Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานนโยบายและจุดเน้นโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม

รายงานนโยบายและจุดเน้นโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม

Published by lks.school57, 2020-09-21 20:41:08

Description: รายงานนโยบายและจุดเน้นปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเกาะคาวิทยาคม

Search

Read the Text Version

1 แบบรายงานผลการตรวจราชการ และติดตามประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษาตามนโยบายและจดุ เน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๕ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2 บทสรุปสาหรับผ้บู ริหาร โรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม สังกัด สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต ๓๕ เปน็ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาขนาดเลก็ ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ มจี านวนนักเรยี น ๑๓๒ คน โรงเรียนได๎ดาเนนิ งาน ตามภารกจิ หลัก ทป่ี ระกอบด๎วยการขับเคลื่อนภายใตก๎ ลมุํ บริหารงาน ๔ กลํมุ งานคือ กลุํมบรหิ ารวชิ าการ กลมํุ บริหารงบประมาณ กลมํุ บริหารงานบคุ คล และกลุมํ บริหารทวั่ ไป มีผู๎อานวยการโรงเรียนคอื นายเสนํห์ สาย ตาํ งใจ มบี คุ ลากรจานวน ๒๕ คน การดาเนนิ งานตามกรอบนโยบายและจดุ เน๎นของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปงี บประมาณ ๒๕6๓ โรงเรียนได๎ขบั เคล่ือนภารกจิ ดังน้ี นโยบายที่ ๑ การจดั การศึกษาเพ่ือความมั่นคง การปลูกฝังความมรี ะเบยี บวนิ ัย ทัศนคติที่ถูกต๎องโดย ใช๎กระบวนการลูกเสอื โดยได๎ปลกู ฝงั ความมีระเบยี บวินัย ทัศนคติท่ีถูกต๎องโดยใช๎กระบวนการลูกเสือ โรงเรยี น จัดทากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพตามหลกั สูตรในสํวนของกิจกรรมพฒั นาผูเ๎ รยี น ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑-๓ และมกี จิ กรรมเสรมิ ในลกั ษณะการอบรม เชํน การอบรมลูกเสือตา๎ นภยั ยาเสพตดิ นโยบายที่ ๒ การสร๎างความสามารถในการแขงํ ขัน โดยจดั การจดั การเรียนร๎เู พือ่ สร๎างทักษะพืน้ ฐานที่ เชอื่ มโยงสูกํ ารสร๎างอาชีพและการมีงานทา โรงเรยี นจดั ทากิจกรรมพฒั นาคุณภาพดว๎ ย โครงการศาสตร์ พระราชา โดยไดจ๎ ัดกิจกรรมโครงการศาสตร์พระราชาใหก๎ ับคณะครูและนกั เรียนแกนนา จัดกจิ กรรมโครงการ ศาสตร์พระราชา(ตํอยอด)ให๎กับนักเรยี นโรงเรียนเกาะคาวทิ ยาคม โดยครแู ละนักเรยี นแกนนาเป็นผู๎ขบั เคลือ่ น โครงการ นออกจากนีย้ งั ไดด๎ าเนนิ การ จัดทากิจกรรมพฒั นาคุณภาพด๎วย โครงการมคั คุเทศก์น๎อยรกั ถ่ินเกิด และพัฒนาหลักสูตรพิพธิ ภณั ฑสถานของโรงเรยี น โดยอาศัยพพิ ิธภัณฑสถานของโรงเรียนเป็นแหลงํ เรยี นรแู๎ ละ ขบั เคล่อื นกจิ กรรม นโยบายท่ี ๓ การพฒั นาและเสริมสร๎างศกั ยภาพคน การจัดการเรียนรดู๎ ว๎ ยวิธีการ Active learning โรงเรยี นกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพ การเรยี นร๎ูเชิงรกุ Active learning ด๎วยการใชห๎ ลักสตู รบรู ณาการห๎อง พพิ ิธภัณฑสถาน การจดั การเรยี นการสอนเพ่อื ฝึกทักษะการคดิ แบบมีเหตผุ ลและเป็นข้ันตอน (Coding) โรงเรียนจดั ทากิจกรรมพฒั นาคุณภาพด๎วย การจดั การเรียนการสอนเพื่อฝึกทกั ษะการคิดแบบมเี หตุผลและเป็น ขัน้ ตอน (Coding) โรงเรยี นจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพ - จดั กจิ กรรม Coding with Mine craft ในกจิ กรรมวันเปิดบา๎ นวิชาการ - จัดการเรยี นการสอนด๎วยโปรแกรม Scratch ในรายวชิ าวิทยาการคานวณระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่๑ - จัดการเรียนการสอน Unplugged Coding ในรายวิชาวทิ ยาการคานวณระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี๒

3 - จดั การเรยี นการสอนด๎วย Kid Bright (อุตุน๎อย)ในรายวิชาวทิ ยาการคานวณระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ การพัฒนาครูใหม๎ ีความชานาญในการจดั การเรยี นรภู๎ าษาองั กฤษ และวิทยาการคานวณ (Coding) โรงเรยี นจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ โดยการพฒั นาครใู หม๎ ีความชานาญในการจัดการเรียนรภ๎ู าษาองั กฤษ และ การสํงเสริมให๎ครูเขา๎ รับการอบรมในการจดั การเรยี นร๎ูวทิ ยาการคานวณ(Coding) การจัดการเรยี นร๎ูด๎วยสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education) โรงเรยี นจัดทากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพดว๎ ย ชมุ นมุ ศาสตรพ์ ระราชา ซงึ่ เป็นการบรู ณาการกับกลํุมสาระการเรยี นร๎ตู ําง ๆ และจากการจัดทาโครงการ โดย การสนับสนุนจากบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จากัด การจัดการเรยี นร๎ภู าษาตาํ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) โรงเรียนจัดทากจิ กรรมพฒั นาคุณภาพด๎วย การ พฒั นาครูให๎มีความชานาญในการจดั การเรยี นรภ๎ู าษาอังกฤษ การจัดการเรียนรูภ๎ าษาตาํ งประเทศ ภาษาที่ ๓ (ภาษาจนี ) โรงเรยี นจัดทากิจกรรมพฒั นาคุณภาพ ด๎วยการจัดการเรยี นการสอนในชัน้ เรยี น โดยการฝกึ การสนทนา และใช๎บัตรคาในการเรยี นคาศัพท์ กิจกรรมลด เวลาเรียน “ภาษาจีนหรรษา” ในระดับมัธยมตอนต๎น จดั ทากิจกรรมเกีย่ วกับ การเรียนภาษาจีนโดยการดู ภาพยนตร์ ทใี่ ชภ๎ าษาจีนเปน็ หลกั รอ๎ งเพลงจีน ศิลปะการแสดงจีน กจิ กรรมชมุ นุมภาษาจนี “เรยี นรว๎ู ัฒนธรรม จีน” ในระดับมัธยมตอนตน๎ และมัธยมศึกษาตอนปลาย จดั กจิ กรรมเก่ยี วกับ วัฒนธรรมจนี เชํน การตดั กระดาษจนี การทาโคมจนี การถกั เชอื ก การทาเก๊ยี วซาํ กิจกรรมวันตรษุ จีน เผยแพรํ เกี่ยวกบั วฒั นธรรมจนี การสงํ เสริมทกั ษะการอํานเขียนภาษาไทยเพื่อใช๎เป็นเครื่องมอื ในการเรียนรูว๎ ิชาอน่ื โรงเรียนจดั ทา กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพดว๎ ยโครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยใหน๎ ักเรียนอํานคลํอง เขยี น คลํอง เพื่อยกผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนสาระวชิ าภาษาไทยใหส๎ ูงขึ้น นโยบายท่ี ๔ การสร๎างโอกาสความเสมอภาคและความเทําเทียมกนั ในสงั คม การจัดการศึกษา สาหรบั คนพกิ าร โรงเรียนจดั ทากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพดว๎ ย กจิ กรรมเสริมทักษะพฒั นาการเรยี นรูส๎ าหรับเดก็ เรียนรํวม

4 แบบรายงานการตรวจราชการตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดลาปาง ชอ่ื หน่วยงาน/สถานศกึ ษา โรงเรียนเกาะคาวิทยาคม สงั กัด สพม. เขต ๓๕ นโยบายที่ ๑ นโยบายการจดั การศึกษาเพ่อื ความม่ันคง ประเดน็ การตรวจราชการและการติดตามประเมินผล การปลกู ฝงั ความมีระเบยี บวินัย ทัศนคติท่ถี กู ตอ้ งโดยใช้กระบวนการลูกเสือ และยวุ กาชาด กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพ - การจดั กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี มีแนวทางการจัดกิจกรรมตามวธิ กี ารลกู เสือ (Scout Method) ซง่ึ มไี ดป๎ ฏบิ ตั ดิ งั นี้ ๑ การจดั กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี ๒ การจัดกิจกรรมการอยูคํ ํายพกั แรม ๓ กจิ กรรมบาเพญ็ ประโยชน์ วิธกี ารดาเนินการ/กระบวนการพฒั นา ๑ การจดั กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารีตามหลักสูตร มลี ูกเสือ-เนตรนารีจานวน ๖๑ นาย จัดให๎มีการเปดิ ประชมุ กองทุกครง้ั เพ่อื เป็นการฝกึ ความมีระเบยี บวนิ ัยในตนเอง โดยปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอน ดังน้ี ๑.๑ พธิ ีเปิด (ชักธงข้ึน สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก) ๑.๒ เกมหรอื เพลง ๑.๓ เรยี นตามหลักสตู ร ๑.๔ การเลําเรอ่ื งสัน้ ที่เป็นประโยชน์ ๑.๕ พธิ ปี ิด (นัดหมาย ตรวจ ชักธงลง เลกิ )

5 ๒. กจิ กรรมการอยคู่ า่ ยพักแรม - จัดให๎มีการเขา๎ คํายพักแรม มีลูกเสอื -เนตรนารี จานวน ๖๑ นาย สถานท่ีจัดกิจกรรมการอยูํคาํ ยพกั แรม โรงเรยี นเกาะคาวทิ ยาคม มวี ัตถุประสงค์เพ่ือฝึกใหล๎ ูกเสอื -เนตรนารี มคี วามอดทน อยูํในระเบียบ วินัย ร๎ูจกั ชํวยตวั เอง รู๎จกั อยํแู ละทางานรํวมกับผ๎ูอนื่ โดยประกอบด๎วยกิจกรรมฐานดังน้ี ฐานท่ี ๑ มดแดงขนไข่ ฐานท๒่ี สะพานเชอื กเดยี่ ว ฐานท่ี ๓ โหนตวั ตรี ะฆัง

6 ฐานที่ ๔ ก้รู ะเบิด ฐานที่ ๕ กระโดดเชือก ฐานที่ ๖ นา้ ขน้ึ ใหร้ ีบหยบิ

7 ฐานสูทกรรม ฐานต้านภัยยาเสพติด กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ ๓ กจิ กรรมพธิ ีการ สถานศึกษาไดจ้ ดั กจิ กรรมพธิ ีการลูกเสือ มีลกู เสือ-เนตรนารี จานวน ๖๑ นาย สถานทีจ่ ัด กจิ กรรม โรงเรยี นเกาะคาวทิ ยาคม เพ่ือให้ลูกเสือมีความภาคภมู ิใจและเห็นคุณคา่ ในการเปน็ ลูกเสอื

8 ๓.๑ พธิ ถี วายราชสดุดี ผลการดาเนินงาน 1.1ลูกเสอื -เนตรนารีไดฝ๎ กึ ความมีระเบียบวนิ ยั ในตนเอง 1.2ลกู เสอื -เนตรนารีมีความอดทน อยํูในระเบยี บวินัย รจ๎ู กั ชํวยตัวเอง และทางานรวํ มกับผู๎อ่ืน 1.3ลกู เสือ-เนตรนารี มคี วามภาคภูมิใจและเห็นคุณคําในการเป็นลูกเสอื 1.4ลกู เสอื - เนตรนารี ได๎บาเพ็ญประโยชนต์ ามอดุ มการณข์ องลกู เสือ ปญั หา/อุปสรรค - การปฏิสมั พนั ธ์ของลกู เสือ – เนตรนารี เกดิ ขน้ึ เฉพาะในโรงเรียน ขอ้ เสนอแนะ - กิจกรรมเขา๎ คาํ ยพกั แรม อยากใหม๎ ีการจัดนอกสถานทีก่ บั โรงเรยี นอ่ืนทท่ี าให๎เกิดความหลากหลาย ทางกจิ กรรม สภาพแวดลอ๎ ม และสังคม รวมทง้ั วทิ ยากรท่อี ื่นในการเข๎าคาํ ยพักแรมเพื่อใหเ๎ กิด ประสบการณ์ ทักษะ และการเรียนรูใ๎ หมๆํ กับลูกเสือ-เนตรนารี

9 นโยบายท่ี ๒ นโยบายการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ประเดน็ การตรวจราชการและการติดตามประเมนิ ผล การจัดการเรียนรเู้ พือ่ สรา้ งทักษะพ้ืนฐานท่ีเช่ือมโยงสูก่ ารสร้างอาชีพ และการมงี านทา้ (๑) กิจกรรมพฒั นาคุณภาพ - จดั กจิ กรรมโครงการศาสตร์พระราชาให๎กับคณะครูและนักเรียนแกนนา - จดั กิจกรรมโครงการศาสตร์พระราชา(ตํอยอด)ใหก๎ ับนักเรยี นโรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม โดยครู และนักเรยี นแกนนาเป็นผขู๎ ับเคล่อื นโครงการ วธิ ีดาเนินการ/กระบวนการพฒั นา ๑) จดั อบรมโครงการศาสตร์พระราชาใหก๎ บั คณะครแู ละนักเรียนแกนนา จานวน ๔๐ คน (๑๖-๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓) ภายใตก๎ ารสนบั สนนุ ของบริษัทไทเบฟเวอเรจ จากัด โดยมวี ทิ ยากรภายนอกจากคณะ วทิ ยากร จากศูนย์กสกิ รรมมาบเอื้อง กิจกรรมการอบรมโครงการศาสตร์พระราชา มกี จิ กรรม ๓ ฐาน ฐานท่ี ๑ คนรักษ์แมธํ รณี - น้าหมักรสจืด - น้าหมักรสเปรยี้ ว ฐานท๒ี่ คนมนี ้ายา - น้ายาอเนกประสงค์ - สมนุ ไพรฤทธิ์รอ๎ น - สมนุ ไพรฤทธเ์ิ ยน็ ฐานท๓่ี คนรกั สุขภาพ - สบํสู มุนไพร - แชมพูมะกรดู - ยาหมํองสมนุ ไพร 2) จดั กจิ กรรมโครงการศาสตร์พระราชา(ตอํ ยอด)ให๎กบั นักเรียนโรงเรียนเกาะคาวทิ ยาคม จานวน ๗๕ คน โดยครแู ละนกั เรยี นแกนนาเป็นวิทยากรและผข๎ู บั เคลื่อนโครงการ (๒๙-๓๐ สิงหาคม ๒๕๖๓) กจิ กรรมการอบรมโครงการศาสตรพ์ ระราชา มีกจิ กรรม ๔ ฐาน ฐานท่ี ๑ คนรกั ษ์แมํธรณี - น้าหมกั รสจดื

10 - น้าหมกั รสเปรย้ี ว - ปลกู สมุนไพรและใชน๎ า้ หมักแทนปุ๋ย(หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง) ฐานท่ี ๒ คนมนี า้ ยา - นา้ ยาอเนกประสงค์ - สมนุ ไพรฤทธ์ิร๎อน - สมุนไพรฤทธิ์เย็น ฐานท๓่ี คนรักสุขภาพ - สบสํู มนุ ไพร - เจลแอลกอฮอล์

11 ฐานที่ ๔ กจิ กรรมตอํ ยอดศาสตร์พระราชาเพื่อสรา๎ งรายได๎สํอู าชพี และสะทอ๎ นคดิ ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 3) ชมุ นุมศาสตรพ์ ระราชา เรียนทุกวันอังคาร คาบท่ี ๖  นักเรยี นมหี นา๎ ที่ชํวยกนั ในการทาผลติ ภัณฑต์ ําง ๆใช๎ในโรงเรียน เชนํ เจลแอลกอฮอล์ , สบํูลา๎ งมอื (ทุกวันองั คาร นกั เรยี นชมุ นมุ ศาสตร์พระราชาจะต๎องสารวจและเตมิ เจล แอลกอฮอล์ สบลํู า๎ งมอื รอบๆบรเิ วณโรงเรียนใหเ๎ ต็ม นอกจากน้ี นกั เรียนต๎องไปดูแลรถ น้าสมนุ ไพรบริเวณแปลงที่ปลูกไว๎ทกุ วนั  นกั เรยี นชํวยกนั ในการทาผลิตภณั ฑต์ ําง เชํน นา้ ยาอเนกประสงค์ , สมุนไพรฤทธริ์ อ๎ น , สมุนไพรฤทธเิ์ ย็น น้าหมกั และสบํู เพ่ือขายนารายไดม๎ าสํูโรงเรียนและนกั เรียน  มกี ารสอนออกแบบฉลากผลิตภัณฑ์

12 ผลการดาเนินงาน ๑. นกั เรยี นมีทักษะดา้ นอาชพี และสามารถนาความร้ทู ่ีได้รบั ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน ๒. นกั เรยี นมีความรบั ผิดชอบและมคี วามสามคั คใี นหมู่คณะ

13 ๓. นักเรียนไดใ้ ช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และมีรายได้ระหวา่ งเรยี น ( น้ายาเอนกประสงคส์ ง่ ขายให้ บรษิ ทั ไทเบฟเวอเรจโลจสิ ตกิ จากดั ทุกเดือน ๔. นักเรยี นสามารถนาความรู้ท่ีไดร้ ับไปปรบั ใชแ้ ละขยายผลต่อไป

14 ปัญหาและอปุ สรรค 1. สถานการณ์ COVID-๑๙ การขบั เคลื่อนกจิ กรรมอาจไมํเปน็ ตามโครงการ ข้อเสนอแนะ 1. เชญิ วทิ ยากรจากภายนอกมาให๎ความร๎ูนักเรยี นอยํางหลากหลาย เชํน การทาผลิตภณั ฑ์ใหมํ ๆ การใชเ๎ ทคโนโลยมี าออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ การตลาด เป็นตน๎ เพื่อกา๎ วเขา๎ สํไู ทยแลนด์ ๔.๐ 2. สํงเสริมให๎มกี ารสรา๎ งเครือขํายความรวํ มมือกับสถานประกอบการตําง ๆเพื่อกระจายสนิ ค๎าของ นกั เรียน

15 นโยบายที่ ๒ นโยบายการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นการตรวจราชการและการติดตามประเมนิ ผล การจดั การเรียนรเู้ พอ่ื สร้างทักษะพื้นฐานท่เี ช่ือมโยงส่กู ารสร้างอาชพี และการมงี านท้า(๒) กิจกรรมพฒั นาคุณภาพ - จัดทาหลกั สตู รพิพธิ ภัณฑสถาน - กิจกรรมมัคคุเทศก์นอ๎ ยรักถนิ่ เกดิ วธิ ีดาเนินการ/กระบวนการพฒั นา ๒.๑ โรงเรียนเกาะคาวิทยาคมได๎ทาการปรับปรุงและฟื้นฟูพิพิธภัณฑสถาน โดยปรับปรุงสถานที่ เพ่ิมเติมแหลํงเรียนรู๎ทางประวัติศาสตร์ เชํน สถานที่สาคัญ บุคคลสาคัญ และส่ิงของเคร่ืองใช๎ท๎องถิ่น เพ่ือเตรียมจัดทาหลักสูตรพิพิธภัณฑสถานโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม รวมถึงสามารถเชื่อมโยงองค์ ความรู๎สํูการสร๎างอาชีพ การมีงานทา และการฝึกทักษะทางด๎านภาษาในการเป็นมัคคุเทศก์น๎อยรัก ถิ่นเกิดให๎กับนักเรียนกลุํมแกนนา โดยนักเรียนจะทาหน๎าท่ีในการเผยแพรํความเป็นมาและ ความสาคัญของพิพิธภัณฑสถานโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม ให๎กับบุคคลภายในและภายนอกที่เข๎ามา เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ ยังเป็นการสร๎างแรงผลักดันในการเป็นมัคคุเทศก์น๎อยให๎กับนักเรียนสมารถ นาไปใชป๎ ระโยชนต์ อํ การประกอบอาชีพในอนาคต

16 ๒.๒ จัดทาหลักสตู รพพิ ธิ ภณั ฑสถานของโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม บูรณาการกับกลุํมสาระการเรียนรู๎ ท้ัง ๘ กลุํมสาระ โดยจัดกิจกรรมให๎เหมาะสม เพ่ือให๎นักเรียนและผ๎ูที่สนใจได๎สืบค๎นประวัติความ เป็นมาของสถานที่ บุคคล อาชีพ และวิถีการดารงชีวิตของคนในท๎องถิ่น และเป็นประโยชน์ตํอการ ถํายทอดวัฒนธรรม ภูมิปัญญาเกาะคา ไปยังเยาวชนในอนาคต โดยแบํงแหลํงการเรียนร๎ูออกเป็น ๒ แหลํง คือ ๑. แหล่งเรียนรปู้ ระวัตศิ าสตร์ ๑.๑ ฐานการเรยี นรู้ก่อนประวัติศาสตร์ ๑.๑.๑ หลกั สูตรท๎องถ่นิ บรู ณาการ เรอ่ื ง มนุษย์เกาะคา - กลุํมสาระการเรียนรู๎วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ว ๑.๓ ม.๖) เรอ่ื ง วิวฒั นาการมนุษย์ - กลํมุ สาระการเรียนร๎ูคณิตศาสตร์ (ค ๓.๑ ม.๓/๑) เรื่อง การวิเคราะห์ววิ ัฒนาการของมนุษย์เกาะคา - กลมํุ สาระการเรยี นร๎สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ส ๔.๑ ม.๓/๑) เรอ่ื ง เสน๎ ทางการเดินทางสํมู นษุ ย์เกาะคา - กลมุํ สาระการเรียนร๎ูพลศึกษาและสขุ ศกึ ษา (พ ๓ ม.๑/๑) เร่อื ง วยั รุํนกับการเจรญิ เตบิ โตตามเกณฑ์มาตรฐาน ๑.๑.๒ หลกั สูตรท๎องถน่ิ บูรณาการ เร่อื ง ถ้าเขาสํองกระจกดอยแก๎ว - กลุํมสาระการเรยี นร๎ูคณิตศาสตร์ (ค ๒.๒ ม.๓/๑) เรื่อง กล๎องสามเหลย่ี มสํองเขากระจก - กลมํุ สาระการเรยี นรู๎สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส ๔.๑ ม.๑/๓) เรอื่ ง แหลํงทํองเที่ยวธรรมชาต(ิ อันซีนเกาะคา) ๑.๒ ฐานการเรียนรยู้ ุคประวัติศาสตร์ ๑.๒.๑ หลกั สูตรท๎องถิน่ บรู ณาการ เรอื่ ง ตานานพระนเรศวร - กลุมํ สาระการเรยี นรู๎ศิลปะ (ศ ๓.๒ ม.๓/๒) เรือ่ ง การขบั รอ๎ งเพลงสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช - กลมุํ สาระการเรียนรภ๎ู าษาไทย (ม.๕.๑ ม.๒/๑-๒) เรอ่ื ง วรรณกรรมทอ๎ งถิ่น ตานานสมเดจ็ พระนเรศวร - กลมํุ สาระการเรียนร๎สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส ๑.๑ ม.๒/๖) เร่ือง ชื่นชมคนดีสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช (ตามหลกั ศาสนา) ๑.๒.๒ หลกั สูตรทอ๎ งถน่ิ บูรณาการ เรื่อง ตานานพระนางจามเทวี - กลมํุ สาระการเรียนรส๎ู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส ๔.๑ ม.๒/๑) เรื่อง ความเชอื่ กบั ตานานบํอนา้ ศกั ด์สิ ทิ ธิ์ ๑.๒.๓ หลักสตู รทอ๎ งถิ่นบรู ณาการ เร่อื ง ตานานหนานทิพยช์ า๎ ง - กลมํุ สาระการเรียนรว๎ู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ว ๔.๒ ม.๒/๑) เรอ่ื ง แนวคิดเชงิ นามธรรม - กลุมํ สาระการเรียนรส๎ู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ส ๔.๑ ม.๒/๑-๓) เรื่อง ผลงานของบุคคลสาคญั ในการสรา๎ งสรรค์ท๎องถน่ิ ๑.๒.๔ หลักสูตรท๎องถน่ิ บรู ณาการ เรอ่ื ง ตานานพระธาตลุ าปางหลวง

17 - กลมํุ สาระการเรยี นรู๎คณติ ศาสตร์ (ค ๑.๑ ม.๑/๑) เรอ่ื ง การประมาณคํา - กลมุํ สาระการเรียนรวู๎ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว ๔.๒ ม.๑/๓) เรอ่ื ง ข๎อมลู และการประมวลผล - กลุํมสาระการเรียนรู๎ศิลปะ (ศ ๓.๒ ม.๑/๒,ม.๓/๒) เรื่อง งานสถาปตั ยกรรมวัดพระธาตุลาปางหลวง เรื่อง การขับร๎องเพลง และการแสดงนริ าศลาปางหลวง - กลุํมสาระการเรียนร๎ูภาษาตํางประเทศ (ต ๔.๒ ม.๓/๒) เรอ่ื ง การพดู ส่ือสาร - กลุํมสาระการเรยี นรส๎ู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ส ๔.๓ ม.๑/๑) เร่อื ง สงั คมและประเพณที ๎องถ่นิ ๑.๒.๕ หลักสตู รทอ๎ งถิ่นบูรณาการ เรื่อง ตานานวดั ไหลํหนิ - กลมํุ สาระการเรยี นรว๎ู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ว ๔.๒ ม.๑/๓) เรอ่ื ง การสบื คน๎ เพื่อหาแหลงํ ข๎อมูล - กลํุมสาระการเรยี นรู๎ศิลปะ (ศ ๑.๑ ม.๓) เร่อื ง รูปแบบทัศนศลิ ป์ (จติ รกรรม) ในท๎องถ่นิ - กลุํมสาระการเรียนรส๎ู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส ๔.๓ ม.๑/๑) เรื่อง วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาทอ๎ งถ่นิ ๑.๒.๖ หลกั สูตรท๎องถิน่ บรู ณาการ เรอ่ื ง ตานานวัดพระธาตุจอมปงิ - กลมุํ สาระการเรยี นรส๎ู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส ๔.๓ ม.๑/๑) เร่ือง ภูมิปัญญากับความเช่ือท๎องถ่นิ ๑.๓ ฐานการเรียนรู้ศาสตร์พระราชา ๑.๓.๑ หลกั สูตรทอ๎ งถิ่นบูรณาการ เรื่อง เศรษฐกจิ พอเพียง - กลมํุ สาระการเรียนร๎ูคณิตศาสตร์ (ค ๑.๑ ม.๑/๓) เรอ่ื ง การแบํงพ้นื ท่ีตามอัตราสวํ น - กลมํุ สาระการเรยี นรู๎ภาษาตํางประเทศ (ต ๔.๑ ม.๑) เรื่อง อุปกรณ์ของใช๎กระถางพอเพยี ง - กลุํมสาระการเรียนรส๎ู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ส ๓.๑ ม.๑/๓, ๓/๒) เรื่อง ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการดารงชวี ิต ๑.๓.๒ หลักสตู รทอ๎ งถิน่ บรู ณาการ เร่ือง คาพํอสอน - กลุํมสาระการเรยี นรส๎ู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ส ๑.๑ ม.๑/๘) เรอ่ื ง หลกั ธรรมะกับคาพํอสอน ๑.๔ ฐานการเรยี นรเู้ กาะคายคุ อดีต ๑.๔.๑ หลกั สตู รท๎องถิน่ บูรณาการ เร่อื ง ตานานเมืองลาปาง - กลุํมสาระการเรียนรู๎สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๔) เรอ่ื ง ข๎อคดิ จากเร่ืองเลาํ ตานานเมืองลาปาง - กลมํุ สาระการเรยี นรภ๎ู าษาไทย (ท ๕.๑ ม.๑) เร่ือง วรรณกรรมและวรรณคดตี านานเมืองลาปาง ๑.๔.๒ หลกั สตู รทอ๎ งถน่ิ บูรณาการ เรอื่ ง พินจิ นครลาปาง

18 - กลมํุ สาระการเรียนร๎ูสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส ๔.๓ ม.๔-๖) เร่อื ง การปฏิรูปการปกครองบ๎านเมืองกบั นครลาปาง ๑.๕ ฐานการเรยี นรเู้ กาะคายคุ ปจั จุบนั ๑.๕.๑ หลักสตู รท๎องถนิ่ บูรณาการ เร่ือง ข๎อมลู อาเภอเกาะคา ๙ ตาบล - กลมํุ สาระการเรยี นรู๎สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ส ๓.๑ ม.๒/๒) เรือ่ ง ผลผลิตของท๎องถิน่ - กลมํุ สาระการเรยี นรู๎วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว ๑.๑ ม.๑/๑) เรื่อง ความหลากหลายของระบบนเิ วศ ๒. แหล่งเรียนร้ศู ิลปวัฒนธรรม ๒.๑ ฐานการเรียนรู้เครื่องครวั สมัยเกา่ ๒.๑.๑ หลกั สตู รท๎องถน่ิ บูรณาการ เร่อื ง เครอ่ื งครวั สมัยเกํา - กลมํุ สาระการเรียนรู๎สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ส ๓.๑ ม.๑/๑) เร่ือง เคร่ืองครัว เคร่ืองใช๎ในอดตี กบั ความสัมพนั ธ์กบั สังคมลา๎ นนา - กลํมุ สาระการเรียนรู๎การงานอาชพี (ง ๑.๑ ม.๑/๑-๓) เร่อื ง เคร่ืองใช๎งานบ๎าน - กลํมุ สาระการเรยี นรู๎ภาษาไทย (ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕) เรอ่ื ง ภาษาไทย ภาษาถิ่น - กลํมุ สาระการเรยี นรว๎ู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว ๔.๑ ม.๑/๑) เรอ่ื ง การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ๒.๒ ฐานการเรียนรู้เซรามกิ ๒.๒.๑ หลักสตู รทอ๎ งถิ่นบูรณาการ เร่ือง เซรามกิ ลาปาง - กลมํุ สาระการเรียนร๎ูคณิตศาสตร์ (ส ๒.๑ ม.๒/๑) เรื่อง ความสัมพนั ธ์ระหวาํ งปริมาตร รูปทรงเรขาคณติ - กลุํมสาระการเรยี นรส๎ู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส ๔.๑ ม.๑/๓) เรื่อง ประวตั ิเซรามิคลาปาง ๒.๓ ฐานการเรยี นรู้บ่อนา้ รอ้ น ๒.๓.๑ หลักสูตรทอ๎ งถิ่นบรู ณาการ เรือ่ ง บํอนา้ รอ๎ นเกาะคา - กลํุมสาระการเรยี นรว๎ู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว ๓.๒ ) เรื่อง แหลงํ นา้ ผวิ ดนิ และแหลงํ น้าใตด๎ ิน - กลมํุ สาระการเรยี นร๎ูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส ๕.๒ ม.๔-๖/๔) เรอ่ื ง การใชป๎ ระโยชนจ์ ากบอํ น้าร๎อน ในการสรา๎ งสรรค์วัฒนธรรม ๒.๔ ฐานการเรยี นรู้โรงนา้ ตาลเกาะคา ๒.๔.๑ หลกั สตู รทอ๎ งถน่ิ บูรณาการ เรื่อง โรงนา้ ตาลเกาะคา - กลํมุ สาระการเรยี นรู๎คณิตศาสตร์ (ค ๑.๓ ม.๑/๑ ) เรื่อง จาลองเส๎นทาง การคานวนปรมิ าณน้าตาลทราย - กลมํุ สาระการเรยี นรสู๎ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ส ๕.๑ ม.๑/๓) เรอ่ื ง ประวัติโรงนา้ ตาลเกาะคา ๒.๕ ฐานการเรยี นรู้ผลิตภณั ฑพ์ ืชทอ้ งถน่ิ ๒.๕.๑ หลักสูตรทอ๎ งถนิ่ บรู ณาการ เรื่อง เครื่องจักสานงานศิลป์

19 - กลุํมสาระการเรียนรู๎การงานอาชีพ (ง ๑.๑ ๑/ม.๑-๓) เร่อื ง เครื่องมือเครื่องใชใ๎ นการดารงชีพ - กลมํุ สาระการเรยี นรส๎ู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ส ๕.๒ ม.๑/๔) เร่ือง เคร่ืองมือการเกษตรกับสงั คมทวปี เอเชีย ๒.๕.๒ หลกั สตู รท๎องถ่นิ บูรณาการ เร่ือง เครอื่ งมอื การเกษตร - กลมํุ สาระการเรียนร๎ูคณิตศาสตร์ (ค.๒.๑ ม.๓/๑) เรอ่ื ง การคาดคะเน ขนาด ของสง่ิ ที่ต๎องการวดั - กลุมํ สาระการเรยี นร๎ภู าษาตํางประเทศ (ต ๒.๒) เรื่อง คาศัพท์และสานวนภาษา - กลํุมสาระการเรยี นรภ๎ู าษาไทย (ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕) เรื่อง ภาษาไทย ภาษาถ่ิน ประมวลภาพอาคารพพิ ธิ ภณั ฑสถานโรงเรยี นเกาะคาวทิ ยาคม กจิ กรรมมคั คุเทศกน์ ๎อยรักถิ่นเกดิ ฝึกปฏบิ ตั ิภายในโรงเรยี น โดยการเชือ่ มโยงองค์ความร๎ูสูํอาคารพิพิธภณั ฑสถานโรงเรียนเกาคาวทิ ยาคม

20 บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จากดั เขา๎ เยย่ี มชมและสนับสนนุ น้าดม่ื ให๎กบั ทางโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรยี นเกาะคาวทิ ยาคม เขา๎ เยี่ยมชมและให๎กาลังใจ คณะนายอาเภอเกาะคา และคณะสาธารณสุขอาเภอเกาะคา เขา๎ ตรวจลูกนา้ ยุงลาย และเยี่ยมชมและให๎กาลงั ใจคณะครูในการฟื้นฟปู รบั ปรุงพิพิธภัณฑสถานโรงเรยี น

21 สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๓๕ เข๎านเิ ทศและเยย่ี มชม ในการฟื้นฟปู รบั ปรงุ พิพธิ ภณั ฑสถานโรงเรยี น ผลการดาเนนิ งาน ๑. โรงเรียนเกาะคาวิทยาคมมีแหลงํ รวบรวมข๎อมลู ประวัตศิ าสตรค์ วามเป็นมา วถิ ีชวี ติ ภูมปิ ญั ญา ทอ๎ งถิ่นของคนในท๎องถิ่น ๒. นักเรยี นได๎เรียนรหู๎ ลกั สตู รท๎องถิน่ สถานศึกษา และจดั กิจกรรมบูรณาการทง้ั ๘ กลมํุ สาระการ เรียนร๎ู เกิดความเข๎าใจในวิถีชีวิตและการสบื สานวฒั นธรรมอันดีงามของชมุ ชน ๓. นกั เรียนไดร๎ บั ความร๎ูและทกั ษะการเปน็ มัคคเุ ทศกท์ ๎องถ่นิ ในการแนะนาและประชาสมั พนั ธ์ ๔. นักเรยี นมีจิตสานึกเห็นคุณคาํ และภาคภูมใิ จในตนเอง อนุรักษ์และประชาสัมพนั ธท์ รพั ยากรใน อาคารอาคารพิพิธภัณฑสถานของโรงเรยี นโดยการเชื่องโยงสกํู ารทอํ งเท่ียวท๎องถน่ิ ไดอ๎ ยํางถกู ต๎อง เกิดประโยชนแ์ กํโรงเรียน ชมุ ชน และทอ๎ งถ่ิน ปัญหาและอุปสรรค ๑. การปรบั ปรุงฟ้ืนฟหู ๎องพิพิธภัณฑสถานตอ๎ งใช๎ระยะเวลานาน และงบประมาณในการปรับปรงุ ให๎ ทนั สมยั ต๎องใชง๎ บประมาณจานวนมาก ๒. การจดั ทาหลักสตู รพิพธิ ภัณฑสถาน มีความลาํ ชา๎ เนือ่ งจากคณะครูมีภาระงานท่มี าก ๓. การใหค๎ วามรํวมมอื ของคณะครภู ายในโรงเรียนในการใชแ๎ หลงํ เรยี นร๎ู ยังมีมนี อ๎ ย ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรมกี ารนาประเด็นความสาคัญของความเป็นน้าหนึง่ ใจเดียวกนั เพ่ือพัฒนารํวมกนั ต้ังแตํฐานราก ของชมุ ชนมาบรรจุไว๎ในแผนพัฒนาการจดั การเรียนของโรงเรียนและให๎ชมุ ชนเข๎ามามสี วํ นรํวมใน การกาหนดรายละเอียดภายในแผนด๎วย 2. ควรสํงเสรมิ คณะกรรมการการพฒั นาเครือขํายในชมุ ชน มีการขบั เคล่อื นอยาํ งตอํ เน่ือง และนา ขอ๎ มลู ท่ีได๎ไปสงํ เสรมิ การพฒั นาเครอื ขาํ ยในชุมชนใหเ๎ กิดการเชอื่ มโยงและประสานความรวํ มมอื กนั อยาํ งมีประสิทธภิ าพ 3. ควรสนับสนุนในการจดั ให๎มเี วทรี ะหวาํ งกลุํมเครอื ขาํ ยเพอ่ื พัฒนาหรอื แกป๎ ัญหาในการทางานด๎าน ตําง ๆ อยํางสม่าเสมอ รวมทั้งการให๎กาลังใจซึง่ กันและกันและจดั ใหม๎ ชี อํ งทางการทางานรวํ มกนั เพอ่ื ความเข๎มแขง็ ของเครือขํายชุมชนที่สามารถเป็นกาลงั สาคัญในการพฒั นาท๎องถ่ินของตนตอํ ไป

22 นโยบายท่ี ๓ นโยบายการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน ประเด็นการตรวจราชการและการตดิ ตามประเมนิ ผล การจัดการเรยี นรูด้ ้วยวิธกี าร Active learning กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพ การเรยี นรูเ๎ ชงิ รุก Active learning ด๎วยการใช๎หลกั สตู รบรู ณาการ ห๎องพิพธิ ภณั ฑสถาน วธิ ดี าเนนิ การ/กระบวนการพฒั นา ๑) โรงเรยี นไดว๎ างแผนและดาเนินการจดั กิจกรรมการเรยี นรู๎ในรูปแบบ Active Learning ตามหลักสตู ร บรู ณาการโดยกลํมุ สาระการเรียนร๎ทู ัง้ ๘ กลุํมสาระ ไดน๎ าเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช๎ ใหเ๎ กิดความทนั สมัย เหมาะสมกบั ยคุ แหํงการเรียนรู๎ สกํู ารศึกษา ๔.๐ ผ๎ูเรียนสามารถลงมือปฏิบตั ิได๎จริงจากแหลํงเรียนร๎ู โดยจดั กจิ กรรมให้เหมาะสม เพื่อให้นกั เรียนและผทู้ ี่สนใจไดส้ บื ค้นประวตั คิ วามเป็นมาของสถานท่ี บุคคล อาชีพ และ วิถกี ารดารงชีวติ ของคนในท้องถ่ิน และเปน็ ประโยชน์ต่อการถา่ ยทอดวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาเกาะคา ไปยัง เยาวชนในอนาคต ซึ่งทางโรงเรียนได้พฒั นาเวบ็ ไซต์พิพิธภัณฑเ์ พื่อเชอื่ มโยงความรู้จากพพิ ิธภณั ฑสถานสู่แหลง่ เรยี นรูภ้ ายนอก ในรูปแบบของไซต์ คือ https://sites.google.com/kwsch.ac.th/museum-kws ประกอบสืบค้นข้อมูล และภายในพิพิธภัณฑสถานไดจ้ ัดทา QR Code เพ่ือใชเ้ ป็นเคร่ืองมือเชอ่ื มโยงองค์ความรู้ โดยไดแ้ บง่ พื้นท่กี ารเรียนรอู้ อกเปน็ ๒ พ้นื ทีเ่ พ่อื ใหน้ ักเรียนไดเ้ รียนร้เู ชงิ รุก มีการปฏบิ ัติจรงิ โดยเฉพาะการ เชื่อมโยงกบั โครงการมัคคเุ ทศกน์ อ้ ยรักถิน่ เกิด สาหรับการจัดการเรียนร้มู ีขน้ั ตอนในการจัดการเรียนรแ๎ู บบ Active learning ๔ ข้ัน ดังน้ี ๑. ขนั้ เตรียมพร้อม เปน็ ข้ันท่ีผ๎สู อนนาผเ๎ู รยี นเขา๎ สูํเน้ือหา โดยการสรา๎ งแรงจูงใจให๎ผเ๎ู รยี นเกิดความ กระตือรอื ร๎นในการอยากทจ่ี ะเรยี นรตู๎ อํ ไป นาเขา๎ สบํู ทเรียนโดยใชก๎ ารเลํนเกมสต์ อบคาถาม Kahoot เพอ่ื สรา๎ งความสนใจในการเรียนร๎ูกอํ นเข๎าสูํเนือ้ หา

23 นานกั เรียนไปศึกษาค๎นคว๎าและให๎ความรู๎ ตามฐานการเรยี นร๎ูภายในพิพธิ ภัณฑสถาน ๒. ขัน้ ปฏิบัตงิ านกลุ่ม เป็นข้ันท่ีผ๎ูสอนให๎ผเู๎ รียนเข๎ากลุํมยอํ ย เพอ่ื ทางานรํวมกัน และสรุปความคดิ เหน็ ของ กลมุํ อีกทงั้ ต๎องแลกเปล่ยี นเรยี นรก๎ู นั ระหวํางกลุํมอ่ืน ๆ โดยท่ีผ๎ูสอนต๎องเสรมิ ข๎อมูลใหส๎ มบรู ณ์ ครแู บงํ กลุํมนักเรยี น ทากจิ กรรมรวํ มกนั โดยใชข๎ ๎อมูลภาพและข๎อความกาหนด มาวิเคราะห์และแลกเปล่ียนเรียนร๎ูซึง่ กนั และกนั ๓. ขัน้ ประยุกต์ ใชเ๎ ปน็ ขั้นทใ่ี ห๎ผูเ๎ รียนทาแบบฝึกหดั หรือทาแบบทดสอบหลงั เรยี น

24 ๔. ขั้นตดิ ตามผล เป็นข้ันท่ีให๎ผูเ๎ รียนได๎ค๎นควา๎ อิสระเพม่ิ เติม โดยจดั ทาเปน็ รายงาน หรือให๎นักเรยี นเขียน บนั ทกึ ประจาวนั รวมถึงใหผ๎ เู๎ รียนเขยี นสรปุ ความรู๎ท่ีได๎รบั ในคาบเรยี นนน้ั ๆ ผลการดาเนนิ งาน ๑. นกั เรยี นมคี วามกระตอื รือรน้ และมีความสนใจอยากเรยี นร้ใู นเนือ้ หารายวชิ า ๒. ส่งเสริมและพฒั นาทักษะการสร้างการทางานเป็นทีมสร้างความแข็งแกรง่ ของเครือขา่ ยการเรียนรู้ การเรียนรูแ้ บบมีสว่ นร่วม ทาให้นักเรียนเหน็ คุณค่าในตนเองทาให้เกิดการแกป้ ญั หาอยา่ ง สรา้ งสรรค์ ๓. ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นการเรยี นรู้ด้วยการค้นพบแนวคดิ การสร้างองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง ๔. นักเรยี นสามารถนาเนื้อหาท่ีเรยี นไปประยุกตใ์ ช้ในการปฏบิ ัตจิ ริง ๕. ครูเป็นผสู้ นบั สนนุ การเรยี นรู้ คอยส่งเสริมวธิ กี ารเรยี นรใู้ ห้นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง และ ชี้แนะแนวทางใหน้ ักเรียนสังเกตเหน็ ปญั หาและชแ้ี นะวิธกี ารแก้ปญั หาอยา่ งถูกวธิ ี ปัญหาและอปุ สรรค ๑. การจดั การเรยี นร๎ูแบบ Active Learning ต๎องใช๎เวลาจงึ อาจทาให๎ครไู มสํ ามารถจดั การเวลาทม่ี ี อยกูํ ับ จานวนเนอื้ หาหลักสูตรท่มี ากได๎ ๒. นักเรยี นบางคนตอํ ต๎านวธิ กี ารสอนที่ไมใํ ชํการบรรยาย เน่อื งจากนักเรียนจะคุน๎ ชนิ กับการเรียนโดย วิธีการมา รับความรจ๎ู ากครมู ากกวาํ การเรียนโดยการลงมือปฏบิ ตั ิด๎วยตนเองตามคาแนะนาของครเู พ่ือให๎ เกดิ การเรยี นร๎ู ข้อเสนอแนะ ๑. ครผู ้สู อนทกุ คน ควรให้ความสาคัญกบั การจดั การเรียนรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) ๒. ควรจดั กจิ กรรมหรือวิธกี ารสอนที่หลากหลายรปู แบบ มีความนําสนใจ เชนํ ในรปู แบบเกมส์ การ แสดงบทบาทสมมติ เปน็ ต๎น ภาพกจิ กรรม การจดั การเรียนรขู้ องผเู้ รียนจากการบรู ณาการหลกั สตู รท้องถ่ินพพิ ธิ ภัณฑสถาน

25 ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. นโยบายที่ ๓ นโยบายการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน ประเดน็ การตรวจราชการและการติดตามประเมินผล การจัดการเรยี นการสอนเพอื่ ฝกึ ทักษะการคดิ แบบมเี หตุผลและเปน็ ข้นั ตอน (Coding) กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพ - จดั กิจกรรม Coding with Mine craft ในกิจกรรมวนั เปิดบา๎ นวชิ าการ - จดั การเรยี นการสอนดว๎ ยโปรแกรม Scratch ในรายวิชาวทิ ยาการคานวณระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ - จัดการเรยี นการสอน Unplugged Coding ในรายวชิ าวทิ ยาการคานวณระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ - จดั การเรยี นการสอนดว๎ ย Kid Bright (อตุ นุ ๎อย)ในรายวิชาวิทยาการคานวณระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ วธิ ีการดาเนินการ/กระบวนการพัฒนา 1) จัดกจิ กรรม Coding with Mine craft ในกจิ กรรมวันเปดิ บ๎านวชิ าการ จานวนนักเรียนทเ่ี ขา๎ รวํ ม กจิ กรรม ๕๕ คน (๑๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓) ผ๎ูเข๎ารํวมกิจกรรมจะต๎องแกส๎ ถานการณ์ปัญหาตามภารกจิ ทกี่ าหนดให๎ โดยใช๎ Code Block ผํานเว็บไซต์ Code.org เมือ่ ทาภารกจิ สาเร็จแล๎วผู๎เขา๎ รํวมกิจกรรม จะไดร๎ บั เกยี รติบตั รจาก Code.org 2) จัดการเรียนการสอนด๎วยโปรแกรม Scratch ในรายวิชาวิทยาการคานวณระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ตัวชว้ี ดั ท่ี ว๔.๒ ม.๑/๒ หนวํ ยการเรยี นรู๎ การใช๎งานโปรแกรมด๎วย Scratch จานวน ๕ ชวั่ โมง ซึง่ ผูเ๎ รียนจะไดท๎ ากจิ กรรม Scratch Music ผ๎ูเรยี นจะต๎องเขยี น Code Block เป็นเพลงมารช์ ประจา โรงเรยี น

26 3) จดั การเรียนการสอน Unplugged Coding ในรายวชิ าวิทยาการคานวณระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ตัวชีว้ ดั ที่ ว๔.๒ ม.๑/๒ หนวํ ยการเรียนรู๎ แนวคิดเชิงคานวณ เพือ่ ฝึกการคดิ เพื่อหาคาตอบและสรา๎ ง องค์ความรด๎ู ว๎ ยตนเอง ฝึกกระบวนการคิดอยํางเป็นลาดบั ขั้นตอนในการใชช๎ ีวติ ประจาวันของนักเรียน และคดิ แก๎ปญั หาอยาํ งเป็นระบบทีม่ ีหลากหลายวิธกี ารที่จะทาให๎ประสบผลสาเรจ็ ตามที่ตั้งเปา้ หมายไว๎ ผาํ นกจิ กรรม Graph Paper

27 4) จัดการเรยี นการสอนดว๎ ย Kid Bright (อตุ นุ ๎อย)ในรายวิชาวทิ ยาการคานวณระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี๔ ตวั ชว้ี ัดท่ี ว๔.๒ หนํวยการเรยี นร๎ู การแกป๎ ัญหาดว๎ ยขนั้ ตอนวิธี เพอ่ื ให๎นกั เรยี นได๎นาความรู๎มา ประยกุ ต์ใชใ๎ นการแก๎ปัญหาอยํางเป็นลาดบั ขนั้ ตอน ผาํ นกิจกรรมอุตุน๎อย

28 ผลการดาเนินงาน ผู๎เรียนสามารถจัดการกับปัญหา วเิ คราะห์ปญั หา เกิดกระบวนการคิดอยํางเปน็ เหตุเป็นผล และสามารถพฒั นาสงิ่ ตาํ งๆ ตํอยอดไดแ๎ บบสร๎างสรรค์ ร๎ูเทําทันเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบนั ปญั หา/อุปสรรค จานวนอุปกรณ์บอรด์ Kid Bright ไมเํ พยี งพอกับผ๎ูเรียน ผ๎ูเรียนทกุ คนจึงไมํไดเ๎ รยี นร๎ูอยําง เต็มท่ี ขอ้ เสนอแนะ การจดั การเรยี นการสอนแบบ Unplugged มีความเหมาะสมและสอดคลอ๎ งกบั การ พฒั นาการจัดการเรียนการสอน Coding ทจ่ี ะชวํ ยให๎ครผู ๎ูสอนสรา๎ งความเข๎าใจหลกั การพ้นื ฐานของ คอมพิวเตอร์และตรรกศาสตร์ ให๎เกิดกบั ผูเ๎ รียนผํานกิจกรรมการเลํนโดยไมํใชค๎ อมพิวเตอร์ เชํน การ ลาดบั ขนั้ ตอน การเรยี น Coding ผาํ นกระดาษ โดยกระตนุ๎ ใหผ๎ ูเ๎ รยี นเรียนรู๎อยาํ งสนุกสนาน และ สามารถฝกึ ทักษะการแก๎ปัญหาการใช๎ความสร๎างสรรค์ การคิดอยํางเป็นระบบ และทักษะการสื่อสาร ซง่ึ เปน็ พื้นฐานที่เกี่ยวข๎องกบั คอมพวิ เตอร์ตํอไป

29 นโยบายที่ ๓ นโยบายการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ประเดน็ การตรวจราชการและการตดิ ตามประเมินผล การพัฒนาครใู หม้ คี วามชานาญในการจัดการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพ การพฒั นาครใู ห๎มคี วามชานาญในการจัดการเรียนรภู๎ าษาองั กฤษ วธิ ดี าเนนิ การ/กระบวนการพฒั นา 1. มีการสํงเสรมิ สนับสนนุ ใหค๎ รเู ขา๎ รบั การอบรมครสู อนภาษาองั กฤษ เพื่อพัฒนาทักษะการใช๎ ภาษาอังกฤษและเทคนิคการเรียนการสอนและสามารถนาเทคนคิ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษไปใช๎ในการ สอนได๎ 2. จดั สภาพแวดล๎อมภายในห๎องเรยี น และนอกหอ๎ งเรยี นทีส่ ถานศกึ ษาเพ่ือสงํ เสรมิ การเรียนรู๎ ภาษาองั กฤษ ๑.๒.๑ สภาพแวดล๎อมภายในห๎องเรยี น ไดแ๎ กํ ป้ายคาศพั ท์ วนั /เดือน/ปี /ประโยคภาษาองั กฤษ มโี ทรทัศน/์ เครอ่ื งโปรเจคเตอร์/คอมพวิ เตอร์สาหรบั เปิดส่ือตาํ ง ๆ ในการจัดการเรียนการสอน เชํน บทสนทนา การฝกึ ออกเสียงภาษาอังกฤษ และการจดั ปา้ ยนเิ ทศตามวันสาคัญ/เทศกาลตําง ๆของเจ๎าของภาษาในช้ันเรียน มุมแสดงผลงานนักเรียน (Display Zone) ตลอดจนการใช๎ส่ืออุปกรณ์ไอทีประกอบการเรียนการสอน เชํน แอพพลิเคชน่ั EWA, English for fun หรือ YouTube เปน็ ต๎น รวมท้ังการใช๎สื่อของจริงในช้ันเรียนสาหรับการ จัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรต๎ู ําง ๆ ผลการดาเนินงาน ๑. ครูผ๎ูสอนมคี วามมํุงม่ันในการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ มีการพฒั นาตนเอง ดว๎ ยการเขา๎ รวํ มการอบรมและไดน๎ าองค์ความรมู๎ าประยุกต์ใช๎ในการจดั การเรียนการสอนไดอ๎ ยาํ งมี ประสทิ ธิภาพ มกี ารพฒั นากิจกรรมการเรียนการสอนภาษาองั กฤษตามจดุ เน๎นมาโดยตลอด โดยเนน๎ ให๎ นกั เรียนไดเ๎ รียนรู๎ศึกษา ลงมอื ปฏบิ ัตจิ รงิ ในเน้อื หาบทเรียน เชํน การฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษ การสอนแบบ แสดงบทบาท (Role Playing Method) เป็นต๎น ๒. ไดป๎ ระยุกตใ์ ช๎สื่อเทคโนโลยที ท่ี นั สมยั มาเปน็ เครื่องมือในการขับเคลอ่ื นพัฒนาคุณภาพการเรียนการ สอนภาษาอังกฤษ คอื ส่อื เกมการศึกษาออนไลน์ EWA, English for fun ,เกมทายศัพท์ภาษาอังกฤษหรือ YouTube แอพพลเิ คช่นั Echo English เป็นตน๎ โรงเรยี นไดด๎ าเนินการจดั กิจกรรมการเรียนร๎ภู าษาองั กฤษใน

30 รูปแบบทหี่ ลากหลาย โดยมีสอื่ การเรยี นการสอนที่นําสนใจ เขา๎ ใจงาํ ย เหมาะสมกับวยั ทเี่ นน๎ ฝึกทกั ษะ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสารใน ๔ ทักษะ (ฟงั พูด อําน เขยี น) ทาให๎นกั เรียนมเี จตคติทด่ี ีตอํ ภาษาอังกฤษ เกดิ ความมั่นใจในการสอ่ื สารและสามารถบรู ณาการเชอ่ื มโยงในชวี ติ ประจาวันได๎เปน็ อยาํ งดี ปญั หา/อุปสรรค 1. ครไู มํสามารถเข๎ารบั การอบรม ในหลายรุํนเพราะอยูํในระหวํางการจดั การเรียนการสอน โรงเรียน ขนาดเล็ก ขาดครู ครูทง้ิ ช้นั เรียนไมไํ ด๎ และท่สี าคญั โครงการฝกึ อบรมครสู อนภาษาอังกฤษ การ พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนน้ีไมตํ ํอเนื่องเพราะอาจเปน็ ตัวโครงการไมํได๎รับการสานตํอจาก ผู๎จัดการอบรม

31 2. ควรจดั การอบรมอยาํ งเปน็ ระบบ เชํน พัฒนาครแู กนนา Mater trainer อยาํ งเขม๎ ขน๎ แล๎วใหแ๎ กน นารวํ มกับ ศกึ ษานเิ ทศกใ์ นเขตพืน้ ทีข่ ยายผล 3. คร/ู บุคลากร มีการโยกย๎ายและเกษียณอายุราชการ ทาใหก๎ ารพัฒนาไมํตอํ เน่ือง ขอ้ เสนอแนะ 1. การพัฒนาครูผสู๎ อน ควรเปน็ ไปตามความต๎องการจาเปน็ ของระดับเขตพ้ืนท่ี 2. ควรอบรมเชิงปฏิบัติ (workshop) ใหส๎ าหรบั ครทู ส่ี อนวิชาภาษาอังกฤษทกุ คน โดยเนน๎ ครทู ไ่ี มํจบ เอกภาษาองั กฤษ เพื่อพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารและสร๎างความม่นั ใจ 3. ควรใหค๎ รูทุกคนในโรงเรียนพัฒนาตนเอง โดยใช๎แอพพลิเคชนั่ Echo English ซึ่งสอดคล๎องกับ ระดบั ความสามารถตามกรอบ CEFR

32 นโยบายท่ี ๓ นโยบายการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคน ประเด็นการตรวจราชการและการติดตามประเมนิ ผล การพัฒนาครูใหม้ ีความชานาญในการจดั การเรียนร้วู ทิ ยาการคานวณ (Coding) กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพ การสงํ เสริมให๎ครเู ขา๎ รับการอบรมในการจดั การเรียนรู๎วิทยาการคานวณ(Coding) วธิ ดี าเนนิ การ/กระบวนการพัฒนา 1. หลักสูตรอบรมออนไลน์การจัดการเรียนรู๎วิทยาการคานวณสาหรับครูมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ - ๓ Coding Online for Grade ๗-๙ Teacher (C๔T – ๘) จานวน 20 ชว่ั โมง กิจกรรมท่ี 1 การใช๎เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร กิจกรรมท่ี 2 การรูด๎ จิ ทิ ัล กิจกรรมที่ 3 แนวคิดเชิงคานวณ กิจกรรมที่ 4 การแก๎ปัญหา กิจกรรมท่ี 5 การแกป๎ ญั หาดว๎ ย Scratch กิจกรรมที่ 6 การแก๎ปญั หาด๎วย Python กิจกรรมที่ 7 การออกแบบและเทคโนโลยี 2. หลักสูตรอบรมออนไลน์การจัดการเรียนร๎ูวิทยาการคานวณสาหรับครูมัธยมศึกษาปีที่๔-๖ Coding Online Grade ๑๐-๑๒ Teacher (C๔T-๙) จานวน 20 ช่วั โมง กิจกรรมท่ี 1 แนวคดิ เชิงคานวณกับการแกป๎ ัญหาในชีวติ จริง กิจกรรมท่ี 2 การพัฒนาโครงงาน กจิ กรรมท่ี 3 วิทยาการขอ๎ มลู กิจกรรมที่ 4 ความเป็นพลเมืองดิจิทัลและ เทคโนโลยีสมัยใหมํ กจิ กรรมท่ี 5 การแกป๎ ญั หาดว๎ ย Scratch กจิ กรรมที่ 6 การแก๎ปญั หาด๎วย Python กิจกรรมท่ี 7 การออกแบบและเทคโนโลยี 3. อบรมออนไลน์ โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ (online) พัฒนาสถานีวัดสภาพอากาศ (อุตุน๎อย) พื้นฐาน ด๎วยบอร์ด Kid Bright

33 ผลการดาเนนิ งาน ครูผสู๎ อนนาความรท๎ู ไ่ี ด๎จากการอบรมเพือ่ พัฒนาตนเองในการจัดการเรียนรู๎วิทยาการคานวณ (Coding) ไปใชใ๎ นการจดั การเรียนร๎ใู นรายวชิ าวทิ ยาการคานวณ ในระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 ดว๎ ยการจัดกิจกรรมท่ีหลากหลายรปู แบบเพ่ือกระต๎ุนใหผ๎ เ๎ู รียนเกิดการเรียนรู๎ เชนํ จดั กิจกรรม Coding with Minecraft ในกจิ กรรมวันเปิดบ๎านวชิ าการ , จัดการเรยี นการสอนดว๎ ยโปรแกรม Scratch ในรายวชิ าวิทยาการคานวณระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 , จัดการเรียนการสอน Unplugged Coding ในรายวชิ าวทิ ยาการคานวณระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 และจัดการเรยี นการสอนด๎วย Kid Bright (อุตุน๎อย)ในรายวิชาวิทยาการคานวณระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ปญั หา/อุปสรรค การอบรมออนไลน์ทาให๎ครูไมํสามารถรับความร๎ูได๎อยํางเต็มที่หากมีประเด็นที่ไมํเข๎าใจหรือสงสัยก็ไมํ สามารถซักถามประเด็นคาถามน้นั ได๎สํงผลใหก๎ ารนาไปปรับประยุกต์ใช๎ในการสอนอาจเกิดความผิดพลาด ได๎ ข้อเสนอแนะ การจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการไมํควรเข๎ารับอบรมแบบออนไลน์เป็นคอร์สเรียน ควรอบรมเชิงปฏิบัติ (workshop)

34 นโยบายท่ี ๓ นโยบายการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน ประเด็นการตรวจราชการและการตดิ ตามประเมินผล การจัดการเรยี นร้ดู ้วยสะเตม็ ศึกษา (STEM Education) 1. กิจกรรมพฒั นาคุณภาพ - ชมุ นุมศาสตร์พระราชา 2. วิธดี าเนนิ การ/กระบวนการพัฒนา ชุมนมุ ศาสตร์พระราชา เรียนทุกวันอังคาร คาบที่ ๖  นักเรียนมหี นา๎ ที่ชวํ ยกนั ในการทาผลิตภณั ฑต์ ําง ๆใช๎ในโรงเรยี น เชํน เจลแอลกอฮอล์ , สบํูล๎างมอื (ทุกวนั อังคาร นักเรยี นชุมนมุ ศาสตรพ์ ระราชาจะตอ๎ งสารวจและเติมเจล แอลกอฮอล์ สบูํล๎างมอื รอบๆบรเิ วณโรงเรียนให๎เต็ม นอกจากน้ี นักเรียนต๎องไปดแู ลรถ น้าสมนุ ไพรบรเิ วณแปลงที่ปลูกไว๎ทกุ วนั  นกั เรยี นชํวยกันในการทาผลิตภัณฑต์ าํ ง เชํน น้ายาอเนกประสงค์ , สมนุ ไพรฤทธ์ริ อ๎ น , สมุนไพรฤทธ์เิ ย็น นา้ หมัก และสบูํ เพ่ือขายนารายได๎มาสโูํ รงเรยี นและนกั เรียน  มีการสอนออกแบบฉลากผลติ ภัณฑ์ STEM เปน็ การบูรณาการการเรียนรู้ทง้ั ๔ สาขาเขา้ ดว้ ยกนั คือ วิทยาศาสตร์ (Science), เทคโนโลยี (Technology), วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์ (Mathematics) เพื่อนาความรู้ทุกแขนงมา ใชใ้ นการแก้ปญั หาในชีวติ จริงที่เป็นประโยชนต์ ่อการดาเนนิ ชวี ิต ซ่งึ การจัดกิจกรรมในชมุ นุมมกี ารจัดการ เรยี นรูด๎ ว๎ ยสะเตม็ ศึกษา (STEM Education) เขา๎ มามีสํวนรํวมในทุกขั้นตอนของการจดั กิจกรรม เชํน S : Science ใช๎ความร๎ูและอุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ในการทาผลิตภัณฑ์ตาํ ง ๆ รวมไปถงึ การทดลอง ทาผลติ ภณั ฑ์ตาํ ง เพอ่ื ให๎ได๎สูตรท่ีดที ี่สดุ T : Technology ใช๎เทคโนโลยีในการสบื ค๎นข๎อมลู และการออกแบบฉลากผลติ ภัณฑ์

35 E : Engineering ใช๎ความรท๎ู างวศิ วกรรมมาประดษิ ฐเ์ ครื่องชํวยผอํ นแรงในการคนนา้ ยาอเนกประสงค์ (อยใูํ นชํวงวางแผนและดาเนนิ การ) M : Mathematics ใชค๎ วามรู๎ทางคณิตศาสตร์ในการคดิ คานวณอตั ราสํวนในการผสมสารตาํ ง ๆ ใน ผลิตภัณฑแ์ ละการออกแบบโมเดลเครือ่ งชวํ ยผํอนแรง ผลการดาเนินงาน ๑. นกั เรียนมที ักษะด้านอาชีพและสามารถ นาความร้ทู ไี่ ด้รบั ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ๒. นักเรียนมีความรบั ผดิ ชอบและ มคี วามสามัคคีในหมู่คณะ

36 ๓. นักเรียนไดใ้ ช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์และมรี ายไดร้ ะหวา่ งเรยี น ( น้ายาเอนกประสงค์สง่ ขายให้ บรษิ ทั ไทเบฟเวอเรจ โลจิสตกิ จากัด ทุกเดือน 3. ปัญหาและอปุ สรรค 1. นักเรียนมาปฏบิ ตั กิ ารไมํตํอเน่ือง ข้อเสนอแนะ 1. เชญิ วิทยากรจากภายนอกมาให๎ความร๎ู เรือ่ ง STEM 2. จดั กจิ กรรมบรู ณาการ STEM ให๎กับนักเรยี น

37 นโยบายท่ี ๓ นโยบายการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคน ประเดน็ การตรวจราชการและการตดิ ตามประเมนิ ผล การเรียนภาษาอังกฤษเพือ่ ใช้ในการสื่อสารและเพ่มิ ทักษะสาหรบั ใช้ในการประกอบอาชีพ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพ การทากิจกรรมเพ่ือสํงเสริมการใช๎ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร วธิ กี ารดาเนินการ/กระบวนการพัฒนา 1. กจิ กรรมภาษาองั กฤษวันละคา ได๎มกี ารจัดกจิ กรรม Morning English หนา๎ เสาธง โดยเน๎นการนาเสนอคาศัพทห์ รือสานวนภาษาอังกฤษ สื่อสารในชวี ิตประจาวนั งาํ ยๆที่ใช๎บํอย (Small talks) เพ่ือสรา๎ งสัมพันธภาพทีด่ รี ะหวํางครูผส๎ู อนกบั นักเรยี น และ ระหวํางนกั เรยี นดว๎ ยกนั เอง ซ่งึ นักเรียนรนุํ พี่ (ม. ๔-๖) เป็นผู๎นาเสนอ และกระตน๎ุ ให๎น๎องๆ ฝกึ รํวมกนั หลงั กิจกรรม หนา๎ เสาธง โดยมคี รภู าษาองั กฤษเปน็ ผู๎กากับดูแลและใหค๎ าแนะนาการสนทนาภาษาอังกฤษหน๎าเสาธง 2. การเปิดบา๎ นวิชาการ Open House และกิจกรรมวนั สาคัญ/เทศกาลตาํ งๆ ของเจ๎าของภาษา เชํน New Year Day, Valentine Day, Halloween Day เปน็ ตน๎ อีกทั้งยงั มีกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร เชนํ ชุมนุม/ชมรม และกิจกรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู๎ ฯลฯ เพ่ือเน๎นใหน๎ ักเรยี นได๎มโี อกาสใช๎ภาษาส่อื สารในชวี ิต จรงิ นอกห๎องเรียน ดว๎ ยการจาลองสถานการณ์ตาํ งๆ โดยออกแบบเป็นกจิ กรรมท่ีสนุกสนานและมคี วามหมาย ตํอการเรยี นร๎ูของเดก็ สร๎างสรรคก์ ระบวนการคดิ และการทางานเปน็ กลํุมโดยใชภ๎ าษาองั กฤษเป็นภาษา สือ่ สาร

38 3. สํงเสริมใหน๎ กั เรยี นท่ีมีความสามารถพเิ ศษดา๎ นภาษาอังกฤษ ไดม๎ ีโอกาสแสดงความสามารถใน กิจกรรมตาํ งๆ ของโรงเรียน เชํน การเป็นพิธกี รภาคภาษาอังกฤษในงานกิจกรรมโรงเรียน งานต๎อนรับคณะท่ี เข๎าเยี่ยม นิเทศโรงเรียน เขา๎ รํวมแขํงขนั ตํางๆ เปน็ ต๎น

39 ปัญหา/อุปสรรค โรงเรียน นกั เรียน ผูป๎ กครอง สวํ นใหญํ ยังให๎ความสาคญั กับผลการทดสอบระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) ทม่ี ุงํ วดั ความร๎ู (Content) มากกวําการฝึกทกั ษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารใน ชีวติ ประจาวนั จึงเปน็ ตัวแปรสาคัญทีท่ าให๎ครูผสู๎ อนไมํมเี วลาสาหรบั การใช๎เทคนิคการสอน มาพฒั นา ทกั ษะภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารให๎กับนักเรยี นได๎อยํางเต็มที ข้อเสนอแนะ ๑. กาหนดมาตรการในการพัฒนามาตรฐานการสอนภาษาอังกฤษของครูผสู๎ อนอยํางเข๎มงวด เพ่ือให๎ครผู ๎สู อนตระหนักและใหค๎ วามสาคญั ตํอการพฒั นาตนเองและปรับปรุงการเรยี นการสอนของ ตนอยาํ งตํอเนือ่ ง รวมทั้งการใหข๎ วัญ กาลงั ใจแกํครทู ี่มคี วามมงํุ ม่ันและสามารถพฒั นาทักษะ ภาษาอังกฤษใหแ๎ กํ นักเรียนได๎สาเรจ็ อยํางเปน็ รูปธรรม โดยพจิ ารณาตามศักยภาพของนักเรยี น

40 นโยบายที่ ๓ นโยบายการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน ประเดน็ การตรวจราชการและการติดตามประเมนิ ผล การจดั การเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาท่ี ๓) ภาษาจีน 1. กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพ การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรยี น โดยการฝกึ การสนทนา และใช๎บัตรคาในการเรียน คาศัพท์ กจิ กรรมลดเวลาเรียน “ภาษาจีนหรรษา” ในระดับมัธยมตอนต๎น จัดทากจิ กรรมเกี่ยวกบั การเรยี นภาษาจนี โดยการดภู าพยนตร์ ทใ่ี ช๎ภาษาจนี เปน็ หลกั ร๎องเพลงจีน ศลิ ปะการแสดงจนี กจิ กรรมชุมนุมภาษาจีน “เรียนรูว๎ ฒั นธรรมจนี ” ในระดบั มัธยมตอนตน๎ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย จัดกจิ กรรมเกย่ี วกับ วัฒนธรรมจนี เชนํ การตดั กระดาษจีน การทาโคมจีน การถักเชือก การทาเก๊ยี ว ซาํ กจิ กรรมวันตรุษจีน เผยแพรํ เก่ียวกับวัฒนธรรมจีน 2. วิธีการดาเนนิ การ/กระบวนการพฒั นา ในคาบเรียนวิชาภาษาจีน ผ๎เู รยี น ได๎เรียนรูเ๎ กยี่ วกบั คาศัพท์จากบัตรคา และฝกึ บทสนทนาท่ีใช๎ใน ชวี ิตประจาวนั เปน็ ภาษาจีน

41 จัดตัง้ กจิ กรรมลดเวลาเรียน ในคาบ ลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลาร๎ู ชอื่ กจิ กรรมคือ “ภาษาจีนหรรษา” ใน ระดบั มธั ยมตอนต๎น จัดทากจิ กรรมเกีย่ วกับ การเรยี นภาษาจนี โดยการดูภาพยนตร์ ทใ่ี ช๎ภาษาจนี เป็นหลักเพื่อฝึกการใช๎ภาษาจีน การร๎องเพลง และการแสดงรา จนี ผูเ๎ รยี น ได๎เรยี นรู๎การใช๎ฝกึ ฟงั เพลง และ ร๎องเพลงภาษาจีน และสงํ เสรมิ ให๎ผเ๎ู รียน รํวมการประกวด รอ๎ งเพลงภาษาจีน จัดตง้ั กิจกรรมชุมนมุ ภาษาจนี ในคามวิชาชุมนมุ ชอื่ กจิ กรรมคอื “เรยี นรว๎ู ฒั นธรรมจนี ” ในระดบั มัธยมตอนต๎นและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จดั กจิ กรรมเก่ยี วกบั การให๎ความรู๎ วัฒนธรรมจีน เชํน การ ตัดกระดาษจนี ซ่ึงเปน็ ศิลปะแขนงหนึ่งของชาวจนี การทาโคมจีนทีใ่ ช๎ประดับตกแตงํ ในเทศกาล ตรุษจีน การถักเชือกใช๎สาหรบั การประดับตกแตํงเสอ้ื หยก การทาเกยี๊ วซาํ เป็นการเรียนรู๎เกีย่ วกับอาหารท่ี มีชอ่ื เสยี งของจีน

42 กจิ กรรมวนั ตรุษจีน โดยให๎ผู๎เรียน เผยแพรํประวตั แิ ละความเปน็ มาของเทศกาลตรุษจีน และรวํ มทา กจิ กรรมตาํ งๆ เชนํ ทาโคมจีน ทาเก๊ยี วจนี การแสดงละครจีน และการแสดงราพดั จนี 3. ผลการดาเนนิ งาน คาบเรยี นวิชาภาษาจนี เพิ่มเติมผ้เู รียนได้ฝกึ การสนทนาภาษาจนี จากคาศพั ท์ในหมวด ตา่ งๆ ในคาบลดเวลาเรยี น ผู๎เรียน ได๎ฝกึ การพูด และการฟังจากการดภู าพยนตร์ และฟังเพลงทาให้มี ทกั ษะในการฟงั และพูดเพ่ิมขึ้น คาบกจิ กรรมชุมนมุ ผเู้ รียนได้ฝกึ ปฏบิ ตั ิและลงมอื ทากจิ กรรม ต่างๆในชมุ นุมเรียนรเู้ กีย่ วกับวฒั นธรรม ศลิ ปะการทาโคม การทาเกีย๊ ว การตดั กระดาษ การ แสดงละครจีน ราพัดจนี เพือ่ นามาเผยแพร่ต่อในการจัดกจิ กรรมวนั ตรษุ จนี 4. ปญั หา/อุปสรรค ผูเ๎ รยี นยังไมตํ ระหนักและให๎ความสาคญั ถงึ การเรยี นภาษาจีน ขาดแรงจูงใจ และขาดการสงํ เสริมในการใชภ๎ าษาจนี นอกชั้นเรียน 5. ข้อเสนอแนะ ผูเ๎ รียนต๎องฝกึ พดู ภาษาจีนในชวี ิตประจาวนั ทงั้ ภายในและนอกโรงเรยี น เชนํ การทักทาย คณุ ครู หรือ เพ่ือนๆ

43 นโยบายที่ ๓ นโยบายการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน ประเด็นการตรวจราชการและการตดิ ตามประเมนิ ผล การส่งเสรมิ ทักษะการอ่าน เขียนภาษาไทยเพ่ือใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือในการสื่อสาร 1. กิจกรรมพฒั นาคุณภาพ โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยให๎นักเรียนอํานคลํอง เขียนคลํอง เพ่ือยก ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นสาระวิชาภาษาไทยให๎สูงขึ้น 2. วิธกี ารดาเนนิ การ/กระบวนการพัฒนา กลํุมสาระการเรียนรู๎ภาษาไทยได๎ดาเนินโครงการคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยให๎ นักเรียนอํานคลํอง เขียนคลํอง เพื่อยกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระวิชาภาษาไทยให๎สูงข้ึน และ ปลูกฝงั ให๎นักเรียน รักและภาคภมู ิใจในภาษาไทย และพัฒนาทักษะการอํานออกเสียงของนักเรียนชั้น ม.๑ – ๖ รวมถงึ สงํ เสรมิ และพัฒนานกั เรยี นให๎มีความเป็นเลิศทางด๎านภาษาไทย โดยมีครูในกลุํมสาระ ฯ สลบั กันไปเปน็ ผ๎ูสอน โดยมวี ิธกี ารดาเนนิ การ ดังน้ี กจิ กรรมท่ี ๑ กิจกรรมบันทกึ รกั การอา่ น

44 กิจกรรมที่ ๒ กจิ กรรม แบบฝึกเสรมิ ทักษะการอ่าน การเขยี น กจิ กรรมที่ ๓ กิจกรรม การนา้ เสนอภาษาไทยวนั ละค้า

45 กิจกรรมที่ ๔ กจิ กรรมเขยี นตามค้าบอก ๔. ผลการดาเนนิ งาน โครงการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยใหน๎ ักเรียนอํานคลํอง เขียนคลํอง เพื่อยก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระวิชาภาษาไทยให๎สูงข้ึนของกลํุมสาระการเรียนร๎ูภาษาไทย ประจาปี ๒๕๖๓ ประกอบด๎วยกิจกรรมบันทึกรักการอําน กิจกรรมแบบฝึกเสริมทักษะการอําน การเขียน กิจกรรมการนาเสนอภาษาไทยวันละคา และกิจกรรมเขียนตามคาบอก โดยนักเรียนทุกคนจะต๎องเข๎า รํวมโครงการ/กิจกรรม อยํางตํอเนื่องสม่าเสมอ ท้ังนี้กลํุมสาระการเรียนร๎ูภาษาไทยยังมีสํงเสริม คุณธรรม จริยธรรมและสร๎างจิตสานึกความเป็นไทยให๎นักเรียนได๎เรียนร๎ู เข๎าใจ และเข๎าถึงความเป็น ชาติไทยที่แท๎จริง รวมถึงการพัฒนาการใช๎ภาษาไทย ซ่ึงเป็นภาษาชาติซึ่งจะชํวยยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นร๎ูภาษาไทยท่ีสูงขึน้ สํงผลให๎ผ๎ูเรียนมีคุณภาพ ตลอดจนสามารถเผยแพรํความร๎ูสํงผํานไป ยงั ผู๎อ่ืนได๎ จากวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการที่ตง้ั ไว๎ คือเพอ่ื ปลกู ฝังใหน๎ กั เรยี นรักและภาคภูมิใจในภาษาไทย เพ่ือสํงเสริมและพัฒนานักเรียนให๎มีความเป็นเลิศทางด๎านภาษาไทยอยํางเต็มศักยภาพ เพ่ือสร๎าง ประสบการณ์ตรงเก่ียวกับการใช๎ภาษาไทยให๎กับนักเรียน และพัฒนาความสามารถด๎านทักษะการ อํานคลํอง เขียนคลํองนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ ดังนั้น ทางกลุํมสาระการเรียนร๎ู ภาษาไทย จึงขอสรุปโครงการตามวตั ถุประสงคท์ ตี่ ง้ั ไว๎ ดงั น้ี ๑. นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ อาํ นคลอํ งเขียนคลอํ ง อาํ นรูเ๎ รื่องสื่อสาร ๒. เกดิ การแลกเปลย่ี นนวตั กรรมระหวาํ งครูผ๎สู อน เพื่อแก๎ไขปญั หาการอํานออกเขยี นได๎ของ นกั เรยี นทุกระดบั ช้ัน ทาใหผ๎ ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นกลํมุ สาระการเรียนรภ๎ู าษาไทยสูงข้นึ ๔. การรายงานข๎อมลู การอาํ นและการเขียนผาํ นระบบการติดตามระบบอิเล็กทรอนิกส์

46 (e - MES) ถูกต๎อง ครบถ๎วน ตามระยะเวลาท่กี าหนด สามารถนาข๎อมูลมาใชใ๎ นการพัฒนา ความสามารถในการอาํ นและการเขยี นของนักเรียนได๎ ๕. ปญั หา/อุปสรรค ปัญหา/อุปสรรคของกิจกรรมในคร้ังน้ี คือ นักเรียนบางระดับชั้นมีการรํวมกิจกรรมจานวน น๎อย นอกจากน้ีกิจกรรมยังไมํได๎แบํงแยกเกณฑ์ของเน้ือหาแบบทดสอบให๎เหมาะสมกับระดับช้ัน ซ่ึง ทาให๎นักเรียนบางกลํุมทาคะแนนได๎น๎อยในบางกิจกรรม จุดน้ีจึงเป็นจุดท่ีทางกลํุมสาระการเรียนร๎ู ภาษาไทยคดิ วาํ เป็นปญั หา/อปุ สรรค และควรเป็นจุดท่ีได๎รบั การพัฒนาตอํ ไป ๖. ข้อเสนอแนะ ๖.๑ กิจกรรมการอํานควรจัดทาเอกสารประกอบการอํานเป็นเลํม จะได๎ไมํเสียเวลาในการเตรียม เอกสารในแตํละสปั ดาห์ ๖.๒ ควรมกี ารมอบเกียรติบัตรให๎กับนักเรียนท่ีเข๎ารํวมกิจกรรมอยํางสม่าเสมอเพ่ือเป็นกาลังใจในการ พฒั นาทักษะการอําน ๖.๓ ควรให๎นกั เรยี นที่มที กั ษะการอํานคอํ นขา๎ งดีอํานขาํ วตอนเช๎าท่ีห๎องกิจการนักเรียน หรือแสดงการ เลํานทิ าน ๖.๔ ควรมีการประชาสมั พันธก์ จิ กรรมใหม๎ ากขึ้นและเพม่ิ กิจกรรมให๎หลากหลายขึ้น เพ่ือเป็นทางเลือก แกนํ กั เรียนในการรวํ มกจิ กรรม

47 นโยบายท่ี ๔ การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทียมกันในสังคม ประเด็นการตรวจราชการและการติดตามประเมนิ การจัดการศกึ ษาสาหรับคนพกิ าร กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพ กจิ กรรมเสรมิ ทักษะพัฒนาการเรยี นรสู้ าหรับเดก็ เรยี นร่วม วิธดี า้ เนินการ/กระบวนการพัฒนา ๑. ครปู ระจาชน้ั หรือ ครูประจาวิชาสังเกตพบปัญหาของนักเรียนและเหน็ ปัญหาของนกั เรียนท่ีควร ได้รบั การช่วยเหลอื ใหเ้ ข้าถงึ การศกึ ษาเป็นพเิ ศษ นาเสนอผู้บริหาร ๒. นาเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาดาเนินการใชแ้ บบคัดกรอง ๓. ขอความร่วมมือผู้ที่ผ่านการอบรมการคดั กรองเพื่อเตรยี มการคัดกรอง ๔. ขออนญุ าตทาการคดั กรองจากผปู้ กครอง โดยทาความเขา้ ใจกบั ผปู้ กครองและร่วมมือกับ ผู้ปกครองเพื่อชว่ ยเหลือนักเรียน ๕. ขออนุญาตทาการคดั กรองจากผู้ปกครองโดยผปู้ กครองลงนามยนิ ยอมใหค้ ัดกรอง ในแบบคดั กรอง รวมทั้งยนิ ดใี หส้ ถานศึกษาจัดบริการชว่ ยเหลอื ทางการศึกษาพเิ ศษ เม่ือพบว่ามีแนวโนม้ เปน็ ผู้ท่มี ีความบกพร่อง ตามแบบคัดกรอง ผลการด้าเนนิ งาน ในการคัดกรองนักเรียนเรียนร่วมท่ีมีความบกพร่องนั้น พบว่า โรงเรียนเกาะคาวิทยาคมมีนักเรียน ประเภทบกพร่องทางการเรยี นรู้ จานวน 2 คน คอื นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ จานวน ๑ คน และนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่๒ จานวน ๑ คน โดยทางโรงเรียนเกาะคาวิทยาคมได้ดาเนินการแก้ปัญหาในการเรียนร่วม ดงั กล่าว เพอื่ ใหน้ ักเรียนที่มคี วามบกพร่องทางการเรียนร้สู ามารถมพี ฒั นาการทางการเรยี นได้อย่างเท่าเทียมกัน เพ่อื ให้นักเรียนท่ีเรียนร่วมได้รับโอกาสและมีความเสมอภาคเหมือนกับนักเรียนคนอ่ืน ๆ เมื่อมีการประเมินผล การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ทางงานวิชาการโรงเรียนได้จัดให้ใช้ข้อสอบท่ีมีความเหมาะสม กับระดับการเรียนรู้ของนักเรียนกลุ่มเรียนร่วมสาหรับการประเมินผลท่ีมีลักษณะของแต่ละวิชาท่ีแตกต่างกัน เพ่ือให้นักเรียนเรียนร่วมได้มีโอกาสแสดงความสามารถให้ตรงตามระดับการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตัวของ นักเรียน และนักเรียนที่เรียนร่วมดังกล่าวน้ียังได้รับทุน ของมูลนิธิคุณพุ่ม มอบทุนสนับสนุนการศึกษาแก่เด็ก ออทิสติกและเด็กพิการ เพ่ือให้เด็กเรียนร่วมกลุ่มน้ีได้นาทุนการศึกษาไปใช้ เพื่อวัตถุประสงค์เสริมทักษะ พัฒนาการเรยี นรสู้ าหรับเดก็ เรียนรว่ ม โดยครผู ูส้ อนแต่ละวิชาจะต้องประเมินการเรียนรู้ร่วม ท้ังน้ีครูแต่ละวิชา จะต้องออกแบบการจัดการเรียนร่วมโดยนาทุนที่นักเรียนได้รับมาสนับสนุนในการจัดการเรียนรู้ของนักเรียน เรยี นรว่ ม เพื่อสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทียมกันในสงั คมของการเรยี นรู้

48 ปญั หา/อุปสรรค ดา้ นนกั เรียน - ในบางครงั้ นักเรยี นยังขาดความรว่ มมือสาหรับการพัฒนาตนเองในการเรียนรู้ ด้านครู - การออกแบบการจัดการเรยี นรรู้ ว่ มเป็นงานท่ีละเอยี ด จงึ ทาใหค้ รูตอ้ งใชร้ ะยะเวลาในการจดั การ ออกแบบค่อนข้างมาก ข้อเสนอแนะ ด้านนกั เรียน - ใหผ้ ู้เชยี วชาญในเด็กพิเศษมาช่วยปรับทัศนคตขิ องนักเรยี น เรื่องการให้ความรว่ มมือกับครูผู้สอน ในกิจกรรมต่าง ๆ ดา้ นครู - ให้ผูเ้ ชยี วชาญในดา้ นเดก็ พเิ ศษ เขา้ มาชแ้ี นะหรือสงั เกตการในการจัดการเรียนรู้ของเด็กพิเศษ เพ่ือให้ คาแนะนากับครผู สู้ อนเกี่ยวกับการออกแบบการจดั การเรียนรรู้ ่วม รูปภาพประกอบการใหค้ า้ ปรึกษาและชีแ้ นะจากนักจิตวทิ ยา สพม.๓๕ รูปภาพประกอบการให้คา้ ปรึกษาและชี้แนะจากนักจติ วิทยา สพม.๓๕

49 รปู ภาพประกอบการให้ค้าปรึกษาจากครูประจ้าชั้น รูปภาพประกอบการรับทนุ การศกึ ษามูลนิธคิ ณุ พมุ่ สนับสนุนการศกึ ษาแกเ่ ดก็ ออทิสติกและเด็กพกิ าร -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook