87 5) เขตทาการเกษตรบนพื้นที่ดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่า มีเนื้อที่ 50,422 ไร่ หรือร้อยละ 47.03 ของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาท่ีดินลุ่มน้า เขตพื้นที่นี้เพาะปลูกโดยอาศัยน้าฝน ดินเป็นดินเค็ม ความอุดม สมบูรณ์ต่า สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ พบบริเวณตอนกลางของพ้ืนท่เี ขตพัฒนาทด่ี ินลมุ่ น้า จากต้นน้าจนถึงปลายน้า โดยสว่ นใหญแ่ ล้วเป็นพืน้ ทที่ านา 5.1) เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่าทานา (2312A) มีเนื้อท่ี 49,692 ไร่ หรือร้อยละ 46.35 ของพ้นื ทเี่ ขตพัฒนาทีด่ ินลุ่มน้า พบบริเวณตอนกลางของพน้ื ที่เขตพฒั นาทด่ี นิ ลุ่มนา้ จากตน้ น้าจนถึง ปลายนา้ ดินมคี วามอดุ มสมบรู ณต์ ่า พบคราบเกลือบนผวิ ดิน ข้อเสนอแนะ ในพื้นที่ดินเค็มน้อยและเค็มปานกลาง จัดระบบอนุรักษ์ดินและน้าโดยการ ปรับรูปแปลงนาแบบท่ี 1 หรือ 2 ทาทางระบายน้าเพื่อล้างเกลือออกจากแปลงและปรับระดับดินให้ เสมอกนั เม่ือฝนตก ขังน้าในนาข้าวให้น้าชะลา้ งเกลือท่ีผิวดินซึมลงไปยงั ดินช้ันลา่ ง แล้วระบายน้าเค็มออก จากนา ปลูกโสนอัฟริกันเป็นพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบารุงดิน ใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก แกลบดิบ ฟางข้าว ปรับปรุง ดินให้โปร่งร่วนซุย ใช้พันธุ์ข้าวทนเค็ม เช่น ขาวดอกมะลิ 105 กข.6 กข.15 เหนียวสันป่าตอง ขาวตาแห้ง ทานาดาโดยใชต้ ้นกล้าอายุ 30-35 วัน ในการปักดา เพ่ือให้อัตราการรอดตายสูงข้ึน ใช้กล้า 6-8 ต้นต่อจับ ระยะปลูก 20 X 20 เซนติเมตร เพื่อเพิ่มจานวนต้นท่ีรอดตาย ใส่ปุ๋ยเคมี 16-16-8 อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร่ โดยแบ่งใส่ 3 ครั้ง ครั้งแรกหลังปักดา 7-10 วัน ครั้งที่ 2 ใส่ระยะท่ีข้าวแตกกอสูงสุด คร้ังที่ 3 ใส่ระยะข้าว กาลังต้ังท้อง ไม่ควรใส่ปุ๋ยเคมีรองพื้น ฉีดพ่นปุ๋ยน้า พด.2 อัตรา 20 ลิตร/ไร่ แบ่งใส่ 4 ครั้ง คือช่วงเตรียม ดิน หลังปักดา 30 50 และ 60 วัน หลังเก็บเกี่ยวแล้ว ควรท้ิงฟางไว้ในนาข้าวเพื่อให้ฟางคลุมดินไม่ให้น้า ระเหยพาเกลือข้ึนมาอีก ไม่ควรปล่อยให้หน้าดินว่าง หลังเกี่ยวข้าวและมีน้าเพียงพอสามารถปลูกพืชทน เค็มอนื่ ๆ ได้ ถา้ สามารถใหน้ า้ พืชโดยใช้ระบบนา้ หยดได้ 5.2) เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่าปลูกพืชไร่ (2322A) มีเนื้อท่ี 258 ไร่ หรือร้อยละ 0.24 ของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาท่ีดินลุ่มน้า พบบริเวณด้านตะวันตกของพ้ืนท่ี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า บาง แห่งพบคราบเกลือบนผวิ ดนิ ข้อเสนอแนะ ใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยพืชสด (โสนอัฟริกัน) ในการปรับปรุงบารุงดิน เลือกชนิดและพันธ์ุของพืชท่ีสามารถทนเค็มได้ หรือปรับเปล่ียนมาปลูกหญ้ารูซ่ี และหญ้ากินนีทนเค็มเพ่ือ เลี้ยงสัตว์หรือตัดจาหน่าย ให้น้าด้วยระบบน้าหยด เจาะบ่อบาดาลสูบน้าจืดขึ้นมาใช้เพ่ือช่วยป้องกัน และ ควบคุมการแพรก่ ระจายของดินเค็มเมอ่ื เกบ็ ผลผลติ เศษซากพืชใหท้ ิง้ คลมุ ดนิ ไว้ในพน้ื ที่ 5.3) เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่าปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้น (2332A) มีเน้ือท่ี 472 ไร่ หรือ ร้อยละ 0.44 ของพื้นท่ีเขตพัฒนาท่ีดินลุ่มนา้ พบกระจายทั่วไปบริเวณตอนกลางของพื้นท่ี ดินมีความอุดม สมบรู ณต์ า่ พบคราบเกลือบนผวิ ดนิ ข้อเสนอแนะ ใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยพืชสด (โสนอัฟริกัน) ในการปรับปรุงบารุงดิน เลือกชนิดและพันธ์ุของพืชที่สามารถทนเค็มได้ ปลูกไม้โตเร็วบางชนิดเพื่อดูดใช้น้าบนพ้ืนท่ีรับน้า เช่น ยูคาลิปตัส หรือเลือกปลูกมะขามเทศ (พืชเศรษฐกิจตัวใหม่ของอาเภอโนนไทย) ให้น้าด้วยระบบน้าหยด
88 เจาะบ่อบาดาลสูบน้าจืดข้ึนมาใช้เพื่อช่วยป้องกัน และควบคุมการแพร่กระจายของดินเค็ม ใช้เศษซากพืช หรอื วัสดอุ นื่ คลมุ ดินเพ่ือป้องกันการระเหยของนา้ ในดิน ซึง่ จะช่วยลดการพาเกลือข้ึนมาสู่ผิวหนา้ ดิน 6) เขตทาการเกษตรบนพ้ืนท่ีท่ีมีการสูญเสียหน้าดิน 2-5 ตัน/ไร่/ปี มีเน้ือที่ 25,089 ไร่ หรือ ร้อยละ 23.41 ของพื้นที่เขตพัฒนาท่ีดินลุ่มน้า เขตพื้นที่น้ีเพาะปลูกโดยอาศัยน้าฝน มีการสูญเสียหน้าดิน 2-5 ตัน/ไร่/ปี โดยส่วนใหญ่แล้วเป็นพ้ืนที่ปลกู พืชไร่ สภาพพ้ืนที่ราบเรียบถึงลูกคลน่ื ลอนลาดเล็กน้อย พบ บริเวณชายขอบของเขตพฒั นาทีด่ ินลมุ่ นา้ แบ่งเขตตามสภาพปัญหาดินได้ดังนี้ 6.1) เขตดินลึกปานกลางปลูกพืชไร่มีการสูญเสียหน้าดิน 2-5 ตัน/ไร่/ปี (2221B) มีเน้ือท่ี 15,928 ไร่ หรือร้อยละ 14.86 ของพื้นที่เขตพัฒนาท่ีดินลุ่มน้า พ้ืนที่ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคล่ืนลอนลาด เล็กน้อย มีการชะล้างพังทลายของดิน สูญเสียหน้าดินอย่างน้อย 2-5 ตัน/ไร่/ปี ความอุดมสมบูรณ์ ปานกลาง เพาะปลกู โดยอาศยั น้าฝน การใช้ประโยชนใ์ นปจั จบุ นั สว่ นใหญ่ปลกู พืชไร่ ข้อเสนอแนะ สนับสนุนการทาการเกษตรแบบผสมผสาน เพื่อลดความเสี่ยงของเกษตรกร หรือส่งเสรมิ ให้ปลกู พืชใช้น้าน้อย/พืชทนแลง้ เรง่ พัฒนาแหล่งน้าขนาดเล็ก ใหก้ ระจายไปตามพ้ืนที่ในเขตนี้ และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้าให้คุ้มค่า พัฒนาการผลิต ใช้พันธ์ุพืชดีมีคุณภาพที่เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี ปรับปรุงบารุงดินด้วยปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราท่ีเหมาะสม สนับสนุนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และ ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาท่ีดินทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมี ทาคันดินเบนน้า รอ่ งระบายน้า ร่วมกับการปลูกหญา้ แฝกเพื่อดักตะกอนและชะลอการไหลของน้า 6.2) เขตดินแน่นทบึ ปลกู พืชไรม่ ีการสูญเสียหน้าดิน 2-5 ตัน/ไร/่ ปี (2222B) มเี น้อื ที่ 3,992 ไร่ หรือร้อยละ 3.72 ของพ้ืนที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้า พ้ืนท่ีค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคล่ืนลอนลาดเล็กน้อย มีการชะล้างพังทลายของดิน สูญเสียหน้าดินอย่างน้อย 2-5 ตัน/ไร่/ปี ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง เพาะปลกู โดยอาศัยน้าฝน การใชป้ ระโยชนใ์ นปจั จบุ นั สว่ นใหญ่ปลูกพชื ไร่ ขอ้ เสนอแนะ ใช้อินทรยี วัตถุ พวกปุ๋ยหมัก ปยุ๋ คอก หรอื ปยุ๋ พชื สด ปรับปรุงบารงุ ดนิ เพื่อให้ ดินร่วนซุยขึ้น มีช่องว่างให้น้าและอากาศไปเป็นประโยชน์กับพืชได้มากขึ้น เร่งพัฒนาแหล่งน้าขนาดเล็ก ให้กระจายไปตามพ้ืนที่ในเขตน้ีและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้าให้คุ้มค่า พัฒนาการผลิต เลือกชนิดพืช ที่ปลูก และพันธุ์ที่ชอบดินท่ีมีเน้ือดินเหนียว แน่นทึบ ทนกับการขังน้าในช่วงระยะเวลาหนึ่ง และตรงกับ ความต้องการของตลาด ปรับปรุงบารุงดินด้วยปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราที่เหมาะสม สนับสนุน การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด และผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาท่ีดินทดแทนการใช้ ปุ๋ยเคมี และสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช ทาคันดินเบนน้า ร่องระบายน้า ร่วมกับการปลูกหญ้าแฝกเพ่ือ ดกั ตะกอนและชะลอการไหลของนา้ ทาบอ่ ดกั ตะกอน 6.3) เขตดินทรายความอุดมสมบูรณ์ต่าปลูกพืชไร่มีการสูญเสียหน้าดิน 2-5 ตัน/ไร่/ปี (2321B) มเี นอ้ื ท่ี 4,627 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 4.32 ของพนื้ ที่เขตพฒั นาทีด่ นิ ล่มุ นา้ พ้นื ทค่ี อ่ นขา้ งราบเรยี บถึงลูก คลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการชะล้างพังทลายของดิน สูญเสียหน้าดินอย่างน้อย 2-5 ตัน/ไร่/ปี ความอุดมสมบูรณ์ต่า เพาะปลูกโดยอาศัยน้าฝน การใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ปลูกพืชไร่ เช่น ขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว์ และมนั สาปะหลัง
89 ข้อเสนอแนะ ใช้อินทรียวัตถุพวกปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสดหรือปรับปรุงบารุงดินด้วย ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราที่เหมาะสม เร่งพัฒนาแหล่งน้าขนาดเล็ก ให้กระจายไปตามพ้ืนที่ และ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้าให้คุ้มค่า พัฒนาการผลิต ใช้พันธุ์พืชที่ดีมีคุณภาพที่เหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี และตรงกับความต้องการของตลาด สนับสนุนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด และผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาท่ดี นิ ปรับปรุงบารุงดิน ทาคนั ดินเบนนา้ รอ่ งระบายน้าหรือทางระบายน้า พร้อมปลูกหญ้าแฝกเพ่ือชะลอการไหลของน้า และลดการสูญเสียหน้าดิน ทาบ่อดักตะกอน หรือปรับรูป แปลงนาเพื่อทาการเกษตรแบบผสมผสาน หรอื อาจปรับเปล่ียนไปเป็นพชื ไรช่ นิดอื่น เช่น แตงโม เน่อื งจาก เป็นพชื ทีใ่ ห้ผลตอบแทนทีด่ กี ว่า และเป็นทตี่ ้องการของตลาด 6.4) เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่าปลูกพืชไร่มีการสูญเสียหน้าดิน 2-5 ตัน/ไร่/ปี (2322B) มีเน้ือที่ 542 ไร่ หรือร้อยละ 0.51 ของพื้นท่ีเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้า พื้นท่ีค่อนข้างราบเรียบถึง ลกู คล่ืนลอนลาดเลก็ น้อย มีการชะล้างพงั ทลายของดิน สูญเสยี หน้าดินอยา่ งน้อย 2-5 ตัน/ไร่/ปี ความอุดม สมบูรณ์ปานกลาง เพาะปลูกโดยอาศัยน้าฝน การใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ปลูกพืชไร่ เช่น มันสาปะหลงั และขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ ข้อเสนอแนะ สนับสนุนการทาการเกษตรแบบผสมผสาน เพ่ือลดความเสี่ยงของเกษตรกร หรือส่งเสริมให้ปลูกพืชใช้น้าน้อย/พืชทนแล้ง เลือกชนิดและพันธ์ุของพืชท่ีดีมีคุณภาพสามารถทนเค็มได้ หรือปรับเปล่ียนมาปลูกหญ้ารูซี่ และหญ้ากินนีทนเค็มเพื่อเล้ียงสัตว์หรือตัดจาหน่าย ใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยพชื สด (โสนอฟั รกิ นั ) และผลิตภัณฑเ์ ทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาทดี่ นิ ในการปรับปรุงบารุงดิน ใช้เศษซากพืชหรือวัสดุอ่ืนคลุมดินเพ่ือป้องกันการระเหยของน้าในดิน ซ่ึงจะช่วยลดการพาเกลือขึ้นมาสู่ ผิวหน้าดิน ให้น้าด้วยระบบน้าหยด เจาะบ่อบาดาลสูบน้าจืดขึ้นมาใช้เพื่อช่วยป้องกัน และควบคุม การแพร่กระจายของดินเค็ม ในพ้ืนที่ลาดชันทาคันดินเบนน้า ร่องระบายน้า ร่วมกับการปลูกหญ้าแฝก เพอ่ื ดกั ตะกอนและชะลอการไหลของนา้ มีเนือ้ ท่ี 2,824 ไร่ หรือรอ้ ยละ 2.63 ของพื้นท่เี ขตพฒั นาทดี่ ินล่มุ น้า เปน็ เขตทใี่ ชป้ ระโยชนใ์ น การเลย้ี งสตั ว์ มีทงั้ การใช้ท่ดี นิ เป็นโรงเรือนเลีย้ งสัตว์ และทงุ่ หญ้าเลย้ี งสัตว์ ข้อเสนอแนะ ควบคุมกลิ่นมูลสัตว์ไม่ให้ไปรบกวนพื้นท่ีอยู่อาศัย อาจจะใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ของกรมฯ เข้ามาร่วมดว้ ย ควบคุมดแู ลไม่ให้สตั วเ์ ลยี้ งไปทาลายพืชผลของเกษตรกร มีเน้ือที่ 338 ไร่ หรือร้อยละ 0.32 ของพื้นท่ีเขตพัฒนาท่ีดินลุ่มน้า ส่วนใหญ่เป็นสถานที่ เพาะเลี้ยงสัตวน์ า้ ขนาดเลก็ ใกลแ้ หล่งน้าธรรมชาติ ข้อเสนอแนะ ควบคุมมลพิษทางน้า โดยมีนโยบายให้ผู้ก่อมลพิษต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ในการดาเนนิ การแก้ไขปญั หาและเสียคา่ ใช้จา่ ยในการแกป้ ญั หาดว้ ย
90 มีเน้ือท่ี 9,727 ไร่ หรือร้อยละ 9.07 ของพ้ืนท่ีเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้า ซึ่งมีสภาพการใช้ที่ดิน เปน็ ตัวเมอื ง และยา่ นการคา้ หมู่บา้ น สถานทร่ี าชการและสถาบันต่าง ๆ สถานทพี่ ักผอ่ นหยอ่ นใจ ลานตาก และแหลง่ รบั ซอ้ื สินค้าเกษตร และเส้นทางคมนาคม ซ่ึงชุมชนส่วนใหญม่ ีลักษณะเป็นสวนผสมปะปนอยู่กับ ท่ีอยู่อาศัยหรือหมู่บ้าน ไม้ผลและไม้ยืนต้นที่สาคัญ ได้แก่ มะม่วง มะขาม ลาไย ขนุน และพืชสวนผสม อ่ืน ๆ เปน็ ต้น ข้อเสนอแนะ ปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานให้ดี และมีกระจายอย่างท่ัวถึง จัดการของเสียจาก ชุมชน ท้ังน้าท้ิง และขยะ ให้ได้รับการบาบัดก่อนปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะของเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรม และลานตาก ซ่ึงจะมีมลพิษทางอาการด้วย ต้องควบคุมให้ดี จัดหาแหล่งน้าให้เพียงพอแก่ การอุปโภคและบรโิ ภค มีเนอ้ื ท่ี 3,248 ไร่ หรอื ร้อยละ 3.03 ของพื้นที่เขตพฒั นาทดี่ นิ ลุ่มน้า แบง่ ไดด้ งั นี้ 1) แหล่งน้าธรรมชาติ (510) มีเนื้อท่ี 1,299 ไร่ หรือร้อยละ 1.21 ของพ้ืนที่เขตพัฒนาท่ีดิน ลุม่ นา้ ซ่ึงไดแ้ ก่ แม่น้า ลาห้วย ลาคลอง หนอน บึง และทะเลสาบตา่ ง ๆ ข้อเสนอแนะ ดูแลรักษาแหล่งน้าไม่ให้เสื่อมโทรมทั้งด้านคุณภาพของน้า ปริมาณการกักเก็บน้า และป้องกันไม่ให้มีการบุกรุก/รุกล้าแหล่งน้าธรรมชาติ ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ส่วนรวม ชุมชนดูแลไม่ให้มีวัชพืชหรือ สิ่งอื่นใดมาทาให้แหล่งน้าต้ืนเขิน ควบคุมไม่ให้ของเสียจากชุมชน ที่อยู่อาศัย โรงงานอุตสาหกรรม และจากภาคเกษตรปนเปือ้ นลงในแหลง่ น้า ประชาชนต้องมีจติ สานึกทด่ี ีรว่ มกนั ในการดูแลรกั ษาแหลง่ น้า 2) แหล่งนา้ ทม่ี นษุ ย์สร้างขึ้น (520) มีเนื้อที่ 1,949 ไร่ หรอื รอ้ ยละ 1.82 ของพ้ืนทเี่ ขตพัฒนา ทีด่ ินลุ่มน้า ไดแ้ ก่ อา่ งเก็บน้า บอ่ นา้ ในไร่นา และคลองชลประทาน เปน็ ตน้ ข้อเสนอแนะ ดูแลรักษาแหล่งน้าไม่ให้เสื่อมโทรมทั้งด้านคุณภาพของน้า ปริมาณการกักเก็บน้า และป้องกันไม่ให้มีการบุกรุก/รุกล้าแหล่งน้าธรรมชาติ ซึ่งเป็นพ้ืนที่ส่วนรวม ชุมชนดูแลไม่ให้มีวัชพืชหรือ สิ่งอื่นใดมาทาให้แหล่งน้าต้ืนเขิน ควบคุมไม่ให้ของเสียจากชุมชน ที่อยู่อาศัย โรงงานอุตสาหกรรม และ จากภาคเกษตรปนเปื้อนลงในแหล่งน้า ประชาชนต้องมีจิตสานึกท่ีดีร่วมกันในการดูแลรักษาแหล่งน้า เพ่ิมจานวน และการกระจายตัวของแหล่งน้าขนาดเล็กให้มีจานวน และการกระจายมากขึ้น ขยายเขต ชลประทาน ทาคลองไส้ไก่กระจายน้าออกสู่พ้ืนที่เกษตร และจัดทาบ่อพวง เพ่ือป้องกันบรรเทาปัญหา นา้ แลง้ นา้ หลาก
91 ภาพท่ี 4-1 แสดงแผนท่ีการใช้ที่ดินเพ่ืนการอนุรักษ์ดินและน้า เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้าห้วยท่าแค จงั หวัดนครราชสมี า
92
93 5
5 94 คณะทางานจัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า พ้ืนที่ลุ่มน้าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา ได้จัดทา แผนการบริหารจัดการทรัพยากรดิน และแผนปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู พื้นท่ีเกษตรกรรม ลุ่มน้าห้วยท่าแค ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563-2565) เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการขับเคลื่อน โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ให้ สามารถนาไปสู่การวางแผน การกาหนดมาตรการและบริหารจัดการพ้ืนที่เกษตรกรรรม ท่ีมีความเสี่ยงต่อ การชะล้างพังทลายของดินและพื้นที่ดินเสื่อมโทรม นาไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดสมดุล เป็นธรรม และยั่งยืน รวมทั้งสามารถแปลงไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ตามระบบการบริหารเชงิ ยุทธศาสตร์ท่ี สอดคล้องกับประเด็นปัญหาและบูรณการการดาเนินงานของหน่วยงาน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม จากภาคีผู้มีส่วนได้เสียท่ีเก่ียวข้องการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้า ได้นา หลักการด้าน การอนุรักษ์ดินและน้า การบริหารจดั การเชงิ ระบบนเิ วศที่ต้องดาเนินการเพ่ือให้เกิดความสมดุลของระบบ นเิ วศ มกี ารกระจายการถือครองอย่างเป็นธรรม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณการการ ให้การใช้ประโยชน์ท่ีดินเป็นไปอย่างเหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน มีความเช่ือมโยงกับการจัดการ ทรัพยากรน้า ป่าไม้และชายฝ่ัง ให้เกิดประโยชน์สูงสุดท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และความม่ันคงของประเทศ โดยให้คานึงถึงสิทธิในทรัพย์สินของประชาชน หลักธรรมาภิบาล การรับรู้ ข้อมูลข่าวสารการกระจายอานาจ การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนและภูมิสังคม ดังนั้น เพ่ือให้แผน บริหารจัดการแปลงไปสู่การปฏิบัติ จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ 4 ปี โดย นาข้อมูลผลการประเมินการสูญเสียดิน 3 ระดับ (มาก ปานกลาง และน้อย) ข้อมูลสภาพดินปัญหาของ พ้ืนที่ และการขาดแคลนน้า มาใช้ในการบริหารจัดการสู่การกาหนดมาตรการและกิจกรรมในระดับพื้นท่ี เพื่อเป็นตน้ แบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มนา้ ในพื้นท่ีอ่ืน ๆ ครอบคลุมการแก้ไขและป้องกัน การชะล้างพังทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพ้ืนเกษตรกรรมครอบคลุมทั้งประเทศ สาหรบั แผนปฏบิ ัติการระยะ 4 ปี เป็นการจัดกลุ่มของพื้นที่ในลุ่มน้าตามลาดับความสาคัญของโครงการตามปัจจัยต่าง ๆ เพื่อกาหนด กรอบพ้ืนท่ีดาเนินการตามปีงบประมาณ และคาแนะนาในการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้าด้านต่าง ๆ
95 ให้เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่และสภาพการใช้ประโยชนท์ ่ีดิน ในระยะ 1 ปี ตามแผนปฏิบัติการรายปีนน้ั ซ่ึง จะต้องนาพื้นท่ีดาเนินการและคาแนะนาในการบริหารจัดการ จากแผนปฏิบัติการระยะ 4 ปี ไปศึกษา ความเหมาะสมของโครงการที่จะดาเนินการในพื้นที่ลุ่มน้า โดยมีการศึกษาในด้านต่าง ๆ ควบคู่กันไป ทั้ง ด้านการออกแบบมาตรการอนุรักษ์ดินและน้าด้านต่าง ๆ โดยจัดการพ้ืนท่ีตามสภาพความรุนแรงของ ปัญหาและนามาตรการ การป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหาของพ้ืนท่ีเฉพาะพ้ืนท่ีไป เพ่ือให้เหมาะสมกับการใช้งานของเกษตรกร ด้านความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลประโยชน์กับเกษตรกร และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นท่ี ผลกระทบของพื้นท่ีที่ดาเนินโครงการ ในกรณีท่ีมีโครงการและกรณีที่ไม่มี โครงการ โดยมีแนวทางในการบริหารทรัพยากรให้ได้ประโยชน์สูงสดุ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรดนิ และน้าท่เี หมาะสมกบั สภาพพ้นื ทีแ่ ละการใช้ประโยชน์ท่ีดนิ โดยนามาตรการต่าง ๆ มาปรบั ใชท้ ัง้ ในทางพืช และทางวิศวกรรม โดยในการใช้มาตรการทางวศิ วกรรมนั้นสามารถใชม้ าตรการด้านต่าง ๆ ตามมาตรฐาน ของกรมพัฒนาที่ดิน มาใช้ในการออกแบบรายละเอียด และจะต้องปฏิบัติตาม พ.ร.บ. วิศวกรรมด้วย เพ่ือ ควบคุมและจัดการพื้นท่ีในการลดการชะล้างพังทลายและฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม เพื่อเป็นต้นแบบในการ บริหารจัดการทรัพยากรดินและน้าในพ้ืนที่อ่ืน ๆ ตามแผนปฏิบัติการรายปีต่อไป นอกจากน้ียังมีการ ติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อแก้ไขและปรับปรุงการดาเนินการตามมาตรการต่าง ๆ ท่ีดาเนินการ ลงไปในพ้ืนที่ให้เหมาะสมมากขึ้น โดยการดาเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ในพ้ืนท่ี นอกจากจะมีการดาเนินการ ตามแนวทางของกรมพัฒนาที่ดินแล้ว ยังสามารถมีการบูรณการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ในกระทรวง เกษตรและสหกรณ์และกระทรวงอ่ืน เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น การส่งเสริมอาชีพ การถ่ายทอดความรู้ และสุขภาพอนามัยของประชาชนในพ้ืนที่ สร้างแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนการใช้ ที่ดนิ แรงจูงใจในการนามาตรการด้านอนรุ ักษ์ดินและน้าเข้าไปใช้ในพื้นท่ขี องเกษตรกร จากการวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นท่ี ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วย ข้อมูล ทุติยภูมิและปฐมภูมิท่ีได้จากการสารวจภาคสนามเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีเป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็นปัญหา ของสภาพพื้นท่ีอย่างแท้จริง ได้แก่ ข้อมูลการชะล้างพังทลายของดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรดิน (คุณสมบัติ ของดนิ , สภาพดนิ ปัญหา) ข้อมูลสภาพการใชท้ ดี่ ิน ดา้ นทรพั ยากรน้า สภาพภมู ปิ ระเทศและส่ิงแวดล้อม ซง่ึ มีความเช่ือมโยงกันในด้านกายภาพ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน และ การรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานในระดับพื้นท่ี เพ่ือนาข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และจัดทา แผนปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดิน และนา้ ให้มปี ระสิทธภิ าพเกดิ ประสิทธผิ ลถูกต้องตามสมรรถนะและศักยภาพของท่ีดิน และให้ผทู้ ี่เกย่ี วข้อง ไดเ้ กดิ การเรียนรู้นาไปสู่การจัดการที่ถูกต้องเหมาะสมและให้ได้เคร่ืองมือในการใช้ที่ดนิ อย่างยั่งยืน เพื่อลด อัตราการชะล้างพงั ทลายและการกัดซะหนา้ ดิน การตกตะกอน และปริมาณสารพษิ ตกคา้ งที่เปน็ ผลมาจาก การใช้ท่ีดินบนพ้ืนท่ีลุ่มน้าให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เกษตรกรและชุมชนสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม จึงมีการกาหนดแนวทางและมาตรการที่มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา แผนการ ใชท้ ่ีดิน บนพนื้ ฐานการมีส่วนร่วม ประกอบดว้ ย
96 1. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน แบ่งตามระดับ ความรนุ แรงของการชะล้าง ดังนี้ 1.1 พ้ืนที่ท่ีมีการชะล้างปานกลาง กาหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตามแนว ระดับ (contour cultivation) การยกร่องตามแนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางลาเลียง (farm road) ทางระบายน้า (waterways) ฝายชะลอนา้ (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) 1.2 พ้ืนท่ีท่ีมีการชะล้างรุนแรงน้อย กาหนดมาตรการ คือ การไถพรวนและปลูกพืชตาม แนวระดับ (contour cultivation) การยกรอ่ งตามแนวระดับ (ridging) การสรา้ งคนั ดนิ (terrace, bench terrace) คันดินเบนน้า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางลาเลียง (farm road) ทางระบายน้า (waterways) ฝายชะลอน้า (check dam, weir) บ่อดักตะกอน (pond) การไถพรวนดินล่าง (sub soiling) การปรบั ระดับ และปรับรูปแปลงนา
ตารางท่ี 5-1 แผนปฏิบตั กิ ารเพื่อปอ้ งกันการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้นื ฟูพื้นท่เี กษตรกรรม พ้นื ที่ล่มุ นา้ ห้วยทา่ แค จงั หวดั นครราชสมี า ระยะ 4 ปี (2563-2565) 97
98 2. มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้าเพ่ือฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ดินที่พบส่วนใหญ่มีปัญหาดิน เค็มและมีความอุดมสมบูรณ์ต่า จึงกาหนดมาตรการ คือ ปลูกพืชคลุมดินปลูกพืชปุ๋ยสด การใช้ปุ๋ยคอก และปุ๋ยหมกั เพ่อื เพิ่มอนิ ทรียวตั ถุ 3. มาตรการดา้ นอนุรกั ษด์ นิ และน้าเพ่อื พัฒนาแหล่งนา้ ในพ้ืนทีก่ ารเกษตร พบปญั หาการขาด แคลนน้าสาหรับทาเกษตรกรรรม จึงกาหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน คือ อ่างเกบ็ นา้ สระเกบ็ น้า ฝายทดน้า การปรับปรงุ ลาน้า คลองส่งน้า ระบบส่งน้าดว้ ยท่อและระบบให้น้าแบบ micro irrigation ในการบรหิ ารจดั การพ้ืนท่ีอนุรักษ์ดนิ และนา้ จะพจิ ารณาการบรหิ ารจัดการเปน็ ลุ่มน้า ดงั นั้น จึงได้นาผลจากการคัดเลือกพ้นื ทดี่ าเนินการจากการจดั ลาดับความสาคัญมาพจิ ารณาเพื่อกาหนดพื้นที่และ มาตรการ โดยแบ่งเป็นลุ่มน้าขนาดย่อย ๆ เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงานและการติดตามประเมินผล ตัวชี้วัด โดยในปีงบประมาณ 2563 สามารถดาเนินการได้ในพื้นท่ีลุ่มน้าห้วยท่าแค ในพ้ืนที่ บ้านสายออ หมู่ 1 บา้ นบุ หมู่ 3 บา้ นกุดจิก หมู่ 6 บา้ นสระตอง หมู่ 9 ตาบลสายออ บา้ นโคกพรม หมู่ 5 บา้ นดอนแต้ว หมู่ 11 บ้านใหม่ บ้านสระจรเข้ หมู่ 13 ตาบลโนนไทย มีเน้ือท่ีประมาณ 20,732 ไร่ โดยกาหนดมาตรการ ด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้าประเภทที่ทาในพื้นท่ีถือครองของเกษตรกรท่ีมีระดับการชะล้าง พงั ทลายปานกลาง ได้แก่ การไถพรวนและปลกู พชื ตามแนวระดับ (contour cultivation) การยกร่องตาม แนวระดับ (ridging) การสร้างคันดิน (terrace bench terrace) คันดินเบนน้า (division terrace) แนวหญ้าแฝกทางลาเลียง (farmroad) ทางระบายน้า (waterways) ฝายชะลอน้า (check damweir) บ่อดักตะกอน (pond) และระบบให้น้าแบบ micro irrigation และระบบอนุรักษ์ดินและน้าท่ีต้องทาใน พื้นทส่ี าธารณะ ไดแ้ ก่ อ่างเก็บนา้ สระเกบ็ นา้ ฝายทดนา้ คลองส่งน้า และระบบส่งน้าดว้ ยทอ่ โดยจะได้นามาตรการดังกล่าว ไปใช้ในการออกแบบเฉพาะพ้ืนที่และท่ีจุดรวมน้า (outlet) ของแต่ละลาน้า จะกาหนดให้มีอาคารแหล่งน้า ไว้เพ่ือประโยชน์ในการบริหารจัดการน้าและวัดปริมาณ ตะกอนดินในลาน้าเพื่อประเมนิ การลดการชะล้างของดินตามตวั ชีว้ ัดในขั้นตอนการตดิ ตามและประเมินผล ตอ่ ไป
99 ภาพที่ 5-1 พื้นท่ีลุ่มน้าเป้าหมายในแผนปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟู พื้นท่ีเกษตรกรรม พ้นื ทลี่ มุ่ น้าหว้ ยทา่ แค จังหวดั นครราชสมี า
100 โมเดลการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้าเชิงบูรณการเพื่อป้องการการชะล้างพังทลายของดิน เป็นรูปแบบการบริหารจัดการลุ่มน้าเชิงระบบ ครอบคลุมทุกมิติแบบองค์รวม (interdisciplinary) ประกอบด้วย มิติทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยกาหนดทิศทางจากสภาพปัญหาเป็น ตัวนา (problem orientation) ความรทู้ างวชิ าการทห่ี ลากหลายสาขาผา่ นกระบวนการคิด วิเคราะห์ จาก งานวิจัย (research) และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาท่ีดินการอนุรักษ์ดินและน้า ผ่านกระบวนการมีส่วน ร่วมของชุมชน (participation approach) ภาพท่ี 5-2 ต้นแบบ (Model) แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและพื้นฟูพ้ืนท่ี เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรักษด์ นิ และนา้ พน้ื ที่ลุม่ น้าห้วยทา่ แค จงั หวดั นครราชสีมา
101 6
102 6 5การดาเนนิ งานตามแผนบริหารจัดการป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพืน้ ท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า มีกลไกการขับเคล่ือนการดาเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการและ คณะทางาน ประกอบด้วย คณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู พื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า และคณะทางานจัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า พื้นที่ลุ่มน้า ห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา ในการจัดทาต้นแบบแผนการบริหารจัดการการชะล้างพังทลายของดิน และฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า สาหรับขับเคล่ือนการดาเนนิ งานด้านการอนุรักษ์ ดินและน้าให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 20 ปีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ดังนั้นเพ่ือให้แผนบริหารจัดการเกิดผลสัมฤทธิ์ในทาง ปฏิบัติ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ จึงจาเป็นต้องได้รบั การขับเคล่ือนและผลักดนั จากทุก ภาคส่วนและให้เกิดการบูรณการทุกระดับและผ่าน กระบวนการมีส่วนร่วม เพ่ือให้การบริหารจัดการ ทรัพยากรดนิ และนา้ มเี ปา้ หมายไปในทิศทางเดียวกนั ควรมแี นวทางการดาเนินงาน ดังน้ี เพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม ให้สามารถนาไปสกู่ ารวางแผนการ กาหนดมาตรการและบริหารจัดการพ้ืนที่เกษตรกรรรมที่มีความเส่ียงต่อการชะล้างพังทลายของดินและ พ้ืนท่ีดินเสื่อมโทรม รวมท้ังสามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิง ยุทธศาสตรท์ ีส่ อดคล้องกับประเด็นปัญหาและบรู ณการการดาเนินงานของหน่วยงานโดยผ่านกระบวนการ มีส่วนร่วม จากภาคีผู้มีส่วนได้เสียที่เก่ียวข้อง เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกิดการยอมรับและตระหนักถึง ความสาคญั ของแผน และนาต้นแบบของแผนไปขยายผลสู่การปฏิบัตไิ ด้อย่างเป็นรูปธรรม ระดับหน่วยงานที่ปฏิบัติงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ในด้านวิชาการท่ีเป็นกระบวนการหลัก (core process) และกระบวนการสนับสนุน (supportprocess) โดยนาแนวทางการปฏิบัติงานไปกาหนดเป็นแผนงานโครงการ และกาหนดเป็นข้อตกลง_การทางาน ระหวา่ งหนว่ ยงาน เนน้ การทางานเชงิ บูรณการเพอื่ ขบั เคล่ือนองค์กรใหบ้ รรลเุ ป้าหมายที่กาหนดไว้
103 โดยจัดตั้งคณะทางานติดตาม ประเมินผลที่มีกลไกและเครือข่ายการดาเนินงาน ทั้งหน่วยงานที่ปฏิบัติงานในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เช่ือมโยงการประเมินผลต้ังแต่บริบท (concept) ปัจจัยนาเข้า (input) กระบวนการ (process) ผลผลิต (output) ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ทุกมิติ ประกอบด้วยมิติทางกายภาพหรือ ส่ิงแวดล้อม มิติสังคม และมิติเศรษฐกิจ ที่สามารถสะท้อนผลสัมฤทธิ์ของงานได้ชัดเจน จนนาไปสู่ การปรบั ปรงุ พัฒนาแผนการดาเนินงานโครงการให้เกิดประสทิ ธผิ ลและมีประสิทธภิ าพ
104 คณะกรรมการขบั เคล่อื นโครงการปอ้ งกนั การชะล้างพังทลายของดนิ และฟ้นื ฟพู ้ืนท่เี กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ กั ษด์ ินและน้า 1 2 คณะอนุกรรมกา3รดา้ นการประเมนิ คณะอนุกรรมการจัดทาแผนบรหิ าร คณะอนกุ รรมการจดั ทา สถานการณท์ รัพยากรดินและนา้ จัดการโครงการป้องกนั การชะลา้ ง มาตรการดา้ นการอนรุ ักษ์ดิน โครงการปอ้ งกันการชะลา้ งพังทลาย และนา้ เพอื่ ปอ้ งกนั การชะล้าง ของดนิ ดว้ ยระบบอนรุ ักษด์ ินและน้า พังทลายของดนิ และฟื้นฟพู น้ื ที่ แผน พังทลายของดนิ สูร่ ะดับพื้นที่ ตัวช้วี ดั เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรักษด์ นิ ปฏิบัติการ และเกณฑ์ (Monitoring & Evaluation) และน้า ระดับพน้ื ที่ (Planning) (Action/Implement) แผนบรหิ ารจัดการ คูม่ อื การจดั ทามาตรฐาน บริบท (Content) (จ.นครราชสมี า) ดา้ นการอนุรักษด์ นิ และน้า ด้านแผนบริหารจดั การ คณะทางานแผนบริหารจดั การ คู่มือการปฏบิ ตั งิ าน ปัจจัยนาเข้า (Input) (Work manual) มาตรการดา้ นการอนรุ กั ษ์ดนิ และน้า แผนบรหิ ารจดั การ - ด้านฐานขอ้ มูลทรัพยากรดิน 10 แหง่ ในปี 2563 และนา้ กระบวนการ (Process) - ดา้ นการใช้ทด่ี ิน - มาตรฐานการปฏิบตั ิงานดา้ นตา่ ง ๆ แผนบรหิ ารจัดการ - ด้านการสารวจภาวะเศรษฐกิจ 200 แห่ง (20 ปี) และสังคม ผลผลิต (Productivity) - ด้านการวางแผนการใช้ทดี่ ิน - ผลผลติ (output) - ผลลัพธ์ (outcome) พื้นท่ไี ด้รบั การปอ้ งกันการชะลา้ ง - ผลกระทบ (impact) และฟื้นฟพู ืน้ ท่ีเกษตรกรรม พ้ืนท่ีเกษตรกรรมสามารถใช้ประโยชน์ทด่ี นิ (ไมน่ อ้ ยกวา่ 2 ลา้ นไร่ ภายใน 20 ป)ี ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ลดการสญู เสียดิน เกษตรกรมรี ายได้และคุณภาพชวี ติ ทีด่ ขี นึ้
105 การกาหนดบทบาทหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคล่ือนแผนบริหารจัดการ ทรัพยากรดินและน้าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ไปสู่การปฏิบัติ ตามบทบาท หน้าท่ี และความรับผิดชอบ ได้แก่ ผู้บริหาร (อธิบดี รองอธิบดี) หน่วยงานท่ีปฏิบัติงาน ส่วนกลาง หน่วยงานท่ีปฏิบัติงานส่วนภูมิภาค รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับพ้ืนท่ีมีแนวทาง การดาเนนิ งาน ดงั นี้ ตารางท่ี 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคล่ือนแผนบริหารจัดการ ทรพั ยากรดินและน้าเพ่ือป้องกนั การชะลา้ งพังทลายของดินและฟื้นฟูพน้ื ที่เกษตรกรรม ระดับหนว่ ยงาน แนวทางขับเคลือ่ น หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ 1. ระดับนโยบาย กากับดูแลและติดตามการดาเนินงาน คณะกรรมการ อธบิ ดีกรมพฒั นา (PolicyMaker) ขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ท่ีดิน และรองอธบิ ดี ฟ้นื ฟูพืน้ ที่เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษ์ดินและนา้ กรมพฒั นาทีด่ นิ กากับดูแลและติดตามการดาเนินงาน คณะทางานจัดทา แผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดินและฟ้ืนฟูพนื้ ที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และ น้า และขับเคลื่อนงานวิชาการด้านการกาหนดมาตรการ แนวทางการจัดการดินและนา้ ให้รองรับการแกไ้ ขปัญหาตาม สภาพพ้ืนท่ี กากับดูแลและติดตามการดาเนินงาน ในการขับเคลื่อน แผนปฏิบัติการและแผนปฏิบัติราชการ ภายใต้แผนการ บริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟ้นื ฟูพื้นทเ่ี กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และน้า กากบั ดแู ลและติดตามการดาเนนิ งานในระดบั พื้นที่ และจัดตั้ง คณะทางานจัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกัน ก า ร ช ะ ล้ า ง พั ง ท ล า ย ข อ ง ดิ น แ ล ะ ฟ้ื น ฟู พ้ื น ท่ี เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและนา้ คณะทางานจัดทามาตรการด้าน การอนุรักษ์ดินและน้าเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน สู่ระดับพื้นที่ คณะทางานด้านการติดตามและประเมินผล โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ด้วยระบบ อนรุ ักษด์ ินและนา้
106 ตารางท่ี 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการ ทรัพยากรดินและน้าเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม (ตอ่ ) ระดับหน่วยงาน แนวทางขบั เคลอื่ น หนว่ ยงาน รับผดิ ชอบ 2. ระดับปฏบิ ัติ (Operator) 2.1 สว่ นกลาง 1) จัดประชุมชี้แจงหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจและ กผง. และคณะ ประสานความร่วมมือ โดยเปิดโอกาสให้หน่วยงานได้กาหนดแนวทางการ ดาเนินงานรว่ มกัน สาหรับใช้เปน็ กรอบแนวทางการจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารและ แผนปฏิบัติราชการประจาปี รวมถึงการติดตามและประเมินผลท่ีครอบคลุม ทุกมติ ิ 2) จัดทามาตรฐานการปฏิบัติงาน จากต้นแบบแผนการบริหารจัดการ กผง.และคณะ โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วย ระบบอนุรักษ์ดินและน้า สาหรับใช้ขยายผลและขับเคล่ือนการดาเนินงานใน พื้นท่ีลุม่ นา้ อน่ื ๆ 3) ขับเคล่ือนและติดตามการดาเนินงานในการจัดทาแผนการบริหารจัดการ โครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วย คณะทางานฯ ระบบอนรุ ักษ์ดนิ และน้า 4) ปรับบทบาทกระบวนการทางานให้สอดคล้องกับเป้าหมายการดาเนินงาน ด้านการสารวจ วิจัยทรัพยากรดินและน้า การวิเคราะห์ดิน การวิเคราะห์ กสด. สวด. สภาพการใช้ที่ดิน การวางแผนการใช้ที่ดิน และการประเมินสถานภาพ กนผ. กวจ. ทรพั ยากรดนิ และการประเมินเชิงเศรษฐสังคม สวพ. สสผ. 5) กาหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าให้สอดคล้องกับแผนการใช้ ทีด่ นิ เพือ่ ป้องการการชะลา้ งพังทลายและฟ้นื ฟูพื้นที่เกษตรกรรม 6) จัดทาฐานข้อมูลการติดตามและประเมินผลในระดับภาพรวมและระดับ สวพ. กวจ. พ้ืนท่ี ครอบคลมุ การประเมินผลเชิงกายภาพ สงั คมและเศรษฐกจิ 2.2 ส่วนภมู ภิ าค 1) จดั ต้ังคณะทางานขบั เคล่อื นการบริหารจดั การโครงการป้องกนั การ ชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และ กวจ. กนผ. น้า ระดบั พนื้ ท่ีลุ่มน้า กผง. 2) ประชุมหารือร่วมกับหน่วยงานส่วนกลางและคณะทางานจัดทาแผนการ บริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ี สพข./สพด. เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และน้า ใหเ้ กิดความเข้าใจจนสามารถนาไป ถา่ ยทอดแก่หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ
107 ตารางที่ 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคล่ือนแผนบริหารจัดการ ทรัพยากรดินและน้าเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม (ต่อ) ระดับหนว่ ยงาน แนวทางขับเคลือ่ น หนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบ 2.2 ส่วนภูมิภาค 3) จัดทาแผนการบริหารจดั การโครงการปอ้ งกันการชะล้างพงั ทลาย (ต่อ) ของดนิ และฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ ักษด์ ินและนา้ ระดบั ลมุ่ น้า 4) ขับเคลื่อนการดาเนินงานในระดับพ้ืนที่ให้สอดคล้องกับแผน สพข./สพด. บริหารจดั การ 5) ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องในระดับ พนื้ ท่ี พร้อมรายงานผลการดาเนินงาน 3. หน่วยงาน 1) ประสานความร่วมมือในการกาหนดกรอบแนวทางการจัดทา หนว่ ยงานระดับ ภาคเี ครอื ขา่ ย แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้า เพื่อเชื่อมโยงเป้าหมาย จงั หวัด (Network) การดาเนนิ งานกันในระดบั พนื้ ที่ 2) สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนแผนการบริหาร หนว่ ยงานภาครัฐ จัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟพู ื้นท่ี และเอกชน เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษด์ นิ และนา้ ระดับลุ่มน้า 3) สรา้ งแนวทางหรือกาหนดรปู แบบการประชาสัมพันธ์ในการทา องคก์ รปกครองสว่ น ความเข้าใจกับประชาชนในพน้ื ท่ีอย่างเปน็ รปู ธรรม ท้องถิ่น 4) ร่วมดาเนินกิจกรรมหรือโครงการเพื่อการบริหารจัดการ หน่วยงานภาครฐั ทรัพยากรดินและน้าเชงิ บรู ณการ และ 5) ผลิตสื่อประชาสมั พันธ์ เผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสาร พรอ้ มทั้งสร้าง เอกชน ความตระหนกั และกระตนุ้ ใหท้ ุกภาคส่วนของสงั คมมสี ว่ นรว่ มใน ส่อื มวลชน การขับเคลื่อนการดาเนินงาน การดาเนินงานตามแผนบริหารจดั การทรัพยากรดินเพอื่ ป้องกนั การชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู พื้นท่ีเกษตรกรรม มีแนวทางการติดตามประเมินผลเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนงานโดยมีการ ดาเนินการในดา้ นต่าง ๆ ดงั นี้ 1) การติดตามความก้าวหน้า ในการดาเนินงานตามแผนบริหารทรัพยากรดินเพ่ือป้องกันการและ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม โดยการมีส่วนร่วมของหนว่ ยงานต่าง ๆ ทั้ง ส่วนกลาง และระดับพ้ืนท่ี โดยกาหนดให้มีการจัดทารายงานผลการดาเนินงานประจาปีการติดตาม
108 ประเมนิ ผลสาเร็จ และผลกระทบจากการดาเนนิ งานตามแผนทุก 2 ปี มกี ารประเมินผลช่วงกลางแผน เพื่อ ปรับเป้าหมายและตัวช้ีวัด ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไป รวมท้ังมีการประเมินผลเม่ือ สิ้นสดุ การดาเนนิ การตามแผนปฏิบตั ิการ 2) จดั ตง้ั คณะกรรมการติดตามประเมนิ ผล เพ่ือติดตามความก้าวหน้าการดาเนนิ งาน และผลสมั ฤทธิ์ ของงานในแต่ละด้านตามแผน ทั้งด้านปัจจัยนาเข้า (input) การบวนการทางาน (process) ผลผลิต (output) ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ประกอบด้วย นักวิชาการจากส่วนกลาง นกั วิชาการและเจ้าหนา้ ที่ผู้ปฏบิ ัตงิ านระดับพ้นื ท่ี และหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เข้ามามีส่วนรว่ มในการติดตาม ประเมินผลตามแผนปฏิบัติการ ที่มีการกาหนดกรอบตัวช้ีวัดที่ครอบคลุมทุกมิติประกอบด้วย ประเด็น การวัดและติดตามประเมินผล ผู้จดั เกบ็ ตวั ชี้วัดและรายงานผล (ตารางท่ี 6-2) พรอ้ มทงั้ เสนอวิธีการจัดเก็บ และติดตามสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ ในการจัดทาฐานข้อมูลเพื่อ ประเมินการเปล่ียนแปลงตามตัวช้ีวัด ประกอบด้วย ประเด็นการวัด รายการตรวจวัด ผู้รับผิดชอบ ฐานขอ้ มลู กลางและฐานขอ้ มลู เชงิ พืน้ ท่ี (ตารางที่ 6-3) ตารางท่ี 6-2 กรอบตวั ช้ีวดั ในการติดตามและประเมนิ ผล แผนบริหาร ตัวช้ีวดั ประเด็นการวัดและติดตาม ผ้รู ับผิดชอบ จัดการ ประเมนิ ผล ตัวชี้วัด ระยะส้ัน-ระยะกลาง ปี 2562 - มีฐานข้อมูลดา้ นการชะลา้ งพงั ทลาย - ฐานข้อมูลมีความถูกต้องตาม ผู้กากับตัวชวี้ ัด ของดนิ (soil erosion) ในพื้นที่ หลักวชิ าการ กองแผนงาน เกษตรกรรม - ตน้ แบบแผนบริหารจัดการ ผจู้ ดั เก็บและ - มีต้นแบบแผนการบริหารจัดการ ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจาก รายงานผลตาม ทรัพยากรดินระดับลุ่มน้าที่มีการ คณะกรรมการและหนว่ ยงานที่ ตวั ชีว้ ดั กาหนดมาตรการด้านการป้องกันและ เก่ียวขอ้ ง คณะทางานฯ ฟื้นฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหา - มาตรการด้านการอนุรักษ์ดิน ของแต่ละพ้ืนที่ และน้าได้รับการยอมรับจาก - มีการรูปแบบมาตรการด้านการ เกษตรกรและชมุ ชน อนุรักษ์ดินและน้าในระดับลมุ่ นา้ นา ร่อง สาหรับดาเนินการในระดบั พืน้ ท่ี ปี 2563 - 66 1. แผนบรหิ ารจัดการทรพั ยากรดิน - แผนการบริหารจัดการ ผู้กากับตัวชว้ี ัด - จานวนพืน้ ท่ที ม่ี ีการจัดทาแผนการ ทรพั ยากรดนิ ระดับลุ่มนา้ ท่ีมีการ กองแผนงาน บรหิ ารจดั การทรพั ยากรดิน กาหนดมาตรการด้านการปอ้ งกัน ผู้จดั เก็บและ ระดบั ลมุ่ นา้ และฟนื้ ฟูทรัพยากรดนิ สอดคลอ้ ง รายงานผลตาม ตามสภาพปัญหาของ ตัวชี้วดั แต่ละพืน้ ท่ี คณะทางานระดับ พ้นื ทีแ่ ต่ละลุ่มน้า
109 ตารางท่ี 6-2 กรอบตัวช้ีวัดในการติดตามและประเมนิ ผล (ตอ่ ) แผนบรหิ าร ตวั ชี้วดั ประเด็นการวดั และ ผูร้ บั ผิดชอบตวั ชวี้ ดั จดั การ ติดตามประเมนิ ผล ระยะสนั้ -ระยะกลาง ปี 2563 - 65 2. โครงการป้องกันการชะลา้ ง ผู้กากบั ตัวชวี้ ัด พังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่ กองแผนงาน เกษตรกรรมลุม่ น้า จังหวัดนา่ น 2.1 ระดับผลผลิต (output) - รอ้ ยละความสาเรจ็ ในการดาเนนิ กิจกรรม - ความสอดคลอ้ งของ ผูจ้ ัดเก็บและ ตามมาตรการด้านการอนรุ ักษ์ดนิ และน้า มาตรการรดา้ นการอนรุ กั ษด์ นิ รายงานผลตาม - จานวนพ้ืนทเ่ี กษตรกรรมได้รบั การปอ้ งกนั และน้าและระยะในการ ตวั ชว้ี ดั และฟ้นื ฟทู รัพยากรดนิ ดาเนนิ งานเป็นไปตามแผน คณะทางานฯ - พ้นื ทเี่ กษตรกรรมไดร้ ับการ ป้องกนั และฟน้ื ฟู ไม่น้อย 2.2 ระดับผลลพั ธ์ outcome) กวา่ 10,000 ไร/่ ลมุ่ น้า - ทรพั ยากรดินสามารถใชป้ ระโยชนท์ ด่ี ินได้ อยา่ งคุ้มค่า ลดการสญู เสียหนา้ ดินท่เี ปน็ - จัดทาฐานข้อมลู เพอื่ ผู้จดั เกบ็ และ ประโยชนต์ อ่ การผลติ ภาคการเกษตร ไม่ ประเมินการเปลี่ยนแปลง รายงานผลตาม นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 เมอื่ เปรยี บเทียบกับปี ตามตวั ชี้วัด เช่น ค่าการ ตัวชี้วดั ฐาน หรอื คา่ เฉลย่ี ในพ้ืนทร่ี ะดับลมุ่ น้า สูญเสยี ดินคณุ ภาพดิน กสด./กวจ. - รกั ษาและเพ่ิมความชุ่มชน้ื ให้กบั ดิน ไม่ ความชื้นในดนิ ปรมิ าณ น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 เมื่อเปรยี บ เทียบกบั ปี ตะกอนดนิ และปริมาณการ สวพ./กวจ. ฐาน หรือค่าเฉล่ียในพ้ืนทรี่ ะดบั ลมุ่ นา้ กกั เกบ็ น้า - เพิ่มประสทิ ธิภาพการใช้นา้ ภาคการเกษตร สวพ./สพข. ด้วยการเพิ่มแหลง่ น้าต้นทุนและระบบการ กระจายน้า ไมน่ ้อยกว่า รอ้ ยละ 80 เมอื่ เปรียบเทียบกับปฐี าน หรอื ค่าเฉลยี่ ในพน้ื ท่ี ระดับลุ่มน้า - เกษตรกรสามารถใชป้ ระโยชนท์ ่ีดินได้ กนผ./สพข. อยา่ งเหมาะสมตรงตามศักยภาพของพนื้ ที่ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 เมือ่ เปรยี บเทยี บกบั ปีฐานหรอื คา่ เฉลย่ี ในพ้นื ทร่ี ะดบั ลุ่ม
110 ตารางที่ 6-2 กรอบตัวชีว้ ดั ในการติดตามและประเมนิ ผล (ตอ่ ) แผนบรหิ าร ตวั ชี้วดั ประเดน็ การวัดและติดตาม ผู้รบั ผดิ ชอบ จดั การ ประเมนิ ผล ตัวชีว้ ดั ระยะสน้ั -ระยะกลาง กนผ./สพข. 2.3 ระดบั ผลกระทบ (impact) - เพ่มิ ผลผลติ ภาคการเกษตร - สารวจข้อมูลเชิงสังคม - เพิ่มรายไดใ้ นครัวเรอื นให้กับ เศรษฐกิจ เพ่ือประเมินการ เกษตรกร ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 30 เปล่ียนแปลง หลังได้รับประ เมอื่ เปรียบเทยี บกบั ปฐี าน หรือ โยชน์จากมาตรการตาม คา่ เฉล่ยี ในพ้นื ท่รี ะดบั ลมุ่ นา้ ตวั ชี้วดั ดา้ นสังคมเศรษฐกิจ - เพิ่มมูลคา่ การผลิตภาค การเกษตร และผลติ ภัณฑ์มวล รวมของประเทศ ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ย ละ 30 เม่ือเปรียบ เทยี บกับปีฐาน หรือค่าเฉล่ยี ในพ้นื ท่รี ะดับลุ่มนา้
ตารางท่ี 6-3 การจดั ทาฐานข้อมลู เพื่อประเมนิ การเปลี่ยนแปลงตามตัวช้วี ัดมติ ิกายภาพ เศรษฐกจิ และสงั คม 111
ตารางท่ี 6-3 การจดั ทาฐานข้อมลู เพื่อประเมนิ การเปลี่ยนแปลงตามตวั ชี้วดั มิตกิ ายภาพ เศรษฐกจิ และสงั คม (ต่อ) 112
ตารางท่ี 6-3 การจดั ทาฐานข้อมลู เพื่อประเมนิ การเปลี่ยนแปลงตามตวั ชี้วดั มิตกิ ายภาพ เศรษฐกจิ และสงั คม (ต่อ) 113
114 หมายเหตุ * พจิ ารณาตามสภาพภูมิสงั คม *** วธิ กี ารเกบ็ ตวั อย่าง เกบ็ ข้อมูล และวิเคราะห์ตวั อย่างและขอ้ มลู ตามระบบมาตรฐานสากล ผูป้ ระเมนิ ผลเชิงนโยบาย : กองแผนงาน ผู้รวบรวมภาพรวม และประเมินผลเชงิ วิชาการ : กองวิจัยและพฒั นาการจดั การทด่ี ิน ผรู้ วบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่ : สถานีพัฒนาทด่ี นิ สานักงานพัฒนาทด่ี ิน และหนว่ ยอืน่ ๆ ที่เก่ียวข้อง โดยประเมนิ จากประเดน็ (1) พน้ื ทีเ่ กดิ การชะลา้ งพังทลายของดิน และ 2) พน้ื ท่ีไดร้ ับผลกระทบ
115 กรมการพัฒนาชุมชน. 2562. สรุปข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2562 ระดับตาบล (Online). สืบค้นจาก www.rdic.cdd.go.th/nrd-service (15 กรกฎาคม 2563). กรมชลประทาน. 2562. ปรมิ าณน้าท่าเฉลยี่ รายเดอื นแม่น้ามูล (Online). สืบค้นจาก http://www.hydro-1.net (10 กรกฎาคม 2563). กรมป่าไม้. 2560. แผนท่ีขอบเขตป่าสงวนแห่งชาติ (ไฟล์ข้อมูล). กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม. กรมพัฒนาท่ีดิน. 2545. การประเมนิ การสูญเสยี ดนิ ในประเทศไทย. กรมพฒั นาที่ดิน กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กรุงเทพฯ. กรมพัฒนาที่ดิน. 2551. คู่มือการสารวจดิน. เอกสารวิชาการฉบับที่ 30/03/50. ส่วนมาตรฐานการสารวจ จาแนกดินและทดี่ นิ สานกั สารวจดนิ และวางแผนการใชท้ ีด่ นิ . กรมพัฒนาทด่ี ิน. 2558. สถานภาพทรัพยากรดินและท่ีดินของประเทศไทย. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 304 หนา้ . กรมพัฒนาที่ดิน. 2561. แผนบริหารจัดการทรพั ยากรดินปัญหาของประเทศไทย ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580). กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 161 หนา้ . มนู ศรีขจร อรรถ สมรา่ ง ไพบลู ย์ ประโมจนีย์ สุทธิพงษ์ ประทับวทิ ย์ ไชยสทิ ธิ์ อเนกสัมพนั ธ์ และ ปทุมพร ฟัน่ เเพง็ . 2527. การใช้สมการสูญเสียดนิ สากลสาหรับประเทศไทย. รายงานการ ประชุมวิชาการประจาปี 2527, กองบริรักษ์ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2561. โครงการส่งเสริมศักยภาพ การขับเคล่ือนแผนการบริหารจัดการท่ีดินและทรัพยากรดินของประเทศ (พ.ศ. 2560 –2564). กรงุ เทพฯ.
116 ภาคผนวกที่ 1 : ภาพประกอบกจิ กรรมการประชมุ ช้ีแจงเพื่อรบั ฟังข้อคิดเหน็ ของชุมชน ตอ่ แนวทางการดาเนินงานของโครงการ ภาคผนวกท่ี 2 : ภาพตวั อย่างมาตรการด้านการอนุรักษด์ ินและน้าของกรมพฒั นาทดี่ นิ
117 ภาคผนวกท่ี 1 : ภาพประกอบกจิ กรรมการประชมุ ชแี้ จงเพื่อรบั ฟงั ข้อคดิ เหน็ ของชมุ ชน ต่อแนวทางการดาเนินงานของโครงการ
118
119 ภาคผนวกที่ 2 : ภาพตวั อย่างมาตรการด้านการอนุรักษด์ ินและน้าของกรมพัฒนาท่ดี นิ มาตรการอนุรักษ์ดินและนา้ การอนุรกั ษด์ นิ และน้า (soil and water conservation) หมายถงึ การใช้ทรพั ยากรดินและนา้ อย่าง เหมาะสมด้วยวธิ ชี าญฉลาด คมุ้ ค่า เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด และมีความยั่งยืน การอนรุ กั ษ์ดินและน้าจะลดการ ชะ ล้างพังทลายของดิน ได้ด้วยการเลือกใช้ “มาตรการอนุรักษ์ดินและน้า” (soil and water conservation measure) ซ่ึงเป็นแนวทางในการอนุรักษ์ดินและน้าอย่างเหมาะสม เพ่ือใช้ป้องกันและ รักษาดินไม่ให้ถูกชะล้างพังทลายท้ังบนพื้นท่ีท่ีมีความลาดชันต่าจนไปถึงพ้ืนที่ที่มีความลาดชันสูง เพื่อ ป้องกันดินไม่ให้หลุดออกโดยการ ตกกระทบของเม็ดฝนและลม เพื่อลดปริมาณน้าไหลบา่ เพ่ือควบคุมหรอื ชะลอความเร็วของน้าไหลบ่า และเพิ่มอัตราการไหลซึมของน้าลงในดิน มาตรการอนุรักษ์ดินและน้าจึงผนั แปรไปตามความลาดชัน ตัง้ แต่ลกั ษณะพ้ืนท่ีราบ พื้นท่ีดอน และพื้นทส่ี ูง ซ่ึงสามารถแบง่ ออกตามลักษณะ ของมาตรการได้เป็น มาตรการวิธีกล (mechanical measures) และมาตรการวิธีพืช (vegetative measures) การเลอื กใช้ มาตรการใดควรพจิ ารณาลักษณะดิน ภมู ิประเทศ ปรมิ าณนา้ ฝน ตลอดจนการใช้ ประโยชน์ที่ดิน โดยเลือกวิธีการผสมผสานมาตรการให้เหมาะสมเพื่อให้การทาการเกษตรเกิดความยั่งยืน โดยใช้มาตรการดงั นี้ มาตรการด้านอนรุ ักษ์ดินและน้าเพ่ือป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดนิ แบ่งตามระดับความรุนแรง ของการชะล้างพังทลายของดิน ในพ้ืนที่ท่ีมีระดับปานกลาง กาหนดมาตรการในการไถพรวนและปลูกพืช ตามแนวระดับ การยกรอ่ งตามแนวระดับ แนวหญ้าแฝก ทางลาเลยี ง และบ่อดักตะกอน สว่ นระดบั รุนแรง นอ้ ย มมี าตรการเพมิ่ เตมิ ตามลกั ษณะภูมิประเทศ คือ การไถพรวนดิน การปรับระดบั และปรบั รูปแปลงนา มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้าเพ่ือฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ส่วนใหญ่มีปัญหาดินเค็ม ดินปนทราย ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า กาหนดมาตรการโดยเน้นการเพิ่มอินทรยี วัตถุด้วยการปลกู พืชคลมุ ดิน ปลูกพืช ปุ๋ยสด การใชป้ ยุ๋ คอก น้าหมักและป๋ยุ หมกั มาตรการด้านอนุรักษ์ดินและน้าเพื่อพัฒนาแหล่งน้า ในพื้นที่ทางการเกษตรซึ่งมีสภาพปัญหาการ ขาดแคลนน้า จึงกาหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและสอดคล้องตามความต้องการของชุมชน คือ อ่างเก็บน้า สระเก็บน้า ฝายทดน้า การปรับปรุงลาน้า คลองส่งน้า ระบบส่งน้าด้วยท่อ และระบบให้น้า แบบ micro irrigation สาหรับรูปแบบกิจกรรมงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้า ที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาในพื้นท่ี รบั ผดิ ชอบสานกั งานพัฒนาทดี่ ินเขต 3 มี ดงั น้ี การปรับโครงสร้างพ้ืนฐาน เป็นวิธีจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้า โดยการปรับโครงสร้างพ้ืนฐานของ การใช้ประโยชน์ในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซ่ึงก็มีอยู่หลายรูปแบบ แต่ในพ้ืนท่ีของ สพข.3 มักจะใช้รูปแบบ การปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 1, ลักษณะท่ี 2, ลักษณะท่ี 3, บ่อดักตะกอนดิน และทางลาเลียงในไร่นา ซึ่งมีรายละเอียดวธิ ดี าเนินการดงั น้ี
120 - การปรบั รูปแปลงนาลักษณะท่ี 1 วิธีการ คือ การไถปรับพ้ืนที่นาให้มีความเรียบและได้ระดับเสนอกันแล้วทาคันนาใหญ่ขึ้น โดยใช้ เครื่องจักรกลในการไถปรับและข้ึนรูปคันนา โดยทาการปรับคันนาเดิมท่เี ลก็ และต่าปรับให้มีขนาดคนั นาท่ี ใหญ่ขึ้นและถูกขั้นตามแบบงานก่อสร้างระบบอนุรักษ์ดินและน้า (คันนาจะใหญ่และสูงข้ึนอยู่กับความ เหมาะสมของพื้นทแ่ี ละโครงการโดยอย่ใู นดลุ พินิจของช่างควบคุมงาน เกษตรกร และหน่วยพัฒนาท่ดี ิน)
121 - การปรบั รูปแปลงนาลักษณะที่ 2 วธิ กี าร คอื การทาโดยใชเ้ คร่ืองจักรกลทาการขุดร่องข้างคนั นา หรือบริเวณขอบแปลงที่ดินโดยนา ดินที่ขุดได้มาทาคันท้ังสองด้านโดยให้ข้างหน่ึงมีลักษณะที่ใหญ่เพ่ือใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกหรือเป็น แนวดันดินกับน้า และอีกด้านหนึ่งนามาป้ันเป็นคันนาดักน้าเพ่ือกักเก็บน้าในพื้นท่ีนา (ร่องน้าแล้วแต่ความ เหมาะสมของพนื้ ที่ ลกั ษณะดิน โดยอยู่ในดุลพินจิ ของช่างควบคมุ งาน เกษตรกร และหน่วยพัฒนาท่ดี นิ )
122 - การปรับรูปแปลงนาลักษณะท่ี 3 วิธีการ คือ ใช้เครื่องจักรกลทาการขุดร่องน้าในนาโดยดาเนินการเหมือนกับการปรับรูปแปลงนา ลักษณะที่ 2 เพยี งแตเ่ พมิ่ ร่องนา้ เป็นสองข้างและนาดินขน้ึ มาทาคันดินไวต้ รงกลาง แบบน้อี าจจะทาการขุด เป็นหลายร่องซ้อนกันก็ได้ (ร่องน้าแล้วแต่ความเหมาะสมของพ้ืนที่ ลักษณะดิน โดยอยู่ในดุลพินิจของช่าง ควบคุมงาน เกษตรกร และหน่วยพัฒนาท่ดี นิ )
123 - บ่อดักตะกอนดนิ วิธีการ คือ ใช้เคร่ืองจักรกลและทาการขุดในลักษณะของการขุดสระน้า โดยการนาดินท่ีขุดได้ ขึน้ มาวางบริเวณขอบบ่อ 3 ดา้ น โดยอีกดา้ นหนง่ึ เปิดคันดินไว้เพื่อให้ตะกอนดินหรือน้าไหลลงสู่บ่อ (บอ่ ดัก ตะกอนดินสามารถปรับขนาดได้ตามลักษณะของพ้ืนท่ี โดยอยู่ในดุลพินิจของช่างควบคุมงาน เกษตรกร และหนว่ ยพฒั นาทด่ี ิน)
124 - ทางลาเลยี งในไรน่ า วิธีการ คือ ใช้เคร่ืองจักรกลทาการไถปรับคันดินให้มีขนาดใหญ่ขึ้นสาหรับใช้เป็นทางลาเลียง ผลิตผลทางการเกษตร วัตถุประสงค์หลัก เพ่ือขนถ่ายผลิตผลการเกษตรจากพื้นที่เกษตรกร และเช่ือมโยง ถนนในไร่นา
125 การพฒั นาแหล่งนา้ ในพน้ื ทท่ี างการเกษตรซง่ึ มีสภาพปัญหาการขาดแคลนน้า จงึ กาหนดมาตรการ ตามสภาพปัญหาและสอดคล้องตามความต้องการของชุมชน คือ อ่างเก็บน้า สระเก็บน้า ฝายทดน้า การปรับปรุงลานา้ คลองสง่ นา้ ระบบส่งน้าดว้ ยท่อ
126 มาตรการวิธีพืช เป็นวิธีการจัดระบบพืชโดยการผสมผสานกันระหว่างมาตรการอนุรักษ์ดินและน้า และการจัดระบบพืช คือ การปลูกพืชท่ีมีใบหนาหรือมีรากแน่นสาหรับคลุมและยึดดิน เช่น พืชตระกูลถ่ัว ปอเทืองและหญ้าแฝก ถวั่ พรา้ ปอเทอื ง หญ้าแฝก
127 )สาเนา( คาส่งั กรมพฒั นาทีด่ นิ ท่ี 3482563/ เรอ่ื ง แต่งต้ังคณะทางานจดั ทาแผนบรหิ ารจดั การโครงการป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟืน้ ฟูพน้ื ที่ เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรักษด์ ินและนา้ ปี 2563 เพ่ือให้การดาเนินงานในพื้นที่เป้าหมายระดับลุ่มน้าสอดคล้องกับแผนปฏิบัติการโครงการ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูฟื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ระยะ 20 ปี และเป็นไปตามมาตรฐานของต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้าเชิงบูรณาการท่ีมีการทางานเชิง พ้ืนท่ีเป็นหลักมีความถูกต้องตามหลักวิชาการ สาเร็จตามเป้าหมาย นาไปสู่การกาหนดพ้ืนท่ีดาเนินการและ มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าในระดับพ้ืนท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงแต่งตั้งคณะทางานจัดทาแผน บริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟ้ืนฟูฟ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดิน และน้าปี 2563 โดยมีองค์ประกอบและหนา้ ที่ ดงั นี้ 1 .องคป์ ระกอบ ที่ปรกึ ษา 1.1 นายวุฒิชาติ ศิริชว่ ยชู ท่ปี รกึ ษา 1.2 นายวีระชัย กาญจนาลยั ประธานคณะทางาน 1.3 รองอธบิ ดกี รมพฒั นาท่ีดินด้านวิชาการ รองประธานคณะทางาน 1.4 ผู้อานวยการกองวิจัยและพัฒนาการจัดการท่ดี นิ คณะทางาน 1.5 ผเู้ ชย่ี วชาญด้านวางระบบการพัฒนาทดี่ ินทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง คณะทางาน 1.6 นายรตั นชาติ ช่วยบุดดา คณะทางาน 1.7 นายนนั ทพล หนองหารพิทักษ์ คณะทางาน 1.8 นายวรญั ญู บวั ขาว คณะทางาน 1.9 นายจตุรงค์ ละออพนั ธ์สกุล คณะทางาน 1.10 นายวิศษิ ฐ์ งามสม คณะทางาน 1.11 นายจกั รกฤษณ์ มใี ย คณะทางาน 1.12 นายกฤดโิ สภณ ดวงกมล คณะทางาน 1.13 นางสาวอมรรตั น์ สระเพช็ ร คณะทางาน 1.14 นางสาววันดี พึ่งเจาะ คณะทางาน 1.15 นางสาวกรวรรณ อาจเลิศ คณะทางานและ 1.16 นายอรรณพ พุทธโส เลขานกุ าร คณะทางานและ 1.17 นางสาวพยัตตกิ า พลสระคู เลขานุการร่วม คณะทางานและ 1.18 นายธนกฤต ผลเกลี้ยง ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร 1.19 นายอภิชาติ บุญเกษม คณะทางานและ ผชู้ ่วยเลขานกุ าร 1.20 นายธงชยั คงหนองลาน คณะทางานและ ผชู้ ่วยเลขานกุ าร \\ 2. หน้าที่ ...
128 -2– 2. หน้าที่ 2.1 จัดทาแผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ี เกษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษ์ดินและน้าใหเ้ กิดผลสาเร็จเป็นรูปธรรม 2.2 กาหนดแนวทางการดาเนินงานโครงการ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟนื้ ฟพู ื้นทีเ่ กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้าให้เกิดผลสาเรจ็ เปน็ รปู ธรรม 2.3 จัดทาฐานข้อมูลสถานการณ์ทรัพยากรดินและน้า เพื่อติดตาม และประเมินผลการ ดาเนินงานภายใต้แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้าระดับพ้นื ที่ 2.4 ประสานการดาเนินงานกับคณะทางานขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้าระดับพื้นที่ สานักงานพัฒนาท่ีดินเขต 12-1 2.5 ปฏบิ ัติงานอน่ื ๆ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ท้ังนี้ ต้งั แตบ่ ัดนีเ้ ปน็ ต้นไป สั่ง ณ วันท่ี 8 เมษายน พ.ศ. 2563 )ลงนาม( เบญจพร ชาครานนท์ )นางสาวเบญจพร ชาครานนท์( อธบิ ดกี รมพฒั นาที่ดิน สาเนาถูกตอ้ ง (นายสันธษิ ณ์ ดิษฐอ์ าไพ) นักทรัพยากรบคุ คลปฏิบตั ิการ
129 )สาเนา( คาส่งั กรมพฒั นาท่ีดนิ ที่ 2563/ เรื่อง แตง่ ต้ังคณะทางานขับเคลอ่ื นโครงการป้องกันการชะลา้ งพงั ทลายของดินและฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษด์ นิ และนา้ ระดับพืน้ ท่ี สานกั งานพัฒนาท่ดี นิ เขต 12-1 เ พ่ื อ ใ ห้ ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ก า ร ด า เ นิ น ง า นโ ค ร งก า ร ร ะ ดั บพ้ื นท่ี สอ ด ค ล้ อ ง ต าม แ ผ นปฏิ บั ติ การ โ ค ร ง ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร ช ะ ล ้า ง พั ง ท ล า ย ข อ ง ดิ น แ ล ะ ฟ้ื น ฟู ฟ้ื น ท่ี เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ด้ ว ย ร ะ บ บ อ นุ รั ก ษ์ ดิ น แ ล ะ น้ า ท่ียึดการบูรณาการเชิงพื้นที่เป็นหลัก ประสานงานเช่ือมโยงการดาเนินการระหว่างส่วนกลางกับระดับพื้นท่ี และสนับสนุนการจัดทาแผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ี เก ษ ต ร ก ร ร ม ด้ ว ย ร ะ บ บ อนุ รั ก ษ์ ดิ น แ ล ะ น้ า ใ ห้ บ ร ร ลุ ผ ลส า เร็ จ ต าม เป้ า หม าย อย่ า ง มี ปร ะ สิ ทธิ ภ า พ อย่ าง เป็น รูปธรรม จึงแต่งต้ังคณะทางานขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูฟ้ืนท่ี เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้าระดับพ้ืนที่ สานักงานพัฒนาท่ีดินเขต 12-1 โดยมีองค์ประกอบ และหนา้ ท่ี ดงั น้ี 1 .องคป์ ระกอบ ประธานคณะทางาน 1.1 ผู้อานวยการสานกั งานพฒั นาทด่ี ินเขต 1.2 ผู้เชย่ี วชาญดา้ นวางระบบการพัฒนาที่ดนิ รองประธานคณะทางาน 1.3 ผู้อานวยการสถานีพฒั นาที่ดินทเ่ี กย่ี วข้อง คณะทางาน 1.4 ผู้อานวยการกลมุ่ วเิ คราะห์ดนิ คณะทางาน 1.5 ผ้อู านวยการกลุ่มวิชาการเพ่ือการพฒั นาทด่ี นิ คณะทางาน 1.6 ผู้อานวยการกลมุ่ สารวจเพือ่ ทาแผนที่ คณะทางาน 1.7 ผู้อานวยการกล่มุ วางแผนการใช้ทด่ี ิน คณะทางานและ เลขานกุ าร 1.8 นักวิชาการสงั กัดกลุ่มวางแผนการใชท้ ด่ี ิน คณะทางานและ ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร .2 หน้าท่ี 2.1 รวบรวมและจัดทาฐานข้อมูลด้านทรัพยากรดินและน้า การวางแผนการใช้ท่ีดินและ เศรษฐกจิ สังคม เพื่อนาไปใชป้ ระกอบการดาเนนิ งานของโครงการ 2.2 ศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้าในระดับลุ่มน้า เพื่อกาหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้า และแผนงานโครงการตามภารกิจของกรมพัฒนาท่ีดิน ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การปอ้ งกันชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟนื้ ฟทู รัพยากรดินตามสภาพปญั หา 2.3 ประสานและเชื่อมโยงการดาเนินงานระดับพื้นที่กับส่วนกลางเพ่ือสนับสนุนการ จัดทาแผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนุรักษ์ดินและนา้ 2.4 จัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ระดับพ้ืนท่ี เสนอคณะทางานจัดทาแผนบริหารจัดการ โครงการปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟนื้ ฟพู ื้นทีเ่ กษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษ์ดินและน้า ปี 2563
130 -2– \\ 2.5 ปฏิบตั งิ าน ... 2.5ปฏบิ ัติงานอื่นๆ ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ทง้ั น้ี ต้ังแตบ่ ดั นเ้ี ป็นตน้ ไป ส่ัง ณ วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2563 )ลงนาม( เบญจพร ชาครานนท์ )นางสาวเบญจพร ชาครานนท(์ อธิบดกี รมพฒั นาที่ดนิ สาเนาถกู ตอ้ ง (นายสนั ธษิ ณ์ ดิษฐ์อาไพ) นกั ทรัพยากรบคุ คลปฏิบตั กิ าร
131
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145