟลู ไลฟ์ สมชาย เทพแสง. 2547. โรงเรียนแห่งการเรียนรู้ (Learning School) : กญุ แจ สาคัญในการพัฒนาคุณภาพนกั เรยี น. ฉบับ เมษายน – มถิ นุ ายน. วารสารวชิ าการ. สมชาย เมืองมลู . (2557). การออกแบบและพัฒนาคอรส์ แวร์. สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ลาปาง. สุรรี ตั น์ ชัยฤทธิ์. (2551). การพฒั นาบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน วิชาคอมพวิ เตอร์ เร่ือง เลขฐาน สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. วทิ ยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหา บัณฑติ . มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สานกั งานเลขนุการคณะกรรมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแห่งชาต.ิ (2545). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย. ธนา เพรส แอนด์กราฟฟกิ . กรุงเทพมหานคร สรายทุ ธ มาลา. (2545). การศึกษาปัจจัยทีม่ ีต่อผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักศกึ ษา โปรแกรม วิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจทเ่ี รยี นอยใู่ นวิทยาลยั เทคนิคเขตการศึกษา 4 ภาคใต้. วิทยานพิ นธค์ รุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี. เสาวนยี ์ สรุ ยิ าประภา. (2547). การพฒั นาทกั ษะการแกโ้ จทยป์ ัญหาการหาร ของนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3. วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาศกึ ษาศาสตร์มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ศูนย์เทคโนโลยีทางการศกึ ษา (ส่ือมัลตมิ ีเดยี เพื่อการศกึ ษา.2546.ออนไลน์) http://www.thaiedunet.com/cet/html/multimedia/multi_lesson/lesson/02/ evo_theory.html
18 อญั ชัน เพง็ สุข. (2546). การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น วชิ าวิทยาศาสตร์ เจตคติตอ่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ และความพงึ พอใจต่อวธิ ีสอน ระหวา่ งการสอนแบบสืบ เสาะหาความรทู้ ่ีใชเ้ พลงประกอบกับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้. วทิ ยานพิ นธ์ ปริญญามหาบณั ฑติ สถาบนั ราชภฏั พระนคร.
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: