1 นโยบาย หลกั เกณฑ์ วธิ ีการจดั ทา แผนพัฒนาจงั หวดั และแผนพัฒนากลมุ่ จงั หวดั พ.ศ. 2566 - 2570 (มตคิ ณะกรรมการบรู ณาการนโยบายพฒั นาภาค (ก.บ.ภ.) ครัง้ ท่ี 2/2564 เมือ่ วันที่ 14 กรกฎาคม 2564) ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด พ.ศ. 2566 – 2570 เพือ่ ใหแ้ ผนทันสถานการณ์ และใช้เป็นกรอบและทศิ ทางในการจัดทาแผนปฏบิ ัติราชการประจาปีของ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2570 โดยมีนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการ จดั ทาแผนพฒั นาจังหวดั และแผนพัฒนากลุ่มจงั หวดั ดังน้ี 1. นโยบายการจัดทาแผนพฒั นาจงั หวดั และแผนพฒั นากลุ่มจังหวดั 1.1 ยึดยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูป ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายรัฐบาล รวมท้ังแผนรายสาขา แผนเฉพาะด้านต่างๆ ที่ผา่ นความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแลว้ และข้อสงั่ การของนายกรัฐมนตรี เปน็ กรอบการดาเนินงานจัดทาแผน 1.2 ให้ความสาคัญกับแผนพัฒนาภาค เพื่อเป็นแผนชี้นาการพัฒนาในภาพรวม และเป็น เครื่องมือบูรณาการแผนของส่วนราชการในพ้ืนท่ี เพ่ือให้เกิดการพัฒนาท่ีสอดคล้องเชื่อมโยงกันในทุกพ้ืนท่ี นาไปสู่การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน และลดความเหล่ือมล้าในสังคม อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ประชาชนอย่างทว่ั ถงึ รวมท้ังใหค้ วามสาคญั กับนโยบายการพฒั นาเชงิ พน้ื ท่ี เช่น การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ และระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษรายภาค การพฒั นาเมอื งเก่า เปน็ ต้น 1.3 การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ให้ใช้กระบวนการประชาคม แบบมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือการจัดเวทีระดมความคิดเห็นของประชาชนเพื่อให้ได้มาซ่ึงปัญหา และ ความต้องการจากประชาชนในพนื้ ที่ รวมท้ังให้มีการประสานแผนในระดับพื้นที่ โดยการรวบรวมและจัดลาดับ ความสาคัญของปัญหาและความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ ผ่านกลไกการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชมุ ชน แผนพฒั นาตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนพัฒนาอาเภอ เพ่ือให้แผนมีความเชื่อมโยงสอดคล้องกัน ในทกุ ระดับเป็นแผนเดยี วกนั (One Plan) ภายใต้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสาน แผนพัฒนาพื้นท่ใี นระดบั อาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 1.4 การขบั เคล่ือนการพฒั นา มงุ่ เน้นการทางานแบบเครือข่ายร่วมกันทุกภาคส่วน ทั้งส่วนราชการ (สว่ นกลาง สว่ นภูมิภาค และสว่ นท้องถ่ิน) ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมหรือประชารัฐ และชุมชน เพ่ือร่วมกัน กาหนดแนวทางการพฒั นาทเี่ หมาะสมกับโอกาสและศักยภาพของภาค กลุ่มจังหวัด และจังหวัด รวมทั้งร่วมมือกัน ในการสนบั สนุนการขบั เคล่ือนการพัฒนาทส่ี าคัญของภาค กลุ่มจงั หวัด และจังหวัด สู่การปฏบิ ัติอยา่ งสมั ฤทธิผ์ ล 1.5 การติดตามและประเมินผลสัมฤทธ์ิของแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ตอ้ งมีการกาหนดเป้าหมายและตัวช้วี ดั ทีช่ ัดเจน เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ ว่าผลการดาเนนิ การที่ผ่านมาประสบผลสาเร็จ มากน้อยเพียงใด และบรรลุผลตามตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้หรือไม่ ท้ังนี้ ให้วิเคราะห์และแสดงเหตุผลประกอบ เพอ่ื เป็นข้อมลู ประกอบการจัดทาแผนในระยะต่อไป 1.6 ให้เสนอแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพฒั นากลมุ่ จงั หวดั ในชว่ งปีแรกของแผน 5 ปี สาหรับ การทบทวนหรือปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ไม่ต้องขอทบทวนหรือปรับปรุงแผน ทุกปี หากไม่มีเหตุการณ์หรือสถานการณ์ท่ีมีผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนา โดยให้ดาเนินการ
2 เฉพาะเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์อย่างมีนัยสาคัญท่ีมีผลต่อการบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาจังหวัด และกล่มุ จงั หวดั เพ่ือใหท้ นั ต่อสถานการณ์การเปลีย่ นแปลง 2. หลกั เกณฑ์และวิธีการจัดทาแผนพัฒนาจงั หวัด และแผนพัฒนากลุม่ จงั หวัด 2.1 ขอบเขต 2.1.1 แผนพัฒนาจังหวัด เป็นแผนที่มีความครอบคลุมทุกมิติการพัฒนามุ่งตอบสนอง ความต้องการและแก้ไขปัญหาที่สาคัญของจังหวัดและขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่สอดคล้องกับ ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนระดบั ชาติ นโยบายรฐั บาล และแผนพฒั นาภาค ตามศกั ยภาพและโอกาสของพน้ื ท่ี 2.1.2 แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด เป็นแผนที่เป็นการขับเคล่ือนประเด็นการพัฒนา ที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาภาค ในประเด็นการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน หรือความต้องการ แก้ไขปัญหาที่เป็นประเด็นร่วมในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัด และต้องมีขอบเขตการดาเนินการหรือได้รับผลประโยชน์ มากกว่า 1 จังหวัด 2.2 กาหนดการสง่ แผนพัฒนาจังหวดั และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ให้จังหวดั และกลุ่มจังหวัดดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด พรอ้ มจัดสง่ แผนฯ ให้ทมี บรู ณาการกลาง ภายในวนั ท่ี 15 กันยายน พ.ศ. 2564 สาหรับกรณีท่ีมีการทบทวนหรือปรับปรุงแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ก่อนระยะเวลาส้ินสุดแผน (พ.ศ. 2570) ให้จัดส่งแผนฯ ฉบับทบทวนหรือปรับปรุง ให้ทีมบูรณาการกลาง ภายในวันท่ี 15 กันยายน ของปที ่ีดาเนินการทบทวนหรือปรบั ปรุงแผน 2.3 องค์ประกอบของแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพัฒนากล่มุ จงั หวัด 2.3.1 ขอ้ มลู เพื่อการพัฒนา 1) ข้อมลู พ้นื ฐานทางกายภาพ ประกอบดว้ ย ทีต่ ั้ง ขนาดพ้ืนที่ ลกั ษณะภูมิประเทศ การใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงสร้างพื้นฐาน (การคมนาคมขนส่งทางบก ทางน้า ทางอากาศ ไฟฟ้า ประปา อินเตอร์เน็ต และแผนพฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐานทีส่ าคัญ) และขอ้ มูลสนบั สนุนอนื่ ๆ ทม่ี ีผลต่อการพัฒนาจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวดั 2) ขอ้ มูลเชงิ เปรยี บเทียบ ครอบคลุมขอ้ มลู ที่สาคัญของจังหวดั และกลุ่มจังหวัด ทัง้ ขอ้ มูลเชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยตอ้ งเปน็ ขอ้ มูลที่เป็นปัจจุบันและเปน็ อนุกรมอยา่ งน้อย 3 ปี พร้อมกับ วิเคราะห์และเปรียบเทียบข้อมูลที่สาคัญเพื่อสะท้อนภาพการเปลี่ยนแปลงท่ีสาคัญของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด พร้อมเหตุผลประกอบและข้อมูลสนับสนุนอ่ืนๆ ท่ีแสดงให้เห็นศักยภาพหรือระดับความรุนแรงของปัญหา ประกอบดว้ ย ด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วย ข้อมูลหลักท่ีแสดงภาพรวมของเศรษฐกิจ และสาขาเศรษฐกิจหลักท่ีสาคัญของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เช่น เกษตร อุตสาหกรรม การค้าชายแดน การท่องเที่ยว การพัฒนาเมือง เขตเศรษฐกิจพิเศษ เศรษฐกิจระดับครัวเรือน (รายได้และหนี้สินเฉลี่ยต่อ ครวั เรอื น) เปน็ ต้น ด้านสังคมและความมั่นคง ประกอบด้วย ข้อมูลด้านสังคมท่ีสาคัญของ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด เช่น ประชากร แรงงาน การศึกษา สาธารณสุข ปัญหาการว่างงาน ความยากจน อาชญากรรม ปญั หายาเสพตดิ เปน็ ตน้
3 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย ข้อมูลด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีสาคัญ เช่น ป่าไม้ ดินและการใช้ประโยชน์ท่ีดิน แหล่งน้า ขยะ มลพิษ สถานการณ์ภยั พิบัติ เปน็ ต้น 3) ประเด็นปญั หาและความตอ้ งการเชงิ พน้ื ท่ี นาเสนอวิธีการหรือกระบวนการในการเก็บรวบรวมปัญหาและ ความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี โดยต้องผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาในจังหวัดและ กลุ่มจังหวัด และต้องมีการประสานแผนระดับต่างๆ ในพ้ืนที่ โดยการรวบรวมและจัดลาดับความสาคัญของ ปัญหาและความตอ้ งการของประชาชนในพน้ื ท่ี ผา่ นกลไกการจัดทาแผนพฒั นาหม่บู ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนา ตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนพัฒนาอาเภอ เพ่ือให้แผนมีความเชื่อมโยงสอดคล้องกันในทุกระดับเป็น แผนเดียวกัน (One Plan) ภายใต้ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนา พื้นที่ในระดบั อาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 นาเสนอปัญหาและความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ โดยจัดเรียงลาดับ ความสาคญั โดยรวมของจงั หวัดหรือกล่มุ จังหวดั ไม่เกนิ 10 อนั ดบั และระบกุ ลุ่มเป้าหมายและพ้ืนที่ใหช้ ดั เจน 4) ผลการพัฒนาและแก้ไขปัญหาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดในช่วงที่ผ่านมา นาเสนอให้เห็นผลการดาเนินการตามประเด็นการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดว่าประสบผลสาเร็จมากน้อย เพียงใด บรรลุเป้าหมายรวมและเป้าหมายในแต่ละประเด็นการพัฒนาที่กาหนดไว้และบรรลุผลตามตัวช้ีวัดที่ กาหนดไว้หรือไม่ พร้อมท้ังแสดงเหตุผลประกอบ และหากเห็นสมควรดาเนินการต่อหรือยุติการดาเนินการ ใหร้ ะบเุ หตุผลสนับสนนุ 2.3.2 ประเด็นการพัฒนา 1) บทวิเคราะห์ เลือกใช้เครื่องมือการวิเคราะห์ตามหลักวิชาการวางแผน เพ่ือแสดงให้เห็นถึงโอกาส ศักยภาพ ปัญหา และอุปสรรคของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด มีการวิเคราะห์ ความเชอ่ื มโยงเป้าหมายการพัฒนาตามหลัก Logical Framework โดยจะต้องมีความสอดคล้องกับข้อมูลเพ่ือ การพัฒนา ตัวชีว้ ดั ท่ีเกีย่ วข้อง เช่น ตวั ชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ระบบบริหารจัดการข้อมูล การพัฒนาคนแบบช้ีเป้า (TPMAP) ดัชนีความก้าวหน้าของคน (HAI) ดัชนีการพัฒนาที่ยั่งยืนระดับจังหวัด (SDGs) ผลการวเิ คราะห์ศักยภาพและประเด็นปญั หาในดา้ นต่างๆ เป็นตน้ เพอื่ นาไปสกู่ ารกาหนดประเดน็ การพัฒนา 2) เปา้ หมายการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด (ระยะ 5 ปี) แสดงสถานภาพ ท่ีจังหวัดและกลุ่มจังหวัดต้องการจะเป็นหรือบรรลุถึงในอนาคตอย่างชัดเจน สอดคล้องกับโอกาส ศักยภาพ ปญั หา และอุปสรรค ท่ีเปน็ ลกั ษณะเฉพาะของจังหวัดและกลุม่ จังหวัด 3) ตัวชี้วัดความสาเร็จตามเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ตวั ชว้ี ัดจะตอ้ งมีความชดั เจนสอดคล้องเชอ่ื มโยงกบั เป้าหมายการพัฒนาตลอดช่วงระยะเวลาของแผน มีจานวน ตัวช้ีวัดท่ีเหมาะสมและสามารถวัดได้ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สาหรับค่าเป้าหมายจะต้องมี ความสอดคล้องกับค่าฐาน (ข้อมูลในช่วงท่ีผ่านมา และต้องระบุค่าฐานอย่างเหมาะสม ชัดเจน มีแหล่งท่ีมา และเป็นปัจจุบัน) หรือค่าเป้าหมาย (Benchmark) และแสดงถึงความก้าวหน้าอย่างเหมาะสมและเป็นไปได้ ในแต่ละปี
4 4) ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด กาหนดประเด็นการพัฒนา ของจังหวดั และกลุ่มจงั หวดั ท่สี อดคล้องกับผลท่ีไดจ้ ากบทวิเคราะห์บริบท ท้ังศักยภาพ โอกาส ปัญหาสาคัญ และ ความต้องการของพื้นท่ี (Area) รวมท้ังสอดคล้องกับประเด็นการพัฒนาระดับชาติ (Agenda) และทิศทางการ พัฒนาภาค ประกอบด้วย ประเดน็ การพฒั นา วตั ถุประสงค์ ของแต่ละประเด็นการพฒั นา เป้าหมายและตัวช้ีวัด ของแต่ละประเด็นการพัฒนา ตัวชี้วัดจะต้องมี ความชัดเจนสอดคล้องเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาตลอดช่วงระยะเวลาของแผน มีจานวนตัวชี้วัด ที่เหมาะสมและสามารถวัดได้ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ สาหรับค่าเป้าหมายจะต้องมีความสอดคล้อง กับค่าฐาน (ข้อมูลในช่วงที่ผ่านมา และต้องระบุค่าฐานอย่างเหมาะสม ชัดเจน มีแหล่งที่มา และเป็นปัจจุบัน) หรือค่าเปา้ หมาย (Benchmark) และแสดงถงึ ความกา้ วหน้าอย่างเหมาะสมและเป็นไปไดใ้ นแตล่ ะปี แนวทางการพัฒนา ของแต่ละประเด็นการพัฒนา ต้องมีความสอดคล้อง และเพียงพอที่จะขับเคล่ือนประเด็นการพัฒนาให้ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ โดยครอบคลุม ตลอดหว่ งโซก่ ารพัฒนาหรอื ห่วงโซค่ ุณคา่ (Value Chain) แผนงานและโครงการสาคัญ หมายถึง รายการเก่ียวกับแผนงานและ โครงการต่างๆ ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่จาเป็นต้องจัดทาเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทาง การพัฒนาของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดในอนาคต โดยให้จัดทาเป็นแผนงานและโครงการสาคัญเพื่อขับเคล่ือน แนวทางการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผนในระยะ 5 ปี โดยควรกาหนดแผนงานในทุกแนวทางการพัฒนา และโครงการสาคัญภายใต้แผนงานจะต้องบรรจุอยู่ใน แผนปฏิบัตริ าชการประจาปตี ามระยะเวลาที่กาหนด แผนงาน ในแต่ละแนวทางการพัฒนา อาจจัดทาแผนงานได้มากกว่า 1 แผนงาน โดยแต่ละแผนงานจะต้องประกอบด้วยการบูรณาการชุดของโครงการสาคัญท่ีเชื่อมโยงส่งต่อ ในลักษณะห่วงโซ่การพัฒนาหรือห่วงโซ่คุณค่า (โครงการต้นทาง-กลางทาง-ปลายทาง) ซ่ึงต้องครอบคลุมและ เพียงพอทีจ่ ะทาใหบ้ รรลุเปา้ หมายการพัฒนาตามที่กาหนดไว้ในชว่ งเวลาของแผน 5 ปี โครงการสาคัญ ควรมีลักษณะเป็นโครงการท่ีมีกิจกรรม พ้ืนท่ี เป้าหมาย และผลลัพธ์ท่ีชัดเจน ตอบสนองการขับเคล่ือนแผนงานเพ่ือบรรลุเป้าหมายของแผนพัฒนาจังหวัดและ กลุ่มจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ กรณีมีพ้ืนที่และกลุ่มเป้าหมายจานวนมาก จะต้องจัดลาดับความสาคัญ และ แบง่ ระยะเวลาดาเนินงานเป็นรายปี ทั้งนี้ ทกุ โครงการสาคัญที่เสนอในแผนพัฒนาจะต้องจัดทารายละเอียด ดังนี้ (๑) ชอื่ โครงการสาคัญ (๒) ชอ่ื แผนงาน (๓) ประเดน็ การพฒั นาของจังหวดั และกลมุ่ จงั หวัด (ระบุว่าโครงการ อยู่ภายใต้ประเด็นการพฒั นาใดของจงั หวัดและกลุ่มจังหวัด) (๔) แนวทางการพัฒนาของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด (ระบุว่าโครงการ อยูภ่ ายใต้แนวทางการพัฒนาใดของจงั หวัดและกลุม่ จังหวัด) (๕) หลักการและเหตุผล (๖) วตั ถุประสงค์ของโครงการ
5 (๗) ตัวช้ีวัดและค่าเป้าหมาย (ต้องสามารถวัดความสาเร็จของ การดาเนนิ โครงการได)้ (๘) พน้ื ที่เปา้ หมาย (๙) กิจกรรมหลกั (๑๐) หนว่ ยดาเนินการ (ให้ระบหุ น่วยงานผูร้ บั ผดิ ชอบหลกั ของโครงการ และหนว่ ยงานอน่ื ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการดาเนนิ โครงการ) (๑๑) ระยะเวลาในการดาเนนิ โครงการ (๑๒) งบประมาณ (๑๓) ผลผลิต (Outputs) (๑๔) ผลลพั ธจ์ ากการดาเนนิ โครงการ (Outcomes) สาหรับโครงการอ่ืนที่สนับสนุนการขับเคลื่อนแผนพัฒนา และมี ความสอดคล้องกับแนวทางและแผนงานที่กาหนด สามารถเสนอใน แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปีได้ 2.4 การดาเนินการตามมาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๗ วรรค ๒ แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดดาเนินการ จัดประชมุ ปรึกษาหารอื ตามมาตรา ๑๙ และมาตรา ๒๗ วรรค ๒ แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงาน จังหวดั และกลุ่มจงั หวดั แบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมแี นวทาง ดงั น้ี 2.4.1 กรณีแผนพัฒนาจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดนาร่างแผนพัฒนาจังหวัด พ.ศ. 2566 – 2570 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 รับฟังความคิดเห็นในการประชุมปรึกษาหารือ ร่วมกันกับบุคคลจากภาคส่วนต่างๆ ในจังหวัด ตามมาตรา ๑๙ แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงาน จังหวดั และกล่มุ จังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ และเมื่อได้ผลการรับฟังความคิดเห็นแล้วให้จังหวัดนาผล การประชุมและข้อคิดเห็นของท่ีประชุมเสนอคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เพื่อปรับปรงุ แผนพัฒนาจงั หวัดให้สมบรู ณต์ อ่ ไป 2.4.2 กรณีแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดท่ีเป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัด นาร่างแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด พ.ศ. 2566 – 2570 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 รับฟังความคิดเห็น ในการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันกับบุคคลจากภาคส่วนต่างๆ ในกลุ่มจังหวัดตามมาตรา ๒๗ วรรค ๒ แห่ง พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ และเม่ือได้ ผลการรับฟังความคดิ เหน็ แลว้ ให้นาผลการประชมุ และขอ้ คิดเห็นของที่ประชุมเสนอคณะกรรมการบริหารงาน กลมุ่ จังหวัดแบบบรู ณาการ (ก.บ.ก.) เพ่อื ปรับปรุงแผนพัฒนากลมุ่ จงั หวดั ให้สมบรู ณต์ ่อไป ท้ังนี้ หากในปีงบประมาณใดจังหวัดและกลุ่มจังหวัดมีการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดและ แผนพฒั นากล่มุ จังหวดั ก่อนระยะเวลาสน้ิ สุดแผน (พ.ศ. 2570) ใหด้ าเนินการตามข้อ 2.4.1 – 2.4.2
6 หลักเกณฑก์ ารจัดทาแผนปฏิบตั ริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 - 2570 (มตคิ ณะกรรมการบรู ณาการนโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) คร้ังท่ี 2/2564 เมอื่ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2564) ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดยแผน ดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และแนวทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และมีหลักเกณฑ์การจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการประจาปขี องจังหวดั และกลุ่มจังหวดั ดงั นี้ 1. หลกั เกณฑ์การจัดทาแผนปฏิบัตริ าชการประจาปขี องจงั หวัดและกลุ่มจงั หวัด โครงการที่ดาเนินการโดยจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด และกล่มุ จังหวัด ซ่งึ จะเสนอเปน็ คาของบประมาณของจงั หวัดและกลมุ่ จังหวดั จะต้องเปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ ดงั น้ี 1.1 ความสอดคล้องและเช่ือมโยงของแผน โครงการจะต้องมีความสอดคล้องกับแนวทาง การพัฒนาภายใต้แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และเช่ือมโยงตามห่วงโซ่การพัฒนา/ห่วงโซ่คุณค่าตาม แผนงานท่กี าหนด เพือ่ ขบั เคล่ือนการพัฒนา หรือแก้ไขปัญหาของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้บรรลุผลอย่างยั่งยืน รวมท้งั สนบั สนนุ การขับเคลื่อนยุทธศาสตรช์ าติ แผนแมบ่ ท แผนระดบั ชาติ นโยบายรัฐบาล ทิศทางการพัฒนาภาค ตามศกั ยภาพ และปัญหาหรือความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี ท้ังน้ี ต้องให้ความสาคัญกับโครงการสาคัญ ทีป่ รากฏในแผนพัฒนาจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวัดก่อน และสามารถเสนอโครงการอ่ืนท่ีมีความจาเป็นเพ่ือสนับสนุน การขบั เคลื่อนแผนพัฒนา มีความสอดคลอ้ งกับแนวทางและแผนงานทกี่ าหนดเพมิ่ เติมได้ 1.2 ความพรอ้ มและความเหมาะสมของโครงการ มหี ลักเกณฑ์ ดงั นี้ 1.2.1 โครงการต้องมีรายละเอียดข้อมูลที่ครบถ้วนตามแบบฟอร์มท่ี ก.บ.ภ. กาหนด โดยกรณีท่ีเป็นโครงการก่อสร้างจะต้องระบุความพร้อมของพื้นที่ดาเนินงานรวมท้ังแบบรูปรายการโดยสังเขป พร้อมด้วยเอกสารยืนยันว่าสามารถดาเนินโครงการได้ทันทีหลังจากผ่านการพิจารณาของ ก.บ.ภ. และต้องมี รายละเอียดประมาณการค่าใช้จ่ายที่สามารถพิจารณาความเหมาะสมของค่าใช้จ่ายได้ หากโครงการใดไม่มี รายละเอียดขอ้ มูลดังกล่าวอยา่ งครบถ้วน โครงการน้ันจะไมไ่ ด้รบั การพิจารณา 1.2.2 โครงการจะตอ้ งดาเนนิ การโดยหนว่ ยงานที่มีภารกิจรับผิดชอบโดยตรงตามกฎหมาย ในกรณที ี่มีสนิ ทรัพยท์ ่เี กดิ จากการดาเนนิ โครงการ หนว่ ยงานดังกลา่ วจะตอ้ งมีการตั้งงบประมาณสาหรับบริหาร จัดการและบารุงรักษาในระยะต่อไป โดยต้องมีการจัดทาบันทึกข้อตกลงระหว่างจังหวัดและกลุ่มจังหวัดกับ หน่วยงานดังกล่าวแนบมาพร้อมกับคาขอโครงการ หากไม่มีเอกสารบันทึกข้อตกลงแนบมา โครงการน้ัน จะไมไ่ ด้รบั การพิจารณา 1.2.3 โครงการต้องมคี วามเหมาะสมและเป็นไปได้ทั้งด้านเทคนิค (วิธีการหรือรูปแบบท่ี ใช้ในการดาเนินการ) ด้านกายภาพ (ความพร้อมของพ้ืนที่ดาเนินงาน บุคลากร การบริหารความเส่ียง และ การบริหารจดั การ) ด้านงบประมาณ (ความสมเหตุสมผลของวงเงินกับประโยชน์ท่ีได้จากการดาเนินโครงการ) และดา้ นระยะเวลา (ต้องดาเนินการได้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ) รวมท้ังการวิเคราะห์ผลกระทบเชิงบวก และเชิงลบในการดาเนินโครงการ ทั้งน้ี โครงการที่ต้องดาเนินการในพ้ืนที่ที่ต้องได้รับการอนุมัติ/อนุญาต ต้องได้รับการอนุมัติ/อนุญาตจากเจ้าของพ้ืนที่/หน่วยงานเจ้าของพ้ืนท่ีก่อนที่จะเสนอขอโครงการ เช่น พื้นท่ี อุทยานแห่งชาติ ป่าสงวนแห่งชาติ ที่ดินธรณีสงฆ์ เป็นต้น สาหรับโครงการที่จะต้องประเมินผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม ให้ยื่นเอกสารการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมาพร้อมกับคาขอโครงการด้วย รวมถึง โครงการท่ีเก่ียวกับแหล่งน้าจะต้องดาเนินการตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติกาหนด
7 โดย อ.ก.บ.ภ.ภาค ก.น.จ. และ ก.บ.ภ. จะพิจารณาและให้ความเห็นชอบเฉพาะโครงการท่ีมีความพร้อมใน การดาเนินโครงการเท่านั้น 1.2.4 โครงการต้องมีความคุ้มค่า โดยต้องแสดงผลลัพธ์ หรือประโยชน์ของโครงการที่ คาดว่าจะได้รับด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง หรือทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อาทิ จานวน ประชากร จานวนเกษตรกร พื้นท่ีเพาะปลูก รายได้ ฯลฯ โดยเฉพาะผลประโยชน์ที่ประชาชนในพื้นท่ีจะได้รับ อย่างชัดเจน และต้องมีความสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มีความยั่งยืน และสามารถพ่ึงพา ตนเองได้ในระยะยาว 1.3 จงั หวัดและกลุม่ จังหวัดสามารถเสนอโครงการที่ใช้ระยะเวลาในการดาเนินการต่อเน่ืองได้ โดยแบ่งระยะเวลาดาเนินการเป็นรายปี (Phasing) พร้อมแสดงเหตุผลความจาเป็นท่ีต้องดาเนินการต่อเน่ือง มากกว่าหน่ึงปีว่าหากไม่ดาเนินการต่อเน่ืองจะส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างไร ท้ังน้ีโครงการ ท่ีต้องใช้ระยะเวลาในการดาเนินการมากกว่าหนึ่งปี และมีความจาเป็นต้องมีการเตรียมการล่วงหน้า ก่อนท่ี จะเสนอคาขอโครงการ อาทิ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) รายงานผลกระทบส่ิงแวดล้อม เบื้องตน้ (IEE) การประเมินผลกระทบทางส่งิ แวดล้อมและสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการ (EHIA) การประชาพิจารณ์ ฯลฯ รวมถึงการศึกษาและออกแบบสาหรับการจัดทาโครงการ เช่น แบบรูปรายการ ก่อสร้าง การจัดทา ปร.4 ปร.5 เป็นต้น ให้ประสานหน่วยงานดาเนินการให้เรียบร้อยก่อน เพื่อให้สามารถ ดาเนินการได้ภายในปีงบประมาณท่ไี ด้รบั อนมุ ตั ิงบประมาณ 1.4 โครงการทีม่ กี ารใชร้ ะยะเวลาในการดาเนินการต่อเน่ือง และโครงการท่ีดาเนินการเป็น ประจาทุกปี เช่น โครงการกระตุ้นการท่องเที่ยวประจาปี โครงการท่ีดาเนินกิจกรรมเดิมแต่เปล่ียนหรือขยายพ้ืนท่ี ดาเนินการหรือกลุ่มเป้าหมาย เป็นต้น จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจะต้องรายงานความสาเร็จของการดาเนินงาน ทีผ่ า่ นมา พรอ้ มท้ังแสดงความก้าวหนา้ ในการบรรลวุ ัตถุประสงค์และค่าเป้าหมายที่กาหนดไว้ในแผนพัฒนาจังหวัด และแผนพฒั นากลุม่ จังหวัด 1.5 การจัดลาดับความสาคัญของโครงการ ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดต้องเสนอโครงการ พร้อมจัดลาดับความสาคัญโดยรวมรายโครงการภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจาปี สาหรับโครงการด้าน โครงสร้างพ้ืนฐาน เช่น ถนน แหล่งน้า ไฟฟ้าส่องสว่าง เขื่อนป้องกันตลิ่ง ให้จัดลาดับความสาคัญของกิจกรรม ภายใตโ้ ครงการ เพอื่ ประกอบการพจิ ารณาด้วย 1.6 ขอ้ กาหนดลักษณะและคุณสมบตั เิ ฉพาะของโครงการ มีดังนี้ 1.6.1 โครงการต้องไม่เป็นการจัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์เพื่อแจกจ่ายแก่ประชาชนโดยตรง ยกเว้นในกรณีของครุภัณฑ์ที่จัดซื้อน้ัน เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมภายใต้โครงการที่สอดคล้องกับแนวทาง การพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด สาหรับโครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพจะสนับสนุนเฉพาะวัสดุ ประกอบการฝกึ อบรม 1.6.2 โครงการตอ้ งไม่เป็นการจดั ซ้ือครุภัณฑ์เพ่ือใช้งานตามภารกิจปกติของส่วนราชการ ยกเว้นในกรณีของครุภัณฑ์ท่ีจัดซ้ือนั้น เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมภายใต้โครงการท่ีสอดคล้องกับแนวทางการ พฒั นาจงั หวัดและกล่มุ จังหวดั 1.6.3 โครงการตอ้ งไม่เป็นค่าใชจ้ ่ายสาหรับการปรับปรุง ซ่อมแซม หรือก่อสร้าง อาคาร สถานทแี่ ละระบบสาธารณปู โภคของส่วนราชการ เพ่อื ใช้งานตามภารกจิ ปกติของส่วนราชการ ยกเว้นค่าใช้จ่าย ในการบารุง ดูแล รักษา หรือค่าสาธารณูปโภคฯ ของสินทรัพย์ท่ีอยู่ระหว่างการโอนสินทรัพย์ให้ส่วนราชการ
8 เฉพาะสินทรัพย์ท่ีเกิดข้ึนจากการดาเนินโครงการท่ีได้รับความเห็นชอบจาก ก.บ.ภ. โดยให้เจียดจ่ายจาก เงนิ เหลือจา่ ยในการดาเนินโครงการจงั หวัดและกลุ่มจังหวัดเป็นลาดับแรก และจากงบบริหารจัดการเป็นลาดับ ตอ่ มา 1.6.4 โครงการต้องไม่มีวัตถุประสงค์หลักเก่ียวกับการศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน เว้นแต่ ฝึกอบรมด้านอาชีพ ด้านความมั่นคง หรือเป็นประเด็นสาคัญของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ซึ่งต้องมีการระบุไว้ ในสว่ นของประเด็นปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่ และบทวิเคราะห์ของแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด โดยกลุ่มเป้าหมายต้องไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายเดียวกับส่วนราชการอ่ืน รวมทงั้ จะต้องแสดงเปา้ หมายโดยรวมและขอบเขตการดาเนนิ งานระหว่างจังหวัดและกลุ่มจังหวัดกับส่วนราชการ ให้ชัดเจน 1.6.5 โครงการต้องไม่เป็นกิจกรรมย่อย ควรบูรณาการกิจกรรมประเภทเดียวกัน หรือ เก่ียวข้องกนั เข้าด้วยกัน ให้เป็นโครงการทจี่ ะสามารถส่งผลต่อการพัฒนาระดับจงั หวัดและกลุ่มจังหวดั 1.6.6 โครงการต้องไม่เป็นการเดินทางไปต่างประเทศ เว้นแต่เป็นกิจกรรมท่ีมีข้อผูกพัน ในเร่อื งการเจรจาด้านการค้าและการลงทุน การท่องเที่ยว และการเสริมสร้างความสัมพันธ์กับประเทศในกลุ่ม ประชาคมอาเซียน สาธารณรฐั ประชาชนจีน ญ่ปี ุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ท้ังนี้ จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจะต้อง มีแผนการดาเนินงานที่สะท้อนถึงประโยชน์จากการไปราชการต่างประเทศอย่างเป็นรูปธรรม กรณีที่ไม่ได้มี ข้อผกู พนั กบั ตา่ งประเทศ ตอ้ งแสดงใหเ้ ห็นถึงความคมุ้ คา่ ของการดาเนนิ งาน กรณีเป็นการเดินทางเพื่อไปเจรจา เกี่ยวกับการค้า การลงทุน หรือการเจรจาที่มีผลให้เกิดข้อผูกพันระหว่างกัน จะต้องขอความเห็นเก่ียวกับ ประเด็นท่จี ะไปเจรจาจากหน่วยงานหลักทีเ่ กีย่ วข้องก่อนและต้องจัดทารายงานผลการดาเนินงานภายหลังจาก การเดินทางไปต่างประเทศทุกกรณี ทั้งนี้ จะเสนอต่อ อ.ก.บ.ภ.ภาค ก.น.จ. และ ก.บ.ภ. เพ่ือรับทราบผล การดาเนินงานท่ีตอบสนองต่อแนวทางการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด รวมทั้งผลลัพธ์ท่ีเกิดข้ึนเป็น ประโยชน์กับพ้ืนท่ีจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และจัดส่งรายงานผลการดาเนินการดังกล่าวมายังฝ่ายเลขานุการ ก.บ.ภ. ภายใน 45 วนั หลงั การเดินทาง 1.6.7 โครงการตอ้ งไมเ่ ป็นโครงการขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ 2. การจัดทาแบบสรุปแผนงานโครงการท่ีจังหวัดและกลุ่มจังหวัดขอรับการสนับสนุนจาก กระทรวง/กรม (แบบ จ.๓ : กรณีจงั หวดั / แบบ กจ.๓ : กรณีกลมุ่ จงั หวดั ) ในการจดั ทาแบบสรุปแผนงานโครงการท่ีจังหวัดและกลุ่มจังหวัดขอรับการสนับสนุนจากกระทรวง/ กรมเพอ่ื ดาเนินการให้สอดคล้องตามความต้องการของแผนจังหวัดและกลุ่มจังหวัด (แบบ จ.๓ : กรณีจังหวัด/ แบบ กจ.๓ : กรณีกลมุ่ จังหวัด) ใหจ้ งั หวดั และกลุ่มจังหวดั เสนอแผนงานโครงการที่มีลาดับความสาคัญสูงและมี ผลกระทบ (Impact) สูงต่อการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดยให้เสนอแผนงานโครงการได้ไม่เกิน 10 โครงการ พร้อมท้ังจัดเรียงลาดับความสาคัญ ซึ่งกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้ประมวลรวบรวม และประสานแจ้งกระทรวง เพ่ือรับไปพจิ ารณาบรรจใุ นแผนปฏบิ ตั ิการของกระทรวง/กรมตอ่ ไป 3. กระบวนการและกาหนดการสง่ แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปขี องจังหวัดและกลมุ่ จังหวัด 3.1 ให้ ก.บ.จ. /ก.บ.ก. เสนอโครงการโดยมีการจัดลาดับความสาคัญของโครงการ เพื่อเสนอ อ.ก.บ.ภ. ทกี่ ากบั ดแู ลภาคพิจารณากลน่ั กรองตามขนั้ ตอนต่อไป
9 3.2 ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจัดส่งแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2566 – 2570 ใหท้ มี บูรณาการกลาง ภายในวันที่ 30 กนั ยายน ของปีทด่ี าเนินการจัดทาแผน 4. การสรุปการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปขี องจงั หวดั และกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดสรุปรายการโครงการ กิจกรรม และงบประมาณท่ีได้ดาเนินการตาม แผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด พร้อมทั้งผลผลิต ผลสัมฤทธิ์ และปัญหาอุปสรรค ในการดาเนินโครงการ ในระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ภายใน 30 วันหลังส้ินสุด ปงี บประมาณ
10 แนวทางการกาหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570 (มตคิ ณะกรรมการบรู ณาการนโยบายพฒั นาภาค (ก.บ.ภ.) คร้ังท่ี 2/2564 เมอื่ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2564) การจัดสรรงบประมาณจงั หวัดและกลุ่มจังหวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 - 2570 มีแนวทาง ในการกาหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณ ดงั นี้ 1. กรอบงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 - 2570 สาหรับงบประมาณ จงั หวัดและกลมุ่ จงั หวดั จานวน ๒๘,๐๐๐ ลา้ นบาทต่อปี 2. สัดส่วนการจัดสรรงบประมาณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด กาหนดเป็น ๗๐:๓๐ จากกรอบ งบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด จานวน ๒๘,๐๐๐ ล้านบาท แบ่งเป็น (1) งบประมาณจังหวัด จานวน ประมาณ ๑๙,๖๐๐ ล้านบาท (งบพัฒนาจังหวัด ๑๘,๙๐๕ ล้านบาท และงบบริหารจัดการของจังหวัด ๖๙๕ ลา้ นบาท) และ (2) งบประมาณกลุ่มจังหวัด จานวนประมาณ ๘,๔๐๐ ล้านบาท (งบพัฒนากลุ่มจังหวัด ๘,๓๑2 ลา้ นบาท และงบบริหารจัดการของกลุ่มจงั หวัด 88 ล้านบาท) 3. งบประมาณของจังหวัด 3.1 ให้จังหวัดเสนอโครงการไม่น้อยกว่า 1.5 เท่า แต่ไม่เกิน 2 เท่า ของกรอบการจัดสรร งบประมาณ หากเสนอเกินกรอบดังกล่าว จะพิจารณาตามลาดับความสาคัญของโครงการเฉพาะท่ีอยู่ในกรอบ วงเงินงบประมาณ 2 เท่า เท่านัน้ 3.2 องคป์ ระกอบในการจดั สรรงบประมาณจงั หวัด ประกอบด้วย 1) จดั สรรเฉลย่ี เท่ากันทุกจงั หวดั (ร้อยละ 20) 2) จัดสรรตามจานวนประชากรของแต่ละจังหวัด (ร้อยละ 20) (ขอ้ มูลของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปี 256x) 3) จดั สรรตามขนาดพนื้ ทีจ่ ังหวดั (ร้อยละ 5) 4) จดั สรรตามสัดสว่ นคนจนในแตล่ ะจังหวดั (ร้อยละ 10) (ข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ปี 256x) 5) จัดสรรผกผนั ตามรายได้ต่อครัวเรือน (รอ้ ยละ 25) (ข้อมูลของสานักงานสถติ แิ ห่งชาติ ปี 256x) 6) จดั สรรตามผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) (ร้อยละ 10) (ข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ปี 256x) 7) จัดสรรตามประสิทธภิ าพการบรหิ ารงบประมาณของจงั หวัดปีงบประมาณ พ.ศ. 256x (รอ้ ยละ 10) (ขอ้ มลู จากสานักงบประมาณ) โดยมีเกณฑ์ยอ่ ยในการพจิ ารณา ดงั น้ี ประเด็นการพจิ ารณา คะแนน ๑. ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณของจงั หวัด 50 ๒. ผลการกอ่ หน้ีผกู พนั ของจังหวดั 20 ๓. การขอปรับแผนปฏบิ ตั ริ าชการและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ 20 ๔. รายการงบประมาณทถี่ ูกพับของจงั หวัด 10 100 รวม หมายเหตุ ข้อมลู ที่ใช้ในการคานวณกรอบการจัดสรรงบประมาณจงั หวดั จะใช้ข้อมลู ปลี ่าสุด
11 4. งบประมาณของกลุ่มจงั หวัด 4.1 กาหนดสัดส่วนการจัดสรรงบพัฒนากลุ่มจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 - 2570 งบพฒั นากลุ่มจงั หวัด แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน กาหนดสัดสว่ นร้อยละ 50:50 ได้แก่ 1) งบประมาณเพ่ือขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่เป็นการเพ่ิมศักยภาพตาม ความตอ้ งการรายพนื้ ท่ี หรือแก้ไขปัญหาท่เี ปน็ ประเดน็ รว่ มของกลุ่มจังหวดั 2) งบประมาณเพื่อขับเคล่ือนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดท่ีเป็นการพัฒนาในลักษณะ Cluster หรอื ตอบสนองนโยบายสาคัญของรัฐบาลเชงิ พืน้ ท่ี ระดบั กล่มุ จังหวัด 4.2 งบประมาณเพ่ือขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดท่ีเป็นการเพ่ิมศักยภาพที่เป็น ความต้องการรายพ้ืนที่ หรือแก้ไขปัญหาที่เป็นประเด็นร่วมของกลุ่มจังหวัด วงเงินงบประมาณ 4,156 ล้านบาท มอี งคป์ ระกอบในการจัดสรรงบประมาณ ดงั น้ี 1) จดั สรรตามขนาดกลมุ่ จงั หวดั (รอ้ ยละ 50) 2) จดั สรรตามผลติ ภัณฑม์ วลรวมของกลมุ่ จงั หวดั (รอ้ ยละ 25) (ขอ้ มูลของสานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ปี 256x) 3) จัดสรรผกผนั กับผลิตภัณฑ์ตอ่ หวั ของกลุ่มจังหวดั (ร้อยละ 25) (ขอ้ มลู ของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ปี 256x) หมายเหตุ ข้อมลู ทใ่ี ช้ในการคานวณกรอบการจัดสรรงบประมาณกลมุ่ จังหวัดจะใช้ข้อมูลปลี า่ สุด ท้ังน้ี กาหนดให้กลุ่มจังหวัดเสนอโครงการได้ไม่น้อยกว่า 1.5 เท่า แต่ไม่เกิน 2 เท่า ของ กรอบการจัดสรรงบประมาณ หากเสนอเกินกรอบดังกล่าว จะพิจารณาตามลาดับ ความสาคัญของโครงการเฉพาะท่ีอยู่ในกรอบวงเงินงบประมาณ 2 เทา่ เทา่ นน้ั 4.3 งบประมาณเพื่อขับเคล่ือนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดท่ีเป็นการพัฒนาในลักษณะ Cluster หรอื ตอบสนองนโยบายสาคัญของรัฐบาลเชิงพ้ืนท่ี ระดับกลุ่มจังหวัด วงเงินงบประมาณรวม 4,156 ล้านบาท โดยไม่มีการกาหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณรายกลุ่มจังหวัด แต่จะพิจารณาเป็นรายโครงการ ท้ังนี้ โครงการที่เสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณ ต้องเป็นโครงการที่อยู่ในแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด พ.ศ. ๒๕๖6 - 2570 ท่ีมลี ักษณะ ดงั น้ี 1) โครงการท่ีสนับสนนุ การขบั เคลื่อนประเดน็ การพฒั นาภายใตแ้ ผนพัฒนาภาคให้บรรลุ เป้าหมายการพัฒนาของแต่ละภาค โดยเป็นโครงการที่มีความเชื่อมโยงสอดคล้องกันเพ่ือก่อให้เกิดการสร้าง มลู คา่ เพ่ิมตลอดหว่ งโซก่ ารพฒั นา/หว่ งโซค่ ุณค่า ท้งั ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง โดยคานึงถึงศักยภาพและ โอกาสของพื้นท่ี 2) โครงการท่ีอยู่ในมติการประชุมคณะรัฐมนตรีอย่างเป็นทางการนอกสถานที่ หรือ โครงการที่ดาเนินการตามข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรีในการตรวจราชการในพ้ืนท่ี หรือโครงการท่ีสนับสนุน การขับเคล่ือนการพัฒนาตามนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ของรัฐบาล เช่น โครงการตามแนวทางการพัฒนา พื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ้ืนท่ีระเบียง เศรษฐกจิ พเิ ศษภาคใต้ พ้ืนทรี่ ะเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคกลาง – ตะวนั ตก เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ เป็นต้น
12 ทั้งน้ี โครงการจะต้องมีความพร้อมในการดาเนินงาน โดยมีเอกสารยืนยันความพร้อม ทั้งใน เร่ืองที่ดิน รายละเอียดแบบรูปรายการ บุคลากร และข้อตกลงกับหน่วยงานรับผิดชอบในการดาเนินงานและ การบารุงรักษา และการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เก่ียวข้อง รวมทั้งโครงการต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ การจัดทาโครงการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 - 2570 ท่ี ก.บ.ภ. ได้ให้ความเห็นชอบ และสามารถ ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี หากเป็นโครงการท่ีมีระยะเวลาดาเนินการเกิน 1 ปี ให้แบ่งการดาเนินการ เปน็ ระยะๆ ละ 1 ปี (Phasing) 5. การจัดสรรงบบริหารจัดการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ให้รวมอยู่ภายใต้กรอบงบประมาณ ท่แี ต่ละจังหวดั และกลุ่มจังหวัดไดร้ ับการจัดสรร แยกเปน็ 5.1 กรณขี องจงั หวดั จัดสรรตามขนาดจังหวดั ซง่ึ มี 3 องคป์ ระกอบ ดังนี้ 1) จานวนอาเภอในจังหวัด (ร้อยละ 40) 2) จานวนประชากรในจังหวดั (ร้อยละ 30) 3) ขนาดพ้ืนท่ีของจังหวดั (ร้อยละ 30) ซ่ึงจากเกณฑ์ดังกล่าวสามารถแบ่งขนาดของจังหวดั ไดเ้ ปน็ 3 ขนาด ดงั น้ี 1) จงั หวัดขนาดใหญ่ ให้ได้รบั งบบริหารจัดการ 10 ลา้ นบาท มีจานวน 24 จงั หวัด 2) จงั หวดั ขนาดกลาง ให้ได้รบั งบบริหารจัดการ 9 ลา้ นบาท มจี านวน 39 จังหวดั 3) จงั หวัดขนาดเล็ก ให้ไดร้ ับงบบรหิ ารจดั การ 8 ลา้ นบาท มีจานวน 13 จังหวัด รวมใชง้ บบรหิ ารจัดการของจงั หวดั จานวน 695 ล้านบาท 5.2 กรณีของกลุ่มจงั หวดั ใหจ้ ัดสรรตามหลกั เกณฑ์ ดงั นี้ 1) กลมุ่ จงั หวดั ทมี่ ีจานวนจังหวดั 3 จังหวดั ให้ไดร้ บั งบบรหิ ารจดั การ 4 ลา้ นบาท 2) กลมุ่ จงั หวดั ท่มี จี านวนจังหวดั 4-5 จงั หวดั ใหไ้ ด้รบั งบบริหารจดั การ 5 ล้านบาท 3) กลุ่มจงั หวัดทมี่ จี านวนจงั หวัด 6 จงั หวัด ใหไ้ ดร้ บั งบบริหารจัดการ 6 ล้านบาท รวมใชง้ บบริหารจดั การของกลุม่ จงั หวดั จานวน 88 ลา้ นบาท 5.3 แนวทางในการใช้จ่ายงบบริหารจัดการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย เกย่ี วกับ 1) การจัดประชุมหารือเพื่อจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดกับภาคส่วนต่างๆ ตามมาตรา ๕๓/๑ และมาตรา ๕๓/๒ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และ ที่แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ 2) การจัดประชุมคณะกรรมการบริหารงานจังหวัด (ก.บ.จ.) หรือคณะกรรมการ บริหารงานกลุ่มจังหวัด (ก.บ.ก.) 3) การศึกษาเพื่อพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ตามประเด็นการพัฒนาของจังหวัด และกลุ่มจงั หวดั 4) การสารวจความคดิ เห็นของประชาชนในจงั หวัดและกลุ่มจังหวัดซึ่งเป็นการดาเนินการ ตามมาตรา ๑๘ วรรคส่ี ของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
13 พ.ศ. ๒๕๕๑ (เป็นการสารวจความคิดเห็นเพ่ือทราบถึงปัญหาความต้องการ และศักยภาพของประชาชนใน ท้องถน่ิ ในจังหวัด รวมตลอดถึงความพร้อมของภาครัฐและภาคธรุ กจิ เอกชน) 5) การพฒั นาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เช่น การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เร่ืองการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแก่ ก.บ.จ. หรือ ก.บ.ก. บุคลากรในจังหวัดและกลุ่มจังหวัด การจัดทาระบบฐานข้อมูลในการจัดทายุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัด การส่งเสริมคุณภาพการ บริหาร จัดการภาครัฐ การจัดทาคมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านเกี่ยวกบั การจัดทาแผนฯ เป็นต้น 6) การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ภาคส่วนต่างๆ เพื่อเข้า มามีส่วนร่วมในการจัดทาแผน รวมท้งั เพื่อสนับสนนุ ในการขบั เคลอ่ื นการดาเนนิ งาน 7) การตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 8) การจ่ายเงินค่าธรรมเนียมศาล เงินตามคาพิพากษาของศาล หรือค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินคดี ไม่รวมค่าใช้จ่ายใดๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการพิจารณาคดีของอนุญาโตตุลาการและ ค่าธรรมเนียมกรมบังคับคดี ทั้งน้ี หากงบบริหารจัดการของจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดไม่เพียงพอต่อการจ่ายเงิน ตามคาพิพากษาของศาล ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือหัวหน้ากลุ่มจังหวัดแล้วแต่กรณี นาเงินเหลือจ่ายไป จ่ายเงนิ ตามคาพิพากษาของศาลได้ 9) การจา่ ยเงินชดเชยค่างานก่อสร้างตามสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K) โดยให้เจียดจ่าย จากเงินเหลือจ่ายในการดาเนินโครงการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เป็นลาดับแรก และจากงบบริหารจัดการ เป็นลาดับตอ่ มา สาหรับกรณกี ลมุ่ จงั หวัดเดิม ให้เบกิ เงนิ ชดเชยคา่ งานก่อสรา้ งฯ (ค่า K) จากกลุ่มจังหวัดท่ีจังหวัด สงั กัดในปจั จบุ ัน (กลุ่มจังหวดั ใหม่) และกรณกี ารเรยี กเงนิ คนื จากผู้รับจ้าง จากการดาเนินโครงการของกลุ่มจังหวัด เดิม ให้ส่งคืนกลุ่มจงั หวัดที่จงั หวดั สังกัดในปจั จบุ ัน (กลุม่ จังหวดั ใหม่) 10) ค่าใชจ้ า่ ยในการบารุง ดแู ล รักษา หรือคา่ สาธารณูปโภคฯ ของสนิ ทรัพย์ท่ีอยู่ระหว่าง การโอนสินทรัพย์ให้ส่วนราชการ เฉพาะสินทรัพย์ที่เกิดข้ึนจากการดาเนินโครงการที่ได้รับความเห็นชอบจาก ก.บ.ภ. โดยให้เจยี ดจ่ายจากเงนิ เหลือจ่ายในการดาเนินโครงการจงั หวดั และกลมุ่ จังหวดั เป็นลาดับแรก และจาก งบบริหารจดั การเป็นลาดับตอ่ มา 5.4 การบริหารจัดการเก่ียวกับคดีและพัสดุของกลุ่มจังหวัดเดิม (ประกาศคณะกรรมการ นโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ลงวันท่ี 18 กุมภาพันธ์ 2552) ให้ถือปฏิบัติ ดังนี้ 1) กรณีเป็นคดขี องกล่มุ จงั หวดั เดิม ให้ผวู้ ่าราชการจังหวดั ผ้รู ับมอบอานาจจากหัวหน้า กลุ่มจังหวัดเดิมเบิกเงินค่าธรรมเนียมศาล เงินตามคาพิพากษาของศาล หรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับ การดาเนินคดี จากงบบริหารจัดการของกลุ่มจังหวัดที่จังหวัดสังกัดในปัจจุบัน (กลุ่มจังหวัดใหม่) และหาก งบบริหารจัดการของกลุ่มจังหวัดไม่เพียงพอต่อการจ่ายเงินตามคาพิพากษาของศาล ให้หัวหน้ากลุ่มจังหวัด นาเงินเหลอื จ่ายไปจา่ ยเงนิ ตามคาพิพากษาของศาลได้ 2) การดาเนินการเก่ียวกับพัสดุของกลุ่มจังหวัดเดิม ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดผู้รับมอบ อานาจจากหัวหนา้ กลุ่มจงั หวัดเดมิ เสนอ ก.บ.ก. ที่จังหวดั สงั กดั ในปจั จบุ ัน (กล่มุ จังหวดั ใหม)่
14 กรอบการจดั สรรงบประมาณจังหวัด (เบ้ืองต้น) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ท่ี จังหวดั กรอบการจัดสรร งบบรหิ ารจดั การ หนว่ ย: ล้านบาท งบพัฒนาจงั หวดั ของจังหวัด ภาคเหนอื กรอบการจัดสรร 1 จงั หวดั เชยี งใหม่ 349.1237 งบพัฒนาจังหวัด 2 จงั หวัดลาปาง 229.2136 รวมงบบรหิ ารจดั การ 3 จงั หวัดอุตรดิตถ์ 207.2181 4 จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน 294.9257 10.0000 359.1237 5 จงั หวดั เชยี งราย 313.8769 10.0000 239.2136 6 จงั หวัดแพร่ 206.0877 9.0000 216.2181 7 จงั หวัดลาพนู 190.7809 9.0000 303.9257 8 จงั หวดั น่าน 237.0240 10.0000 323.8769 9 จงั หวดั พะเยา 236.7587 9.0000 215.0877 10 จงั หวดั นครสวรรค์ 253.8362 9.0000 199.7809 11 จงั หวดั พษิ ณโุ ลก 247.8424 10.0000 247.0240 12 จงั หวดั กาแพงเพชร 237.1189 9.0000 245.7587 13 จงั หวดั อุทัยธานี 193.0896 10.0000 263.8362 14 จงั หวดั สุโขทัย 217.6908 9.0000 256.8424 15 จังหวัดตาก 301.5848 9.0000 246.1189 16 จงั หวัดพจิ ติ ร 192.4031 9.0000 202.0896 17 จังหวัดเพชรบรู ณ์ 246.9770 9.0000 226.6908 10.0000 311.5848 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 321.6699 9.0000 201.4031 18 จังหวัดขอนแก่น 279.4448 10.0000 256.9770 19 จังหวัดอดุ รธานี 212.0607 20 จังหวดั เลย 192.3859 10.0000 331.6699 21 จังหวดั หนองคาย 215.1624 10.0000 289.4448 22 จังหวดั มุกดาหาร 232.6039 10.0000 222.0607 23 จังหวดั นครพนม 274.9166 9.0000 201.3859 24 จังหวดั สกลนคร 292.8925 8.0000 223.1624 25 จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ 423.5669 9.0000 241.6039 26 จังหวดั นครราชสีมา 254.9337 10.0000 284.9166 27 จงั หวัดชัยภูมิ 229.4907 10.0000 302.8925 28 จงั หวัดยโสธร 353.1626 10.0000 433.5669 29 จงั หวัดอบุ ลราชธานี 265.1730 10.0000 264.9337 30 จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด 344.2745 9.0000 238.4907 31 จังหวัดบรุ รี มั ย์ 280.5314 10.0000 363.1626 32 จงั หวัดสุรนิ ทร์ 10.0000 275.1730 10.0000 354.2745 10.0000 290.5314
15 ท่ี จงั หวดั กรอบการจัดสรร งบบรหิ ารจดั การ กรอบการจดั สรร งบพัฒนาจงั หวัด ของจงั หวดั งบพัฒนาจงั หวดั 33 จงั หวดั มหาสารคาม รวมงบบรหิ ารจัดการ 34 จังหวัดศรสี ะเกษ 227.6737 9.0000 35 จงั หวดั หนองบัวลาภู 301.1981 10.0000 236.6737 36 จงั หวดั อานาจเจรญิ 232.7095 9.0000 311.1981 37 จังหวัดบงึ กาฬ 189.1302 8.0000 ภาคกลาง 177.5025 9.0000 241.7095 38 จังหวัดราชบุรี 197.1302 39 จังหวดั กาญจนบรุ ี 261.1893 40 จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ์ 276.1666 186.5025 41 จังหวดั เพชรบรุ ี 200.8553 42 จังหวดั สุพรรณบรุ ี 199.4761 9.0000 270.1893 43 จังหวัดสมุทรสงคราม 271.7537 10.0000 286.1666 44 จงั หวัดสระบรุ ี 146.4719 9.0000 209.8553 45 จงั หวัดสิงหบ์ ุรี 212.4875 9.0000 208.4761 46 จงั หวัดชยั นาท 177.5612 9.0000 280.7537 47 จงั หวดั อ่างทอง 220.0454 8.0000 154.4719 48 จงั หวดั ลพบุรี 205.8210 9.0000 221.4875 49 จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 248.6967 8.0000 185.5612 50 จงั หวดั สมุทรปราการ 249.7678 8.0000 228.0454 51 จังหวัดปทุมธานี 348.7583 8.0000 213.8210 52 จังหวัดสมทุ รสาคร 254.2416 9.0000 257.6967 53 จังหวัดนครปฐม 243.0192 9.0000 258.7678 54 จังหวัดนนทบรุ ี 237.9762 9.0000 357.7583 ภาคตะวนั ออก 251.2619 9.0000 263.2416 55 จังหวัดชลบุรี 8.0000 251.0192 56 จังหวัดฉะเชงิ เทรา 411.1209 9.0000 246.9762 57 จังหวัดระยอง 271.4955 9.0000 260.2619 58 จงั หวดั ตราด 354.4173 59 จงั หวดั จนั ทบรุ ี 188.5301 10.0000 421.1209 60 จงั หวดั นครนายก 218.6138 9.0000 280.4955 61 จงั หวดั ปราจนี บุรี 179.1515 9.0000 363.4173 62 จงั หวดั สระแกว้ 237.0051 8.0000 196.5301 ภาคใต้ 255.5807 9.0000 227.6138 63 จงั หวดั ภเู กต็ 8.0000 187.1515 182.8008 9.0000 246.0051 64 จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี 9.0000 264.5807 260.3363 65 จังหวดั ระนอง 8.0000 190.8008 198.1972 10.0000 270.3363 8.0000 206.1972
16 ท่ี จงั หวัด กรอบการจดั สรร งบบรหิ ารจดั การ กรอบการจดั สรร งบพฒั นาจงั หวัด ของจงั หวัด งบพฒั นาจงั หวัด 66 จังหวัดพังงา รวมงบบรหิ ารจัดการ 67 จังหวดั กระบี่ 182.9609 8.0000 68 จงั หวัดชุมพร 193.4763 9.0000 190.9609 69 จังหวดั นครศรธี รรมราช 193.2848 9.0000 70 จงั หวดั สงขลา 308.2535 10.0000 202.4763 71 จังหวัดสตลู 303.7781 10.0000 72 จังหวัดตรัง 212.3386 8.0000 202.2848 73 จังหวัดพทั ลุง 214.4785 9.0000 ภาคใต้ชายแดน 246.0949 9.0000 318.2535 74 จงั หวดั ยะลา 75 จังหวดั นราธิวาส 313.7781 76 จังหวดั ปตั ตานี 220.3386 รวม 223.4785 255.0949 250.7328 9.0000 259.7328 296.9677 9.0000 305.9677 283.7997 9.0000 292.7997 18,905.0000 695.0000 19,600.0000 หมายเหตุ ในการคานวณกรอบการจัดสรรงบประมาณเบื้องตน้ กาหนดใหป้ ระสทิ ธภิ าพการบรหิ ารงบประมาณเทา่ กัน
17 กรอบการจัดสรรงบประมาณกลุ่มจงั หวดั (เบ้ืองต้น) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วย: ลา้ นบาท ที่ กลุ่มจงั หวัด กรอบการจดั สรร งบบรหิ ารจดั การ กรอบการจัดสรร งบพัฒนากลุ่มจังหวดั ของกล่มุ จังหวัด งบพัฒนากลุ่มจงั หวดั รวมงบบริหารจดั การ งบพัฒนากลมุ่ จังหวดั ส่วนที่ 1 202.0991 5.0000 207.0991 ภาคเหนอื 209.5364 5.0000 214.5364 238.8789 5.0000 243.8789 1 ภาคเหนือตอนบน 1 195.7266 5.0000 200.7266 2 ภาคเหนอื ตอนบน 2 3 ภาคเหนอื ตอนลา่ ง 1 245.3991 5.0000 250.3991 4 ภาคเหนือตอนล่าง 2 196.5492 4.0000 200.5492 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 224.0328 5.0000 229.0328 235.9714 5.0000 240.9714 5 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน 1 232.4936 5.0000 237.4936 6 ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน 2 7 ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนกลาง 8 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง 1 9 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง 2 ภาคกลาง 270.6313 6.0000 276.6313 10 ภาคกลางตอนบน 312.5835 5.0000 317.5835 11 ภาคกลางปรมิ ณฑล 12 ภาคกลางตอนลา่ ง 1 164.0863 4.0000 168.0863 192.0402 5.0000 197.0402 13 ภาคกลางตอนลา่ ง 2 ภาคตะวันออก 319.5036 4.0000 319.5036 220.8481 5.0000 220.8481 14 ภาคตะวันออก 1 258.3361 5.0000 263.3361 15 ภาคตะวนั ออก 2 247.0908 6.0000 253.0908 ภาคใต้ 190.1929 4.0000 194.1929 16 ภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย 4,156.0000 88.0000 4,244.0000 17 ภาคใต้ฝ่ังอนั ดามนั ภาคใตช้ ายแดน 18 ภาคใตช้ ายแดน รวมงบพฒั นากลุ่มจงั หวัด ส่วนที่ 1 และงบบริหารจดั การ รวมงบพัฒนากลมุ่ จงั หวดั ส่วนท่ี 2 4,156.0000 ของ 18 กลุ่มจงั หวดั รวม 8,400.0000
18 หลกั เกณฑ์การเปล่ียนแปลงโครงการตามแผนปฏิบัตริ าชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 - 2570 ของจงั หวดั และกลมุ่ จังหวดั (มตคิ ณะกรรมการบรู ณาการนโยบายพฒั นาภาค (ก.บ.ภ.) ครงั้ ท่ี 2/2564 เมอื่ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2564) เมื่อจังหวัดและกลุ่มจังหวัดได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี จะต้องเร่งรัดดาเนินโครงการ ตามที่ได้รับจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับเป้าหมายการดาเนินงานและการเบิกจ่ายท่ีรัฐบาลกาหนดตาม มาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีอย่างเคร่งครัด หากมีความจาเป็นเร่งด่วน ท่ีจังหวัดและกลุ่มจังหวัดจะต้องดาเนินการขอโอนเปลี่ยนแปลง จังหวัดและกลุ่มจังหวัดจะต้องแสดงเหตุผล ความจาเป็น เพื่อประกอบการพิจารณาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ท้ังน้ี การเปลี่ยนแปลงโครงการทุกกรณี ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือหัวหน้ากลุ่มจังหวัด ดาเนินการตามระเบียบการบริหารงบประมาณท่ีเก่ียวข้องและ ให้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์การเปล่ียนแปลงโครงการตามแผนปฏิบัติราชการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 – 2570 ท้งั กรณงี บประมาณปกติและและงบประมาณเหลือจา่ ย ดังนี้ 1. กรณีมีความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องเสนอโครงการใหม่ ซ่ึงไม่อยู่ในแผนปฏิบัติราชการ ประจาปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดจัดทาโครงการใหม่ตามหลักเกณฑ์การจัดทา แผนปฏิบัติราชการประจาปี โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือหัวหน้ากลุ่มจังหวัด นาเสนอโครงการเพ่ือขอ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) หรือคณะกรรมการบริหารงาน กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) แล้วแต่กรณี ทั้งน้ี เมื่อ ก.บ.จ. หรือ ก.บ.ก. ให้ความเห็นชอบในการปรับ แผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด หรือแผนปฏิบัติราชการประจาปีของกลุ่มจังหวัด พร้อมทั้งเห็นชอบ การโอนเปล่ียนแปลงงบประมาณรายจ่ายของจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดแล้ว ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือหัวหน้า กลุ่มจังหวัดจัดส่งคาขอเปล่ียนแปลงโครงการตามแบบฟอร์มท่ีกาหนด มายังฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการ บูรณาการนโยบายพฒั นาภาค (อ.ก.บ.ภ.ภาค) เพ่ือพจิ ารณากลั่นกรอง และเสนอขอความเห็นชอบจากประธาน อ.ก.บ.ภ.ท่กี ากบั ดูแลภาค โดยให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดเสนอคาขอเปล่ียนแปลงโครงการมายังฝ่ายเลขานุการ อ.ก.บ.ภ.ภาค ภายในเดอื นมนี าคมของปีงบประมาณนนั้ ๆ 2. การเปลี่ยนแปลงโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ในกรณีอื่นๆ ให้เป็นอานาจของ ก.บ.จ. หรือ ก.บ.ก. พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยหารือสานักงบประมาณ และดาเนินการตามระเบยี บการบรหิ ารงบประมาณท่ีเก่ยี วข้องอย่างเครง่ ครดั ทัง้ นี้ ให้รายงานการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวให้ อ.ก.บ.ภ.ที่กากับดูแลภาคทราบภายใน 15 วัน นับแต่วันส้ินไตรมาสที่ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลง โครงการ ได้แก่ 2.1 โครงการที่ ก.บ.ภ. ให้ความเห็นชอบแต่ยังไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ (โครงการท่ี ได้รับความเห็นชอบในกรอบวงเงิน และโครงการที่ได้รับความเห็นชอบเกินกรอบวงเงิน) เฉพาะโครงการตามแผนปฏิบัตริ าชการประจาปนี ้นั ๆ 2.2 โครงการเดิมที่มีการเปลี่ยนแปลงกิจกรรม หรือ พื้นท่ีดาเนินการ หรือ แผนการใช้จ่าย งบประมาณ หรอื ยกเลกิ การดาเนนิ การโครงการ หรอื กจิ กรรมภายใต้โครงการ 2.3 การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของโครงการท่ีไม่มีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ของโครงการ กิจกรรม หรือรายการตามแผนการปฏิบตั ิงานและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ดงั นี้
19 2.3.1 การแก้ไขข้อความที่พิมพ์คลาดเคลื่อน ตกหล่น ให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงท่ีได้รับ จดั สรรงบประมาณ 2.3.2 การเปลี่ยนแปลงประเภทงบรายจ่าย โดยไม่มีผลทาให้เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ ของรายการตามที่ได้รับอนุมัตไิ ว้เดิม 2.3.3 การเปลี่ยนแปลงหน่วยดาเนินงาน โดยท่ีวัตถุประสงค์ของโครงการ กิจกรรม พนื้ ท่ดี าเนินการ และกล่มุ เปา้ หมายไมเ่ ปล่ยี นแปลง 2.3.4 การเปลี่ยนแปลงกิจกรรม หรือพ้ืนท่ีดาเนินการ ที่ไม่กระทบต่อกลุ่มเป้าหมาย หรอื วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 2.3.5 การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดของแบบรูปรายการส่ิงก่อสร้างเพ่ือให้เหมาะสมกับ สภาพพ้นื ทที่ ีจ่ ะดาเนินการกอ่ สร้าง 2.3.6 การเปล่ียนแปลงรายละเอียดครุภัณฑ์ ชนิด จานวน คุณลักษณะเฉพาะ (Specification) ที่ไม่มีผลกระทบต่อการใช้งาน (Capacity) หรือไม่มีผลต่อการ เปล่ยี นแปลงประเภทหรอื ปริมาณครุภณั ฑ์ทไี่ ด้รับอนุมัติ 2.3.7 การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดกิจกรรมในงบดาเนินงาน อาทิ สถานที่จัด จานวน ผู้เข้าร่วม จานวนรุ่น ค่าวัสดุ ค่าใช้สอย ค่าตอบแทน และระยะเวลาที่ไม่ทาให้ จานวนกลมุ่ เปา้ หมายหรอื ผูไ้ ดร้ ับประโยชน์น้อยลง 2.4 การขยายผลโครงการท่ีดาเนินการแล้วเสร็จเพ่ือเพิ่มเติมเป้าหมายโครงการเดิมให้บรรลุ ผลสมั ฤทธ์มิ ากยิ่งข้ึน 2.5 การใช้งบประมาณเหลือจา่ ย เพอ่ื เปน็ ค่าใชจ้ ่าย ดงั น้ี 2.5.1 การจ่ายเงินตามคาพิพากษาของศาล เฉพาะกรณีงบบริหารจัดการของจังหวัด หรอื กลุ่มจงั หวดั ไมเ่ พยี งพอ 2.5.2 การจ่ายเงินชดเชยค่างานก่อสร้างตามสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K) (กรณี กล่มุ จงั หวดั เดิม ให้เบิกเงินชดเชยค่างานก่อสร้างฯ (ค่า K) จากงบประมาณเหลือจ่าย ของกลุม่ จงั หวดั ทจี่ ังหวดั สงั กดั ในปจั จุบัน) 2.5.3 ค่าใช้จ่ายในการบารุง ดูแล รักษา หรือค่าสาธารณูปโภคฯ ของสินทรัพย์ท่ีอยู่ ระหว่างการโอนสินทรัพย์ให้ส่วนราชการ เฉพาะสินทรัพย์ท่ีเกิดข้ึนจาก การดาเนนิ โครงการท่ีได้รบั ความเห็นชอบจาก ก.บ.ภ. สาหรับการเปลี่ยนแปลงโครงการนอกเหนือจากกรณีดังกล่าวข้างต้น ให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ดาเนินการตามระเบยี บการบริหารงบประมาณทเ่ี ก่ยี วข้อง ทง้ั น้ี การเปล่ียนแปลงโครงการทุกกรณี ต้องเป็นผล ท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินโครงการและใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดและ กล่มุ จังหวดั เท่าน้นั เน่ืองจากอยใู่ นอานาจหน้าท่กี ากบั ดูแลของ ก.บ.ภ. 3. ให้ ก.บ.จ. หรือ ก.บ.ก. รายงานผลการเปลี่ยนแปลงโครงการท้ังหมดให้ อ.ก.บ.ภ. ท่ีกากับดูแล ภาคทราบ ตามแบบฟอร์มทก่ี าหนด ภายใน 30 วนั หลงั จากสนิ้ สุดปีงบประมาณ
20 ปฏิทนิ การดาเนินงานภายใต้กลไก ก.บ.ภ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565 (มตคิ ณะกรรมการบรู ณาการนโยบายพฒั นาภาค (ก.บ.ภ.) ครงั้ ท่ี 2/2564 เม่ือวันท่ี 14 กรกฎาคม 2564) การจดั ทาแผนพัฒนาจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวัด (พ.ศ. 2566 – 2570) และแผนปฏิบัติราชการประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ของจงั หวดั และกลุม่ จงั หวดั มกี รอบระยะเวลาในการดาเนินงาน ดงั นี้ ลาดบั วัน เดอื น ปี กิจกรรม 1 14 กรกฎาคม 2564 ก.บ.ภ. ประชุมพิจารณาให้ความเห็นชอบหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทาแผนพัฒนา จังหวัดและกลุ่มจังหวัด (พ.ศ. 2566 – 2570) และแผนปฏิบัติราชการประจาปี ของจงั หวดั และกล่มุ จงั หวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2570 2 เดือนกรกฎาคม – จงั หวัดและกลมุ่ จงั หวัดจัดทาแผนพัฒนา (พ.ศ. 2566 – 2570) และแผนปฏิบัติ กนั ยายน 2564 ราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2566 3 15 กันยายน 2564 จังหวัดและกลมุ่ จังหวดั จดั สง่ แผนพฒั นา (พ.ศ. 2566 – 2570) ให้ทีมบูรณาการกลาง 4 30 กันยายน 2564 จังหวดั และกลมุ่ จังหวัดจัดส่งแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ใหท้ ีมบูรณาการกลาง 5 1 – 15 ตุลาคม ทมี บูรณาการกลางประชุมหารือและรับฟังข้อคิดเห็นของจังหวัด กลุ่มจังหวัด และ 2564 สว่ นราชการ เพื่อประกอบการพิจารณากล่ันกรองแผนปฏิบัติราชการประจาปีของ จงั หวัดและกล่มุ จังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 6 กลางเดอื นตุลาคม – อ.ก.บ.ภ. ท่ีกากับดูแลภาค ประชุมพิจารณากล่ันกรองแผนพัฒนาจังหวัดและ กลางเดือนพฤศจกิ ายน กลุ่มจังหวัด (พ.ศ. 2566 – 2570) และแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด 2564 และกลุ่มจังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 7 ต้นเดือนธันวาคม ก.บ.ภ. และ ก.น.จ. ประชุมพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัดและ 2564 กลุ่มจังหวัด (พ.ศ. 2566 – 2570) และแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด และกล่มุ จงั หวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 8 ปลายเดือนธนั วาคม คณะรฐั มนตรพี ิจารณารบั ทราบแผนพัฒนาจังหวดั และกลุ่มจังหวัด (พ.ศ. 2566 – 2564 2570) และแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 หมายเหตุ กรอบระยะเวลาอาจมกี ารปรับเปล่ียนเพือ่ ใหส้ อดคล้องกบั ปฏทิ ินงบประมาณ
บญั ชชี ุดโครงการตามแผนพฒั นาจังห ประเด็นยุทธศาสต์ร์ดานการบริหารราช บัญชีรายการชุดโครงการ แผนงาน/โครงการ ยุทธศาสต์รชาติ แห์ลง งปม. ห์นวยดาเนนิ (6) (9) (X)/แผน (8) แ์มบทฯ (Y) (7) งบฯ อง์คกรปกครอง์สวน์ทองถ่ิน X.Y อบต./เทศบาล .................................. X.Y แผนงานที่ 1 1. โครงการสาคญั ท่ี 1 - กจิ กรรมหลัก 1.1 - กจิ กรรมหลกั 1.2 2. โครงการสาคญั ที่ 2 - กจิ กรรมหลกั 2.1 - กิจกรรมหลกั 2.2 แผนงานท่ี 2 1. โครงการสาคญั ท่ี 1 - กิจกรรมหลัก 1.1 - กจิ กรรมหลกั 1.2
แบบ จ.1 หวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ. 2566-2570) ชการและเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ห่นวย : บาท งบประมาณดาเนินการ (10) นการ พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567 พ.ศ.2568 พ.ศ. 2569 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
บญั ชีรายการชุดโครงการ แผนงาน/โครงการ ยุทธศาสต์รชาติ แห์ลง งปม. ห์นวยดาเนนิ (6) (9) (X)/แผน (8) แ์มบทฯ (Y) (7) รวมทง้ั สน้ิ * หมายเหตุ * ่เปนยอดรวมเฉพาะวงเงินโครงการสาคัญ
งบประมาณดาเนนิ การ (10) นการ พ.ศ. 2566 พ.ศ. 2567 พ.ศ.2568 พ.ศ. 2569 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2566-2570
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: