การบัญชีเบอื้ งต้น (Basic Accounting) รหัสวชิ า 20200-1002
จุดประสงค์รายวชิ า เพอื่ ให้ 1. มคี วามเข้าใจหลกั การ วธิ ีการ และข้ันตอนการจัดทาบัญชี สาหรับกจิ การเจ้าของคนเดยี วประเภทธุรกจิ บริการ 2. มีทักษะปฏิบัติงานบัญชีตามหลกั การบัญชีท่ีรับรองท่ัวไป สาหรับกจิ การเจ้าของคนเดยี วประเภทธุรกจิ บริการ 3. มีกิจนิสัย มีระเบียบ ละเอียด รอบคอบ ซื่อสัตย์ มีวินัย ตรงต่อเวลา และมเี จตคตทิ ดี่ ตี ่อวชิ าชีพบญั ชี
สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการ วิธีการ และข้ันตอนการ จัด ทาบัญชีสาหรับกจิ การเจ้าของคนเดยี วประเภท ธุรกจิ บริการ 2. ปฏิบัติงานบัญชีสาหรับกิจการเจ้าของคนเดียวประเภท ธุรกจิ บริการตามหลกั การบัญชีทร่ี ับรองทวั่ ไป
หน่วยท่ี 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกย่ี วกบั การบญั ชี
กฎหมายที่เก่ียวขอ้ ง การรายงานทางการเงิน รูปแบบของธุรกิจ กิจกรรมพ้ืนฐานทางธุรกิจ การเขียนตวั เลขตามหลกั บญั ชี
ความหมายของการบญั ชี สมาคมนักบัญชีแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา American Institute of Certified Public Accountants หรือ A ICPA “การบัญชีเป็ นศิลปะของการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ และรายการต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง กับการเงินไว้ในรูปของเงินตรา การจัดหมวดหมู่รายการเหล่าน้ัน การสรุปผล รวมท้ังการ ตคี วามหมาย ของผลน้ัน”
กระบวนการทางการบัญชี (The Accounting Process) มี 4 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ ข้นั ตอนท่ี 1 การรวบรวมขอ้ มูล (Data gathering) ข้นั ตอนท่ี 2 การบนั ทึกรายการ (Recording) ข้นั ตอนที่ 3 การสรปุผล (Summarizing) ข้นั ตอนท่ี 4 การสื่อขอ้ มลู เพื่อการตดั สินใจ (Communicating)
การรวบรวมข้อมูล Data gathering เป็ นการรวบรวมขอ้ มูลและขอ้ เท็จจริงในรูปแบบของเอกสาร และจดั เกบ็ เขา้ แฟ้ ม โดยเรียงลาดบั วนั ที่ขอ้ มูลหรือรายการใดไม่มีเอกสาร เช่น ค่าใชจ้ ่ายที่ผรู้ ับเงินไม่สามารถออกหลกั ฐาน การรับเงินได เช่น ค่า รถรับจา้ ง คา่ จา้ งคนส่งเอกสาร ใหจ้ ดั ทา ใบรับรองแทนใบสาคญั รับเงิน
การบนั ทึกรายการทเ่ี กดิ ขนึ้ ประจาวนั (Recording) เป็นการจดบนั ทึกรายการคา้ เฉพาะท่ีสามารถตีค่าเป็นตวั เงินได้ โดย เรียงลาดบั วนั ที่ ท่ีเกิดรายการในสมุดบนั ทึกรายการข้นั ตน้ และผา่ น รายการไปสมุดบนั ทึกรายการข้นั ปลาย
การสรุปผลของข้อมูล (Summarizing) เป็ นการตีความหมายของรายการในสมุดบันทึกรายการข้นั ปลาย และนามาสรุปในรูปของ รายงานทางการเงิน
การส่ือสารขอ้ มูลเพ่ือการตดั สินใจ (Communicating) เป็ นการนาเสนอรายงานทางการเงินเพื่อการตดั สินใจของผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ ง เช่น ผบู้ ริหาร สถาบนั การเงินผถู้ ือหุน้
วตั ถุประสงค์และประโยชน์ของการบญั ชี 1. เพื่อจดบันทึกรายการค้าท่ีเกิดข้ึนตามลาดับก่อนหลัง และ จาแนกประเภทรายการคา้ ออกเป็นหมวดหมู่ 2. เพ่อื เป็นหลกั ฐานในการอา้ งอิง 3. เพื่อให้เจา้ ของกิจการ ควบคุมดูแล รักษาสินทรัพยข์ องกิจการ ได้ เช่น เงินสด สินคา้ คงเหลือท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์ 4. เพ่ือให้เจา้ ของกิจการทราบผลการดาเนินงานของกิจการใน รอบระยะเวลาใดเวลาหน่ึง และทราบฐานะการเงินของ กิจการ ณ วนั ใดวนั หน่ึง
5. เพ่ือเป็ นขอ้ มูลในการตดั สินใจ และวางแผนการดาเนินงาน เช่น การขยายกิจการ การกูย้ ืม การเลิกกิจการ และควบคุมกิจการให้ ประสบความสาเร็จตามวตั ถุประสงค์ 6. เพ่ือควบคุมภายในกิจการและการตรวจสอบ 7. เพื่อให้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการทาบัญชี เช่น พระราชบญั ญตั ิการบญั ชี พ.ศ. 2543 และพระราชบญั ญตั ิวิชาชีพ บญั ชีพ.ศ. 2547 8. เพ่ือให้ถกู ตอ้ งตามขอ้ กาหนดหรือประกาศของหน่วยงานราชการ หรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี เช่น กรมพฒั นาธุรกิจ การคา้ กรมสรรพากร สภาวชิ าชีพบญั ชี เป็นตน้
ประวตั ิความเป็ นมาของบญั ชี การบญั ชีเกิดข้ึนคร้ังแรกในประเทศอิตาลี โดยลูกา ปาซิโอลิ (Luc a Pacioli) ชาวอิตาเลียน เป็ นคนแรกที่วางรากฐานทางการบญั ชี จนไดร้ ับ ฉายาวา่ เป็นบิดาแห่งงบดุล (The Father of the Balance Sheet) ปาซิโอลิ เป็ นคนท่ีช่างสังเกต เขาสังเกตว่าพ่อคา้ ชาวอิตาเลียน นิยมเก็บ ขอ้ มูลทางธุรกิจโดยแบ่งเป็ น 2 ดา้ น คือ เดบิตและเครดิต และขอ้ มูลน้นั จะ ถูกแยกออกเป็ นหมวดหมู่ แนวคิดของปาซิโอลิเก่ียวกบั ระบบบญั ชีคู่เป็ นท่ี ยอมรับและ ถือปฏิบตั ิมาจนทุกวนั น้ี ดงั น้นั ปาซิโอลิ จึงไดร้ ับการยกยอ่ งว่า เป็น บิดาแห่งการบญั ชี
ข้อสมมตทิ างบญั ชี ขอ้ สมมติทางบญั ชีตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ีไม่มีส่วนไดเ้ สีย สาธารณะ สภาวชิ าชีพบญั ชีในพระบรมราชปูถมั ภม์ ีรายละเอียดดงั น้ี 10 ขอ้ สมมติท่ีใชใ้ นการนาเสนองบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ี ไม่ มีส่วนไดเ้ สียสาธารณะ ไดแ้ ก่ เกณฑค์ งคา้ ง และการดาเนินงานต่อเนื่อง 11 เกณฑค์ งคา้ ง (Accrual Basis) กาหนดใหก้ ิจการตอ้ งรับรู้รายการน้นั ซ่ึงอาจเป็นรอบระยะเวลา บญั ชีเดียวกนั หรือต่างกนั กบั รอบระยะเวลาบญั ชีท่ีกิจการไดร้ ับหรือจ่ายชาระเงินสด 12 การดาเนินงานต่อเนื่อง (Going Concern) คือ ขอ้ สมมติวา่ กิจการจะยงั คงดาเนินงานอยตู่ ่อไป ใน อนาคตหากมีข้อสงสัยเก่ียวกบั การดาเนินงานต่อเน่ือง กิจการตอ้ งวดั มูลค่ารายการที่รับรู้ในงบ การเงินดว้ ยเกณฑท์ ี่ต่างจากเกณฑท์ ่ีมีมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบบั น้ีกาหนดไว้
ความแตกต่างระหว่างนักบัญชีและผู้ทาบญั ชี นักบัญชี ผู้ทาบญั ชี Accountants Bookkeepers ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกบั การบญั ชี บนั ทึก และรวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกบั การเงินประจาวนั ออกแบบเอกสารทางธุรกิจ หรือวาง เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ระบบบญั ชี จดั ทางบประมาณ จดบนั ทึกขอ้ มลู ประจาวนั ออกแบบรายงานทางบญั ชี จดั ทารายงานทางการเงิน
รายงานทางการบัญชี รายงานทางการบริหาร รายงานเฉพาะหรือรายงานพิเศษ รายงานทางการเงิน Financial Reports Managerial Reports Special Reports
ผู้ใช้ ข้อมูล ผู้ใช้ ภายใน ข้อมูล ผู้ใช้ ทางบญั ชี ข้อมูล ภายนอก
อาชพี ทางการบญั ชี การบญั ชสี ว่ นบคุ คล การบญั ชสี าธารณะ การบญั ชรี ฐั บาลหรอื ส่วนราชการ Private Accounting Public Accounting Government Accounting
จรรยาบรรณผู้ประกอบวชิ าชีพบญั ชี ความซื่อสัตย์สุจริต ความเทยี่ งธรรม และความเป็ นอสิ ระ ความรู้ ความสามารถ ความเอาใจใส่ การรักษาความลบั และการรักษามาตรฐานการปฏิบัติงาน ความโปร่งใส พฤติกรรมทาง วชิ าชีพ
พระราชบัญญตั ิการบัญชี พ.ศ. 2543 และพระราชบัญญตั วิ ชิ าชีพบญั ชี พ.ศ. 2547 พระราชบญั ญตั ิการบัญชี พ.ศ. 2543 โดยที่เป็ นการสมควรปรับปรุ งกฎหมายว่าด้วยการบัญชี พระราชบญั ญตั ิน้ีมีบทบญั ญตั ิ บางประการเก่ียวกบั การจากดั สิทธิและ เสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา 29 ประกอบกบั มาตรา 35 มาตรา 48 และ มาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย บญั ญตั ิให้กระทาได้ โดยอาศยั อานาจตามบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมาย ในท่ีน้ีจะกล่าวถึงเฉพาะบาง มาตราเท่าน้นั
มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั ิน้ี “งบการเงิน” หมายความว่า รายงานผลการดาเนินงาน ฐานะการเงิน หรือการเปล่ียนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ไม่วา่ จะรายงานโดยงบดุล (งบ แสดงฐานะการเงิน) งบกาไรขาดทุน งบกาไรสะสม งบกระแสเงินสด งบ แสดงการเปล่ียนแปลงส่วนของผถู้ ือหุน้ งบประกอบหรือ หมายเหตุประกอบ งบการเงิน หรือคาอธิบายอื่นซ่ึงระบุไวว้ า่ เป็นส่วนหน่ึงของงบการเงิน “มาตรฐานการบญั ชี” หมายความว่า หลักการบัญชีและวิธีปฏิบัติ ทางการบญั ชีท่ีรับรองทว่ั ไป หรือมาตรฐานการบญั ชีที่กาหนดตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยการน้นั
“ผูม้ ีหน้าท่ีจัดทาบัญชี” หมายความว่า ผูม้ ีหน้าท่ีจัดให้มีการทาบัญชี ตาม พระราชบญั ญตั ิน้ี “ผูท้ าบญั ชี” หมายความว่า ผูร้ ับผิดชอบในการทาบญั ชีของผูม้ ีหน้าที่จดั ทา บญั ชีไม่วา่ จะไดก้ ระทาในฐานะเป็นลกู จา้ งของผมู้ ีหนา้ ที่จดั ทาบญั ชีหรือไม่กต็ าม “สารวตั รใหญ่บญั ชี” หมายความว่า อธิบดี และให้หมายความถึงผซู้ ่ึงอธิบดี มอบหมายดว้ ย “สารวตั รบญั ชี” หมายความวา่ ผซู้ ่ึงอธิบดีแต่งต้งั ใหเ้ ป็นสารวตั รบญั ชีประจา สานกั งานบญั ชีประจาทอ้ งที่ “อธิบดี” หมายความวา่ อธิบดีกรมทะเบียนการคา้ “รัฐมนตรี” หมายความวา่ รัฐมนตรีผรู้ ักษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
ผู้มีหน้าทจ่ี ัดทาบัญชี มาตรา 8 ใหห้ า้ งหุน้ ส่วนจดทะเบียน บริษทั จากดั บริษทั มหาชนจากดั ที่จดั ต้งั ข้ึน ตามกฎหมาย ไทย นิติบุคคลที่ต้งั ข้ึนตามกฎหมายต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทย กิจการร่วมคา้ ตาม ประมวลรัษฎากร เป็นผมู้ ีหนา้ ที่จดั ทาบญั ชี และตอ้ งจดั ใหม้ ีการทาบญั ชีสาหรับ การประกอบธุรกิจของ ตนโดยมีรายละเอียด หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการตามที่บญั ญตั ิไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิน้ี มาตรา 10 ผมู้ ีหนา้ ที่จดั ทาบญั ชีตอ้ งปิ ดบญั ชีคร้ังแรกภายในสิบสองเดือนนบั แต่วนั เร่ิมทาบญั ชี ที่กาหนดตามมาตรา 8 วรรคหกหรือวนั เริ่มทาบญั ชีตามมาตรา 9 แลว้ แต่กรณี และปิ ดบญั ชีทกุ รอบสิบ สองเดือนนบั แต่วนั ปิ ดบญั ชีคร้ังก่อน เวน้ แต่ 1. เม่ือไดร้ ับอนุญาตจากสารวตั รใหญ่บญั ชีหรือสารวตั รบญั ชีใหเ้ ปลี่ยนรอบบญั ชีแลว้ อาจปิ ด บญั ชีก่อนครบรอบสิบสองเดือนได้ 2. ในกรณีมีหนา้ ที่จดั ทาบญั ชีตามมาตรา 8 วรรคสอง ใหป้ ิ ดบญั ชีพร้อมกบั สานกั งานใหญ่
มาตรา 11 ผมู้ ีหนา้ ที่จดั ทาบญั ชีซ่ึงเป็ นห้างหุน้ ส่วนจดทะเบียนที่จดั ต้งั ข้ึนตาม กฎหมายไทย นิติบุคคลที่ต้ังข้ึนตามกฎหมายต่างประเทศ และกิจการร่วมค้าตาม ประมวลรัษฎากร ตอ้ งจดั ทางบการเงิน และยื่นงบการเงินดงั กล่าวต่อสานกั งานกลาง บญั ชี หรือสานกั งานบญั ชีประจาทอ้ งที่ภายในหา้ เดือนนบั แต่วนั ปิ ดบญั ชีตามมาตรา 10 สาหรับกรณีของบริษทั จากดั หรือบริษทั มหาชนจากดั ท่ีจดั ต้งั ตามกฎหมายไทย ใหย้ ื่น ภายในหน่ึงเดือนนบั แต่วนั ที่งบการเงินน้นั ไดร้ ับอนุมตั ิในที่ประชุมใหญ่ ท้งั น้ี เวน้ แต่มี เหตุจาเป็ นทาให้ผมู้ ีหนา้ ที่จดั ทาบญั ชีไม่สามารถจะปฏิบตั ิตามกาหนดเวลาดงั กล่าวได้ อธิบดีอาจพิจารณาสั่งให้ขยายหรือเล่ือนกาหนดเวลาออกไปอีกตาม ความจาเป็ นแก่ กรณีได้
มาตรา 12 ในการจดั ทาบญั ชีผมู้ ีหนา้ ที่จดั ทาบญั ชีตอ้ งส่งมอบเอกสารท่ีตอ้ งใช้ ประกอบการลงบญั ชีใหแ้ ก่ผทู้ าบญั ชีใหถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น เพอื่ ใหบ้ ญั ชีทจี่ ดั ทาข้ึนสามารถ แสดงผลการดาเนินงาน ฐานะการเงิน หรือการเปล่ียนแปลงฐานะการเงินที่เป็นอยตู่ ามความ เป็นจริงและตามมาตรฐานการบญั ชี มาตรา 13 ผมู้ ีหนา้ ท่ีจดั ทาบญั ชีตอ้ งเกบ็ รักษาบญั ชีและเอกสารที่ตอ้ งใชป้ ระกอบ การ ลงบญั ชีไว้ ณ สถานที่ทาการ หรือสถานท่ีที่ใชเ้ ป็นท่ีทาการผลิตหรือเกบ็ สินคา้ เป็นประจาหรือ สถานท่ีที่ใชเ้ ป็นท่ีทางานเป็นประจา เวน้ แต่ผมู้ ีหนา้ ท่ีจดั ทาบญั ชจี ะไดร้ ับอนุญาตจากสารวตั ร ใหญ่บญั ชี หรือสารวตั รบญั ชี ใหเ้ กบ็ รักษาบญั ชีและเอกสารที่ตอ้ งใชป้ ระกอบการลงบญั ชีไว้ ณ สถานที่อ่ืนได้ การขออนุญาตและการอนุญาตตามวรรคหน่ึงใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่ี อธิบดีกาหนด และระหวา่ งรอการอนุญาตใหผ้ มู้ ีหนา้ ท่ีจดั ทาบญั ชีเกบ็ รักษาบญั ชีและเอกสารท่ี ตอ้ งใช้ ประกอบการลงบญั ชีไวใ้ นสถานท่ีท่ียน่ื ขอน้นั ไปพลางก่อนได้
ในกรณีที่จดั ทาบญั ชีดว้ ยเคร่ืองคอมพวิ เตอร์หรือเคร่ืองมืออ่ืนใด ในสถานที่อ่ืนใด ใน ราชอาณาจกั ร ท่ีมิใช่สถานท่ีตามวรรคหน่ึง แต่มีการเช่ือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือ เครื่องมือน้นั มายงั สถานที่ตามวรรคหน่ึง กรณีดงั กลา่ วน้ีใหถ้ ือวา่ ไดม้ ีการเกบ็ รักษาบญั ชีไว้ ณ สถานท่ีตามวรรคหน่ึงแลว้ มาตรา 14 ผมู้ ีหนา้ ท่ีจดั ทาบญั ชีตอ้ งเกบ็ รักษาบญั ชีและเอกสารที่ตอ้ งใชป้ ระกอบการ ลงบญั ชีไวเ้ ป็นเวลาไม่นอ้ ยกวา่ หา้ ปี นบั แตว่ นั ปิ ดบญั ชีหรือจนกวา่ จะมีการส่งมอบบญั ชีและ เอกสารตามมาตรา 17 เพื่อประโยชนใ์ นการตรวจสอบบญั ชีของกิจการประเภทใดประเภทหน่ึง ใหอ้ ธิบดีโดย ความเห็นชอบของรัฐมนตรีมีอานาจกาหนดใหผ้ มู้ ีหนา้ ท่ีจดั ทาบญั ชีเกบ็ รักษาบญั ชีและ เอกสารท่ีตอ้ งใชป้ ระกอบการลงบญั ชีไวเ้ กินหา้ ปี แต่ตอ้ งไม่เกินเจด็ ปี ได้
มาตรา 17 เมื่อผูม้ ีหน้าท่ีจดั ทาบญั ชีเลิกประกอบธุรกิจดว้ ยเหตุใดๆ โดยมิไดม้ ี การชาระบญั ชี ให้ส่งมอบบญั ชีและเอกสารท่ีตอ้ งใชป้ ระกอบการลงบญั ชีแก่สารวตั ร ใหญ่บัญชี หรือสารวตั รบญั ชีภายในเก้าสิบวนั นับแต่วนั เลิกประกอบธุรกิจ และให้ สารวตั รใหญ่บญั ชีหรือสารวตั รบญั ชี เก็บรักษาบญั ชีและเอกสารท่ีตอ้ งใชป้ ระกอบการ ลงบญั ชีดงั กลา่ วไวไ้ ม่นอ้ ยกวา่ หา้ ปี มาตรา 19 ผมู้ ีหนา้ ท่ีจดั ทาบญั ชีตอ้ งจดั ให้มีผทู้ าบญั ชีซ่ึงเป็ นผมู้ ีคุณสมบตั ิตามท่ี อธิบดีกาหนด ตามมาตรา 7(6) เพ่ือจัดทาบัญชีตามพระราชบัญญัติน้ี และมีหน้าที่ ควบคุมดแู ลผทู้ าบญั ชีใหจ้ ดั ทาบญั ชีตรงต่อความเป็นจริงและถกู ตอ้ งตามพระราชบญั ญตั ิ น้ี
มาตรา 17 เม่ือผมู้ ีหนา้ ท่ีจดั ทาบญั ชีเลิกประกอบธุรกิจดว้ ยเหตใุ ดๆ โดยมิไดม้ ีการ ชาระบญั ชี ให้ส่งมอบบญั ชีและเอกสารท่ีตอ้ งใช้ประกอบการลงบญั ชีแก่สารวตั รใหญ่ บญั ชี หรือสารวตั รบญั ชีภายในเกา้ สิบวนั นบั แตว่ นั เลิกประกอบธุรกิจ และใหส้ ารวตั รใหญ่ บญั ชีหรือสารวตั รบญั ชี เกบ็ รักษาบญั ชีและเอกสารที่ตอ้ งใชป้ ระกอบการลงบญั ชีดงั กล่าว ไวไ้ ม่นอ้ ยกวา่ หา้ ปี มาตรา 19 ผูม้ ีหน้าท่ีจดั ทาบญั ชีตอ้ งจดั ให้มีผูท้ าบญั ชีซ่ึงเป็ นผูม้ ีคุณสมบตั ิตามท่ี อธิบดีกาหนด ตามมาตรา 7(6) เพื่อจัดทาบัญชีตามพระราชบัญญัติน้ี และมีหน้าที่ ควบคุมดแู ลผทู้ าบญั ชีใหจ้ ดั ทาบญั ชีตรงต่อความเป็นจริงและถกู ตอ้ งตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
ผมู้ ีหน้าท่ีจดั ทาบญั ชีซ่ึงเป็ นบุคคลธรรมดาจะเป็ นผทู้ าบัญชีสาหรับกิจการของ ตนเองกไ็ ด้ มาตรา 20 ผทู้ าบญั ชีตอ้ งจดั ทาบญั ชีเพื่อให้มีการแสดงผลการดาเนินงาน ฐานะ การเงินหรือการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของผมู้ ีหนา้ ที่จดั ทาบญั ชีท่ีเป็ นอยตู่ ามความ เป็ นจริงและตามมาตรฐานการบญั ชี โดยมีเอกสารท่ีตอ้ งใชป้ ระกอบการลงบญั ชีให้ ถกู ตอ้ งครบถว้ น มาตรา 21 ในการลงรายการในบญั ชี ผทู้ าบญั ชีตอ้ งปฏิบตั ิดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ลงรายการเป็ นภาษาไทย หากลงรายการเป็ นภาษาต่างประเทศให้มีภาษาไทย กากบั หรือลงรายการเป็นรหสั บญั ชีใหม้ ีคู่มือคาแปลรหสั ท่ีเป็นภาษาไทยไว้ 2. เขียนดว้ ยหมึก ดีดพิมพ์ ตีพิมพ์ หรือทาดว้ ยวธิ ีอ่ืนใดท่ีไดผ้ ลในทานองเดียวกนั
พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เหตุผลในการประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิฉบบั น้ี คือ เนื่องจากใน ปัจจุบนั น้ีการประกอบ วิชาชีพบญั ชีไดข้ ยายครอบคลุมออกไปหลายดา้ นไม่ วา่ การทาบญั ชี การสอบบญั ชี การบญั ชีบริหาร การวางระบบบญั ชี การบญั ชี ภาษีอากร การศึกษาและเทคโนโลยกี ารบญั ชี หรือบริการดา้ นอื่น ซ่ึงมีความ เก่ียวขอ้ งสัมพนั ธ์กบั กิจกรรมในทางธุรกิจต่างๆ อย่างกวา้ งขวาง สมควร ส่งเสริมให้ ผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีอยู่ภายใต้การดูแลของสภาวิชาชีพ เดียวกนั เพื่อเป็ นศูนยร์ วมและส่งเสริมความเป็ นปึ กแผ่น รวมท้งั ให้ความรู้ และพฒั นาส่งเสริมมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ เพ่ือให้ ผปู้ ระกอบวิชาชีพ มีคุณภาพและมาตรฐาน และมีความกา้ วหน้าในวิชาชีพ ตลอดจนเพื่อให้มี การควบคุมจรรยาบรรณการประกอบวิชาชีพ จึงจาเป็ นต้องตรา พระราชบญั ญตั ิน้ี ในที่น้ีจะกลา่ วถึงเฉพาะบางมาตราเท่าน้นั
สภาวชิ าชีพบญั ชี มาตรา 6 ให้มีสภาวิชาชีพบัญชี มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล โดยมี วตั ถุประสงคเ์ พ่อื ส่งเสริมและพฒั นาวชิ าชีพบญั ชี มาตรา 7 สภาวชิ าชีพบญั ชีมีอานาจหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) ส่งเสริมการศึกษา การอบรม และการวจิ ยั เกี่ยวกบั วชิ าชีพบญั ชี (2) ส่งเสริมความสามคั คีและผดุงเกียรติของสมาชิก จดั สวสั ดิการและ การสงเคราะห์ระหวา่ งสมาชิก (3) กาหนดมาตรฐานการบญั ชี มาตรฐานการสอบบญั ชี และมาตรฐาน อ่ืนท่ีเกี่ยวกบั วชิ าชีพบญั ชี (4) กาหนดจรรยาบรรณผปู้ ระกอบวชิ าชีพบญั ชี (5) รับข้ึนทะเบียนการประกอบวิชาชีพบญั ชี ออกใบอนุญาต พกั ใช้ หรือเพกิ ถอน ใบอนุญาตผปู้ ระกอบวิชาชีพบญั ชี
(6) รับรองปริญญาหรือประกาศนียบตั รในวิชาการบญั ชีของสถาบนั การศึกษาต่างๆ เพื่อประโยชนใ์ นการรับสมคั รเป็นสมาชิก (7) รับรองความรู้ความชานาญในการประกอบวชิ าชีพบญั ชี (8) รับรองหลกั สูตรการฝึ กอบรมเป็นผชู้ านาญการและการศึกษาตอ่ เนื่องในดา้ นต่างๆ ของผปู้ ระกอบวชิ าชีพบญั ชี (9) ควบคุมความประพฤติและการดาเนินงานของสมาชิกและผขู้ ้ึนทะเบียนอนั เก่ียวกบั การประกอบวชิ าชีพบญั ชีใหถ้ กู ตอ้ งตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพบญั ชี (10) ช่วยเหลือ แนะนา เผยแพร่ และใหบ้ ริการวชิ าการแก่ประชาชนเกี่ยวกบั วิชาชีพ บญั ชี (11) ออกขอ้ บงั คบั สภาวชิ าชีพบญั ชี (12) เป็นตวั แทนของผปู้ ระกอบวชิ าชีพบญั ชี (13) ใหค้ าปรึกษาและเสนอแนะตอ่ รัฐบาลเกี่ยวกบั นโยบายและปัญหาของวชิ าชีพบญั ชี (14) ดาเนินการอ่ืนเพอื่ ใหเ้ ป็นไปตามวตั ถุประสงคแ์ ละอานาจหนา้ ท่ีของสภาวชิ าชีพ
มาตรา 9 ภายใตบ้ งั คบั บทบญั ญตั ิหมวด 5 การควบคุมการประกอบวิชาชีพ บญั ชี ดา้ นการสอบบญั ชีและหมวด 6 การควบคุมการประกอบวชิ าชีพดา้ นการทาบญั ชี ในกรณีท่ีการประกอบ วิชาชีพบัญชีด้านใดมีผลกระทบต่อประโยชน์ได้เสียของ ประชาชน หรือเพ่ือประโยชน์ท่ีจะให้มีการคุม้ ครองประชาชนและพฒั นาหรื อจัด ระเบียบการประกอบวิชาชีพบัญชีดา้ นใด จะตรา พระราชกฤษฎีกากาหนดให้การ ประกอบวิชาชีพบญั ชีดา้ นน้ันตอ้ งไดร้ ับใบอนุญาตหรือตอ้ งข้ึนทะเบียนไวก้ บั สภา วชิ าชีพบญั ชีกไ็ ด้
มาตรา 10 เม่ือมีพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 9 ใช้บังคับสาหรับ วิชาชีพด้านใด ห้ามมิให้ผูใ้ ดประกอบวิชาชีพบัญชีด้านน้ันเวน้ แต่ได้รับ ใบอนุ ญาตหรื อข้ึนทะเบียนกับสภาวิชาชี พบัญชี การขอรับใบอนุ ญาตการ อนุญาตการออกใบอนุญาตและการข้ึนทะเบียนผปู้ ระกอบวิชาชีพตามวรรค หน่ึงใหเ้ ป็ นไปตามแบบหลกั เกณฑว์ ิธีการและเงื่อนไขท่ีกาหนดในขอ้ บงั คบั สภาวิชาชีพบญั ชีในการข้ึนทะเบียนประกอบวิชาชีพบญั ชี สภาวิชาชีพบญั ชี จะกาหนดใหผ้ ขู้ ้ึนทะเบียนซ่ึงมิไดเ้ ป็ น สมาชิกตอ้ งเสียค่าธรรมเนียมเป็ นราย ปี ก็ได้ แต่จะกาหนดค่าธรรมเนียมดงั กล่าวให้สูงกว่า ค่าบารุงสมาชิก และ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตที่เรียกเก็บจากสมาชิกสภาวิชาชีพบญั ชีเป็ นรายปี ไม่ได้
การควบคุมการประกอบวชิ าชีพด้านการสอบบัญชี มาตรา 38 ผูใ้ ดจะเป็ นผูส้ อบบญั ชีรับอนุญาตตอ้ งไดร้ ับใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพ บญั ชี การขอรับใบอนุญาต การอนุญาต และการออกใบอนุญาตเป็ นผสู้ อบบญั ชีรับอนุญาต ใหเ้ ป็นไปตามแบบและหลกั เกณฑท์ ี่กาหนดในขอ้ บงั คบั สภาวชิ าชีพบญั ชี การควบคุมการประกอบวชิ าชีพด้านการทาบญั ชี มาตรา 44 หา้ มมิใหผ้ ใู้ ดประกอบวชิ าชีพเป็นผทู้ าบญั ชี เวน้ แต่เป็นสมาชิกสภาวชิ าชีพ บญั ชี หรือข้ึนทะเบียนไวก้ บั สภาวิชาชีพบญั ชี หลกั เกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการข้ึน ทะเบียนตามวรรคหน่ึง ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ บงั คบั สภาวชิ าชีพบญั ชี บทกาหนดโทษ มาตรา 65 ผใู้ ดฝ่ าฝื นมาตรา 10 ตอ้ งระวงั โทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหก หม่ืนบาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ
กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงนิ สภาวชิ าชีพบญั ชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ไดป้ รับปรุงแม่บทการบญั ชี (ปรับปรุง 2552) เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มธุรกิจในประเทศไทยและเพ่ือใหเ้ ป็ นไปตาม เกณฑท์ ี่กาหนดข้ึนโดยมาตรฐานการบญั ชีระหวา่ งประเทศ เร่ือง กรอบแนวคิดสาหรับ การรายงานทางการเงิน ถึงแมว้ า่ กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน จะกล่าวถึงแนวคิดหลกั เกี่ยวกับ การจัดทาและการนาเสนองบการเงินแก่ผูใ้ ช้งบการเงิน แต่ไม่ถือเป็ น มาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน เน่ืองจากไม่ไดก้ าหนดรายละเอียดเกี่ยวกบั การวดั มูลค่าหรือการเปิ ดเผยขอ้ มลู สาหรับ การจดั ทางบการเงินโดยเฉพาะ
วตั ถุประสงค์และสถานะ กรอบแนวคิดฉบบั น้ีกาหนดแนวคิดที่ใชเ้ ป็ นเกณฑใ์ นการจดั ทาและการนาเสนองบ การเงินสาหรับผใู้ ชภ้ ายนอก วตั ถุประสงคข์ องกรอบแนวคิด คือ 1. เพื่อช่วยคณะกรรมการฯ พฒั นามาตรฐานการรายงานทางการเงินในอนาคตและ ทบทวนมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีมีอยู่ 2. เพื่อช่วยคณะกรรมการฯ ส่งเสริมการทาให้กฎระเบียบ มาตรฐานการบญั ชีและ กระบวนการเก่ียวกบั การนาเสนองบการเงินสอดคลอ้ งกนั โดยใหเ้ กณฑเ์ พื่อลดวธิ ีปฏิบตั ิทาง บญั ชี ที่เป็นทางเลือกตามท่ีมาตรฐานการรายงานทางการเงินอนุญาต 3. เพื่อช่วยหน่วยงานกาหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศพฒั นา มาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศ 4. เพื่อช่วยผจู้ ดั ทางบการเงินปฏิบตั ิตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและจดั การ กบั ประเดน็ ท่ียงั ไม่ไดม้ ีการนามาพจิ ารณากาหนดเป็นมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
วตั ถุประสงค์และสถานะ 5. เพอ่ื ช่วยผสู้ อบบญั ชีในการแสดงความเห็นวา่ งบการเงินเป็นไปตามมาตรฐาน การ รายงานทางการเงินหรือไม่ 6. เพื่อช่วยผใู้ ชง้ บการเงินตีความขอ้ มูลท่ีแสดงในงบการเงินซ่ึงไดจ้ ดั ทาข้ึนตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และ 7. เพ่ือใหข้ อ้ มูลแก่ผสู้ นใจงานของคณะกรรมการฯ เก่ียวกบั แนวทางการกาหนด มาตรฐานการรายงานทางการเงิน กรอบแนวคิดน้ีไม่ใช่มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดงั น้นั จึงไม่ไดก้ าหนดมาตรฐานต่างๆ สาหรับประเดน็ การวดั มลู ค่าหรือการเปิ ดเผยขอ้ มูลใน เร่ืองใดเรื่องหน่ึง กรอบแนวคิดน้ีไม่มีเรื่องใดที่อยเู่ หนือกวา่ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
วตั ถุประสงค์ของการรายงานทางการเงนิ เพอ่ื วัตถุประสงค์ทวั่ ไป วตั ถุประสงคข์ องการรายงานทางการเงินเพ่ือวตั ถุประสงคท์ ว่ั ไป คือ การใหข้ อ้ มูลทางการเงินเกี่ยวกบั กิจการท่ีเสนอรายงานท่ีมีประโยชน์ ต่อผูล้ งทุน ผูใ้ ห้กู้ยืม หรือเจ้าหน้ีอ่ืนท้ังในปัจจุบันและในอนาคตเพื่อ ตดั สินใจเก่ียวกบั การใหท้ รัพยากรแก่กิจการ การตดั สินใจเหล่าน้ีเกี่ยวกบั การซ้ือขาย หรือถือตราสารทุนและตราสารหน้ี และการใหห้ รือชาระเงินกู้ และสินเช่ือในรูปแบบอื่น ผใู้ ชก้ ลุ่มอ่ืน เช่น หน่วยงานกากบั ดูแลและสาธารณชนนอกจากผู้ ลงทุน ผู้ให้กู้และเจ้าหน้ี อื่น อาจพบว่ารายงานทางการเงินเพ่ือ วตั ถุประสงค์ทั่วไปมีประโยชน์ อย่างไรก็ดี รายงานเหล่าน้ันไม่ได้ มี วตั ถุประสงคห์ ลกั เพอื่ ประโยชน์ของผใู้ ชก้ ลุม่ อ่ืนดงั กล่าว
ลกั ษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางการเงนิ ทมี่ ีประโยชน์ หากต้องการให้ข้อมูลทางการเงินมีประโยชน์ ข้อมูลน้ันตอ้ ง เกี่ยวขอ้ งกบั การตดั สินใจและเป็ นตวั แทนอนั เท่ียงธรรมของส่ิงท่ีตอ้ งการ นาเสนอ ประโยชน์ของข้อมูลทางการเงินจะเพ่ิมข้ึน ถ้าข้อมูลน้ัน เปรียบเทียบได้ พสิ ูจนย์ นื ยนั ได้ ทนั เวลาและเขา้ ใจได้ 1. ลกั ษณะเชิงคุณภาพพ้ืนฐาน คือ ความเก่ียวขอ้ งกบั การตดั สินใจ และความเป็นตวั แทนอนั เท่ียงธรรม 2. ลักษณะเชิงคุณภาพเสริ ม คือ ความสามารถเปรียบเทียบได้ ความสามารถพิสูจนย์ นื ยนั ได้ ความทนั เวลา และความสามารถเขา้ ใจได้
กรอบแนวคิด ข้อความส่วนที่เหลือจากแม่บทการบัญชี (ปรับปรุง 2 552) ข้อสมมติ การดาเนินงานต่อเน่ือง โดยทวั่ ไป งบการเงินจดั ทาข้ึนตามขอ้ สมมติท่ีว่ากิจการจะ ดาเนินงานอยา่ งต่อเน่ือง (Going Concern) และดารงอยตู่ ่อไปใน อนาคตท่ีคาดการณ์ได้ ดงั น้ัน จึงสมมติว่ากิจการไม่มีเจตนาหรือมี ความจาเป็ นท่ีจะเลิกกิจการ หรือลดขนาดของการดาเนินงานอยา่ งมี สาระสาคญั หากกิจการมีเจตนาหรือความจาเป็นดงั กล่าว งบการเงิน อาจต้องจัดทาโดยใช้เกณฑ์อื่น และตอ้ งเปิ ดเผยเกณฑ์น้ันในงบ การเงิน
องค์ประกอบของงบการเงนิ งบการเงินแสดงถึงผลกระทบทางการเงินของรายการและเหตุการณ์อื่นโดย การจดั ประเภทรายการและเหตุการณ์อื่นตามลกั ษณะเชิงเศรษฐกิจ ประเภทของ รายการดังกล่าวเรียกว่าองค์ประกอบของงบการเงิน องค์ประกอบซ่ึงเกี่ยวขอ้ ง โดยตรงกบั การวดั ฐานะการเงินในงบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) ไดแ้ ก่ สินทรัพย์ หน้ีสิน และส่วนของเจา้ ของ องคป์ ระกอบซ่ึงเกี่ยวขอ้ งโดยตรงกบั การวดั ผลการ ดาเนินงานในงบกาไรขาดทุน ไดแ้ ก่ รายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่าย โดยทวั่ ไป งบแสดงการ เปล่ียนแปลงฐานะการเงินสะท้อนถึงองค์ประกอบในงบกาไรขาดทุนและการ เปล่ียนแปลง องคป์ ระกอบในงบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) ดงั น้นั กรอบแนวคิดน้ี จึงมิไดร้ ะบุองคป์ ระกอบ ของงบแสดงการเปล่ียนแปลงฐานะการเงินไวเ้ ป็ นการ เฉพาะ
รูปแบบของธุรกจิ ในการดาเนินธุรกิจน้นั เจา้ ของกิจการหรือผลู้ งทุนจะจดั ต้งั ธุรกิจในรูปแบบใดข้ึนอยกู่ บั สิ่งตอ่ ไปน้ี 1. เงินทุน 2. ลกั ษณะของการดาเนินธุรกิจ 3. จานวนผลู้ งทุน 4. นโยบายของเจา้ ของกิจการหรือผลู้ งทุน
รูปแบบของธุรกิจแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole proprietorship) เป็ นกิจการที่มีบุคคลคนเดียว เป็ นเจา้ ของ เงินทุนจะมาจากบุคคลคนเดียว ผลกาไรขาดทุนที่เกิดข้ึนจะเป็ นของเจา้ ของ กิจการ แตเ่ พยี งผเู้ ดียว รวมท้งั หน้ีสินและภาระผกู พนั ใดๆ ผเู้ ป็นเจา้ ของจะตอ้ งรับผดิ ชอบ แต่เพียงผเู้ ดียว 2. ห้างหุ้นส่วน (Partnerships) เป็นกิจการที่มีบุคคลต้งั แต่ 2 คนข้ึนไปมาลงทุน ร่วมกนั โดยมีวตั ถุประสงค์ในการแบ่งกาไรขาดทุนกนั ส่วนความรับผิดชอบในหน้ีสิน และภาระผกู พนั ใดๆ ข้ึนอยกู่ บั ประเภทของผเู้ ป็ นหุ้นส่วนและประเภทของห้างหุ้นส่วน ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. หา้ งหุน้ ส่วนจากดั (Limited Partnerships) 2. หา้ งหุน้ ส่วนสามญั (Ordinary Partnerships)
3. บริษัทจากดั (Company Limited or Corporation) คือ บริษทั ประเภทซ่ึงต้งั ข้ึน ดว้ ยการ แบ่งทุนออกเป็ นหุ้น แต่ละหุ้นมีมูลค่าเท่ากนั โดยผูถ้ ือหุ้นต่างรับผิดจากดั ไม่เกิน จานวนเงิน ท่ีตนยงั ส่งใชไ้ ม่ครบ บริษทั จากดั แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. บริษทั เอกชนจากดั (Private Company Limited) 2. บริษทั มหาชนจากดั (Public Company Limited) ลกั ษณะของการดาเนินธุรกิจ ไม่วา่ จะจดั ต้งั ในรูปแบบใดแบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1. ธุรกิจใหบ้ ริการ (Service Business) 2. ธุรกิจเก่ียวกับสินคา้ เป็ นธุรกิจท่ีดาเนินกิจการจาหน่ายสินค้าแบ่งออกเป็ น 2 ลกั ษณะ คือ - ธุรกิจซ้ือขายสินคา้ หรือซ้ือมาขายไป (Merchandising Business) - ธุรกิจอุตสาหกรรม/กิจการผลิต (Manufacturing Business)
กจิ กรรมพนื้ ฐานทางธุรกจิ ในการดาเนินธุรกิจไม่วา่ จะเป็นธุรกิจใดหรือจดั ต้งั ในรูปแบบใด จะมีกิจกรรมพ้ืนฐาน เกิดข้ึน 3 กิจกรรม คือ 1. กิจกรรมในการจัดหาเงิน (Financing Activities) หมายถึง กิจกรรมในการจดั หา เงินทุนเพอื่ เร่ิมตน้ ดาเนินธุรกิจและรวมถึงการจดั หาเงินทุนเพ่ือขยายกิจการในอนาคต 2. กิจกรรมในการลงทุน (Investing Activities) หมายถึง กิจกรรมเพื่อให้ไดม้ าซ่ึง สินทรัพย์ เพื่อนามาใชใ้ นการดาเนินงาน 3. กจิ กรรมในการดาเนินงาน (Operating Activities) หมายถึง กิจกรรมที่ก่อใหเ้ กิด รายได้และค่าใช้จ่าย ถา้ กิจกรรมที่ก่อให้เกิดรายได้มากกว่าค่าใช้จ่ายธุรกิจจะมีกาไร ถ้า กิจกรรม ที่ก่อใหเ้ กิดรายไดน้ อ้ ยกวา่ ค่าใชจ้ ่ายธุรกิจจะขาดทุน
การเขียนตวั เลขตามหลกั บญั ชี 1. เขียนดว้ ยลายมือบรรจงและเขียนใหช้ ดั เจนโดยใหม้ ีขนาดพอเหมาะไม่เลก็ หรือใหญ่เกินไป 2. ใส่เคร่ืองหมายจุลภาค ( , ) คนั่ ตวั เลข ถา้ จานวนเงินเป็นตวั เลข 3 หลกั ข้ึนไป เช่น 11,525 1,5 00,500 เป็นตน้ 3. เขียนใหช้ ิดเส้นทางดา้ นขวา ถา้ เขียนลงในช่องจานวนเงิน แต่ถา้ ไม่ไดเ้ ขียนลงในช่องจานวน เงิน ใหใ้ ส่จุด ( . ) และเคร่ืองหมายขีด ( - ) แสดงวา่ สิ้นสุดแลว้ เช่น 3,000.- 4. เขียนจานวนเงินเป็นตวั อกั ษรกากบั ทุกคร้ังเพอ่ื ป้ องกนั ความผดิ พลาดและการทุจริต 5. เขียนจานวนเงินใหต้ รงหลกั กรณีท่ีมีหลายบรรทดั 6. การเขียน วนั เดือน ปี ให้ใช้หลกั เกณฑ์ดงั น้ี ถา้ ขอ้ มูลอย่ใู นหน้าเดียวกนั ให้เขียนปี พ.ศ. เพยี งคร้ังเดียว การเขียนเดือน ใหใ้ ชอ้ กั ษรยอ่ 7. การแกไ้ ขตวั เลขท่ีเป็นจานวนเงิน หา้ มใชย้ างลบ นา้ ยาลบคาผดิ หรือเทปลบคาผิด แต่ใหข้ ีด ฆ่าดว้ ยปากกา โดยเขียนเพยี งเสน้ เดียวเพอ่ื ใหเ้ ห็นจานวนเงินเดิมที่ผดิ และเขียนจานวนท่ีถกู ตอ้ งขา้ งบน พร้อมลงลายมือชื่อกากบั
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: