Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แจ้งเวียนข้อเสนอแผนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ “ฉะเชิงเทรา เมืองน่าอยู่ น่าเที่ยว น่าลงทุน”

แจ้งเวียนข้อเสนอแผนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ “ฉะเชิงเทรา เมืองน่าอยู่ น่าเที่ยว น่าลงทุน”

Description: หนังสือจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ ฉช 0017 (สมาร์ทซิตี้)/ว 9232 ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 จำนวน 1 ชุด

Search

Read the Text Version

บทสรปุ ผบู้ รหิ าร ขอ้ เสนอแผนพัฒนาเมอื งอจั ฉริยะ “ฉะเชงิ เทรา เมอื งนา่ อยู่ นา่ เท่ียว นา่ ลงทนุ ” โดย สำนกั งานเมอื งอจั ฉริยะ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นจังหวัด ๑ ใน ๓ ของจังหวัดในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ตามพระราชบัญญตั เิ ขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ และได้รับคัดเลือก จากคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้เป็น “พื้นที่เมืองใหม่สำหรับ การอยู่อาศัย” นอกจากนจี้ งั หวดั ฉะเชิงเทรายังได้รับการคดั เลือกให้เป็นพ้ืนที่นำร่องในการพัฒนาเป็นเมืองอจั ฉริยะภายใต้แนวทาง Thai Way of Life ซึ่งจะได้รับการพัฒนาให้เป็นเมืองพักอาศัยชั้นดีรองรับการขยายตัวของกรุงเทพฯ มี สภาพแวดล้อมน่าอยแู่ ละทนั สมยั ในลกั ษณะเป็น Smart City ท่มี ีพ้นื ท่สี เี ขียว มกี ารเดินทางสะดวกรวดเร็ว รวมท้งั มีระบบการจัดการสาธารณูปโภคท่ีเปน็ ระดับมาตรฐานสากล มีศกั ยภาพพัฒนาขยายเมืองรอบดา้ น และตอบโจทย์ การเปน็ เมืองใหมส่ ำหรับอยอู่ าศัยท่ีทันสมัยระดับสากล แผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะจังหวัดฉะเชิงเทรากำหนดวิสัยทัศน์ไปสู่การเป็น “ฉะเชิงเทราเป็นเมือง สะดวกสบายน่าอยู่ ประชาชนมีความสุข มั่งคั่งและยั่งยืน” เน้นการนำเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมที่เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของจังหวัดฉะเชิงเทรามาใช้ เพื่อเป็นเมืองที่มีการประหยัดพลังงาน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมี การ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งสู่มิติการพัฒนาแบบยั่งยืน (Sustainable Development) มี รูปแบบของการพัฒนาเมืองเป็นหว่ งโซ่คุณคา่ สีเขียว (Green Value Chain) พัฒนาการจัดการเมืองและชุมชน ให้ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความอยู่ดีกินดี ปรับปรุงกระบวนการทำงานและบริการ ส่งเสริมการสร้างสรรค์ นวัตกรรมและธุรกิจใหม่ ที่สร้างคุณค่าเพิ่มให้แก่องค์กรและผู้มีส่วนได้เสีย ทั้งนี้ มีทั้งหมด ๓๔ โครงการ มุ่งเน้น พัฒนาเมืองอัจฉริยะ ๓ ด้านหลัก ได้แก่ สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ เศรษฐกิจอัจฉริยะ และการบริหารภาครัฐอัจฉริยะ แต่ก็จะพัฒนา ๔ ด้านที่เหลือควบคู่ไปด้วย ทั้งนี้ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ ๕,๓๕๑ ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีจำนวน ประชากรในพื้นที่ ๗๒๐,๖๙๘ คน หรอื ๑๓๔.๖ คนตอ่ ตารางกโิ ลเมตร (๑) ดา้ นส่งิ แวดลอ้ มอัจฉริยะ (Smart Environment) จำนวน ๑๑ โครงการ จังหวัดจัดการกับปัญหามลพิษในน้ำและอากาศที่เกิดจากภาคอุตสาหกรรมและชุมชนให้ลดลง มากกว่า ๑% ต่อปี ด้วยการบริหารจัดการผ่านโครงการ Big Data คุณภาพน้ำและอากาศที่เกิด จากโครงการติดตั้งเครื่องตรวจวัดคุณภาพน้ำตลอดลำน้ำบางประกง และเครื่องตรวจวัดอากาศ บริเวณชมุ ชนอุตสาหกรรม ซึ่งข้อมูลจะถกู รวบรวมและแลกเปลี่ยนที่ศูนย์ Smart Environment Innovation Center (ENIC) พร้อมวเิ คราะห์และจัดทำมาตรฐานเพ่ือดำเนินการแก้ไขให้คุณภาพ น้ำอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีทีม Chachoengsao Environmental Protection Unit (CCS EPU) เป็นตัวกลางในการจัดการปัญหา ดูแล และให้ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม นอกจากนปี้ ัญหา มลพิษที่เกิดจากขยะได้รับการแก้ไขผ่านโครงการ Zero Waste ที่สร้างชุมชนให้มีความรู้ ความสามารถบริหารจัดการขยะร่วมกับนวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งคาดว่าจะสามารถลด ปริมาณขยะมูลฝอยลงได้กว่า ๗๐% โดยขยะไร้มูลค่าที่ได้จากการขัดแยกจะถูกนำมาใช้ในการ ผ่านการเห็นชอบจากคณะอนกุ รรมการขบั เคล่ือนและบรหิ ารโครงการเมืองอจั ฉริยะ วนั ท่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๔ -หนา้ ๑ -

ผลติ ไฟฟ้า ซ่งึ ในภาพรวมโครงการน้จี ะสามารถลดปริมาณการปล่อย CO2 ได้กว่า ๑% ต่อปี ทั้งน้ี การขบั เคล่อื นโครงการต่างๆ จะอาศัยความรว่ มมือแบบ Governance-People-Private Sector (G2P) สุดท้ายประชาชนสามารถ ติดตาม เฝ้าระวัง และได้รับเตือนภัยเกี่ยวกับคุณภาพ น้ำ อากาศ ช้างป่า ผ่าน Application Padriew Smart City (๒) ดา้ นพลังงานอจั ฉริยะ (Smart Energy) จำนวน ๕ โครงการ พลังงานไฟฟา้ กวา่ ๘๐% ถูกใช้ไปกบั โรงงานอุตสาหกรรม การติดตง้ั Solar Rooftop เพื่อให้เกิด การผลติ พลังงานหมุนเวียนในโรงงานอุตสาหกรรมมากกวา่ ๕๐% นอกจากนยี้ งั ส่งเสรมิ ใหม้ ีระบบ ขนส่งสาธารณะใช้พลังงานไฟฟ้า ได้แก่ EV-Bus EV-Ferry EV-Bike ซึ่งจะสามารถให้บริการ ครอบคลุมพื้นที่กว่า ๕๐% ของจังหวัด และการติดตัง้ Smart Pole เพื่อควบคุมแสงสว่างของไฟ ถนน โดยสามารถปรับแสงได้ตามสภาวะแวดล้อมที่การใช้พลังงานลดลงกว่า ๕% เมื่อเทียบกับ ระบบเดิม โดยจะมีการติดตั้งระบบบริการอื่นๆ เช่น ระบบเซนเซอร์ตรวจสอบสภาวะทางอากาศ ระบบกล้องวงจรปิดสำหรับตรวจสอบความปลอดภัยให้ประชาชน ระบบกระจายสัญญาณ อินเทอร์เน็ต ระบบแสดงข้อมูลหรือข่าวสารที่สำคัญ จุดให้บริการ หรือสถานีชาร์จแบตเตอรี่รถ พลังงานไฟฟ้า และระบบแจ้งเหตุ และขอความชว่ ยเหลอื ฉุกเฉิน (๓) ดา้ นเศรษฐกจิ อจั ฉริยะ (Smart Economy) จำนวน ๓ โครงการ ในจังหวัดมีพื้นที่เกษตรกรรมคิดเป็น ๕๐% ของจังหวัด สามารถสร้างรายไดค้ ิดเป็นสัดส่วนเพียง ๑๐% ดังนั้นการพัฒนาวิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ( Intelligent Farm Management) ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนจาก “ทำมากได้น้อย” เป็น “ทำน้อยได้มาก” สอดคล้องกับโมเดล “Thailand ๔.๐” ทำใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงจากการเกษตรแบบด้ังเดิมไปสู่ การเกษตรสมัยใหม่ เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) และการเกษตร แม่นยำสูง (Precision Farming) อีกทั้งนำข้อมูลการท่องเที่ยว ร้านค้า ร้านอาหาร เส้นทาง ท่องเที่ยว และการเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่ดูแลความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว เข้าสู่ Application Padriew Smart City และแพลตฟอร์มเพ่ือส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนและการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหาร หรือ Bangpakong Basin Gastronomy Culture โดยใน ท้ายทส่ี ุดจะช่วยเพ่มิ รายได้ปขี องประชากรกว่า ๒๕๐,๐๐๐ บาท (๔) ด้านการบริหารภาครัฐอจั ฉริยะ (Smart Governance) จำนวน ๓ โครงการ จงั หวัดยึดหลักวา่ ภาครฐั ตอ้ งเป็นเจ้าบ้านที่ดี การบรู ณาการภาครัฐระหว่างหนว่ ยงานต่างๆ ทำให้ เห็นข้อมูลของประชาชนในภาพเดียวกัน ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูล Open Data การแจ้งเตือน ฉุกเฉิน และบริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว รวมไปถึงการร้องทุกข์ผ่านศูนย์ดำรงธรรม ด้วย Application Padriew Smart City โดยคาดว่าจะมีผู้ใช้บริการมากกว่า ๖๐% ของ ประชากรในพืน้ ที่ ผา่ นการเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการขบั เคลอื่ นและบรหิ ารโครงการเมืองอัจฉรยิ ะ วันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๔ -หนา้ ๒ -

(๕) ด้านการเดนิ ทางและขนส่งอัจฉรยิ ะ (Smart Mobility) จำนวน ๔ โครงการ ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนส่วนมากเกิดจากพฤติกรรมของผู้ขับขี่ การวิเคราะห์ข้อมูลจราจรโดย มูลนิธิ iTIC จากกล้อง CCTV จะช่วยสนับสนุนการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน นอกจากน้ี ประชาชนจะได้รับความสะดวกสบายจากบริการ Smart Bus Stop และการจ่ายค่าโดยสารฯ ด้วยบัตรใบเดียว (8riew Easy Card) ทพี่ ฒั นาโดยธ.กรุงไทย โดยในภาพรวมประชาชนจะมีความ พึงพอใจตอ่ ระบบขนสง่ มากกว่า ๖๐% (๖) ดา้ นพลเมืองอัจฉรยิ ะ (Smart People) จำนวน ๔ โครงการ จังหวัดมีแนวคิดว่า การเรียนรู้ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในชั้นเรียน แต่เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลาและตลอด ชวี ิต ด้วยเหตนุ ศ้ี นู ยก์ ารเรียนรู้เมืองฉะเชิงเทรา (KCC) ทม่ี ีกวา่ ๙ โซนท่จี ะช่วยสง่ เสริมการเรียนรู้ และเป็นพื้นที่สร้างสรรค์ของเมือง ซึ่งประชาชนสามารถพัฒนาทักษะดิจิทัลผ่านกิจกรรม Chachoengsao Hackathon และหลกั สูตรต่างๆ ทพี่ ฒั นาโดยมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครินทร์ นอกจากนี้บุคลากรทางการศึกษาได้รับการสง่ เสริม Digital Lifestyle ด้วย Application Smart Educational Institution ที่พัฒนาโดยธ.กรุงไทย ซึ่งโดยภาพรวมแล้วจะทำให้ประชากรกว่า ๗๐% มี Digital Literacy (๗) ดา้ นการดำรงชีวติ อัจฉรยิ ะ (Smart Living) จำนวน ๒ โครงการ ด้วยอัตราจำนวนผู้ป่วยนอกที่เพิ่มขึ้นกว่า ๑๕% ระหว่างปี พ.ศ ๒๕๖๐ ถึงปี ๒๕๖๑ ส่งผล กระทบต่อระบบการรักษาภายในโรงพยาบาล ดังนั้นเพื่อยกระดับบริการสุขภาพและสาธารณสุข ผ่านโครงการ Smart Digital Healthcare ที่จะส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิสุขภาพพื้นฐาน ผ่านกระเป๋าสตางค์สุขภาพ (App. เป๋าตัง) ไปจนถึงการปรึกษาแพทย์ทางไกล (Telemedicine) นอกจากนี้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต และ Co-working space ทสี่ ่งเสรมิ ใหก้ ลมุ่ ผู้ประกอบการ Startup ได้มาพบปะกัน ซง้ึ ในภาพรวมแลว้ จะทำให้เมือง มีค่าดชั นสี ขุ ภาวะไมน่ อ้ ยกว่า ๘๐% ตอ่ ปี ทั้งนี้ จะมีการพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อรองรับการดำเนินงาน ( City Data Platform) โดยจะมีการจัดทำ รายการได้แก่ ข้อมูลคุณภาพน้ำ เช่น ค่าความเป็นกรด-ด่าง ค่าความกระด้าง (Hardness) ค่าความเป็นด่าง (Alkalinity) ค่าความเค็ม (Salinity) ค่าความเป็นพิษ (Toxicants) ข้อมูลพิษทางอากาศ ๔ ชนิดหลัก ได้แก่ ก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ก๊าซโอโซน (O3) และฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ๑๐ ไมครอน นอกจากน้ี ยงั มขี อ้ มูลเกี่ยวกับช้างป่า เชน่ จำนวน พฤตกิ รรมการดำเนินชีวิต แหลง่ ท่พี กั อาศัยของช้างป่า ในพ้ืนที่ เพอ่ื วิเคราะห์เส้นทางการเคลือ่ นท่ขี องชา้ งปา่ ซึง่ จะช่วยลดเหตุการณ์ความเสียหายต่อพ้ืนทกี่ ารเกษตร และ ชีวิตของประชาชน อีกทั้งศูนย์ ENIC จะเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนข้อมูลกับทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น ข้อมูลจาก เคร่อื งตรวจวัดคุณภาพนำ้ มีการแลกเปลยี่ นกับชลประทาน ส่วนขอ้ มูลจากเครื่องตรวจวัดอากาศมีการแลกเปล่ียน กับโรงงานอุตสาหกรรม โดยข้อมูลทั้งสองยังถูกนำเสนอให้แก่ประชาชนผ่าน Application Padriew Smart City โดยจังหวัดตระหนักว่าข้อมูลเป็นสินทรัพย์อย่างหนึ่งที่มีมูลค่าทางธุรกิจ จึงวางแผนทางการบริหารจัดการ และให้ ผ่านการเห็นชอบจากคณะอนกุ รรมการขับเคลื่อนและบริหารโครงการเมอื งอจั ฉริยะ วนั ที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๔ -หน้า ๓ -

ความสำคัญกับการกำกับ ควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล (Information Security) โดยกำหนดสิทธิ์การเข้าถึง ข้อมูล (Access Control) เพอ่ื รักษาความลับของช้นั ข้อมลู จังหวัดฉะเชิงเทรา มีแหล่งเงินทุนสนับสนุนส่วนหนึ่งเป็นงบประมาณจากรัฐบาล และบางส่วนเป็นการ ลงทุนร่วมกับภาคเอกชน กองทุนรอบโรงไฟฟ้า หรือภาคอุตสาหกรรม ในด้านการบริหารจัดการนั้นมีการจัดต้ัง “คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ” เพื่อดำเนินการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ กำหนดขอบเขตการ พัฒนาเมืองอัจฉริยะซึ่งในคณะกรรมการประกอบด้วย ภาครัฐ เช่น สำนักงานจังหวัดฉะเชิงเทรา ธนาคารกรุงไทย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏราชนครินทร์ และภาคเอกชนไดแ้ ก่ บริษทั โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย จำกดั บรษิ ัท พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จำกัด (มหาชน) ในการกำหนดเป้าหมายและวิสัยทัศน์ ของเมืองอัจฉริยะร่วมกันจะมีกระบวนการรับฟังความเห็นจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ภาค ประชาชน ภาคเอกชน และภาครัฐ ผ่านการเหน็ ชอบจากคณะอนุกรรมการขบั เคล่ือนและบรหิ ารโครงการเมืองอจั ฉรยิ ะ วนั ท่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๔ -หนา้ ๔ -

สรุป รายชือ่ บรกิ ารระบบอจั ฉรยิ ะ ขอ้ เสนอแผนการพัฒนาเมอื งอจั ฉรยิ ะ “ฉะเชงิ เทรา เมอื งนา่ อยู่ น่าเทย่ี ว นา่ ลงทนุ ” โดย สำนักงานเมืองอจั ฉรยิ ะ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา ท่ผี ่านความเห็นชอบจาก คณะอนกุ รรมการขบั เคล่ือนและบรหิ ารโครงการเมืองอัจฉรยิ ะ ประชมุ คร้งั ท่ี ๒/๒๕๖๔ วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๔ ด้วย คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ มีอำนาจหน้าที่ตามข้อ ๒.๓ พิจารณาข้อเสนอ โครงการพัฒนาเมืองอัจฉริยะและประกาศมอบตราสัญลักษณ์เพื่อรับรองการเป็นพื้นที่พัฒนาเมืองอัจฉริยะ โดย ขอ้ เสนอโครงการที่ไดผ้ ่านการพิจารณาจากอนุกรรมการฯ มสี ิทธิได้รบั การส่งเสริมการลงทุนผ่านมาตรการพัฒนาเมือง อัจฉริยะ (Smart City) ของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่เป็นไปตามเงื่อนหนึ่งในประกาศคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุนที่ ส. ๗ /๒๕๖๑ เรื่อง การให้การส่งเสริมกิจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะไว้ว่า “ประเภทกิจการ พัฒนาเมืองอัจฉริยะ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบการพัฒนาเมือง อัจฉรยิ ะก่อนย่ืนขอรับการส่งเสรมิ การลงทุน” นั้น คณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทนุ มีเป้าหมายสง่ เสริมการลงทนุ จากแหลง่ ทุนทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ โดย คู่มือการขอรับการสนับสนุนการลงทุน ๒๕๖๔ ส่งเสริมกิจการที่เกี่ยวข้องกับเมืองอัจฉริยะ ๒ ประเภท ประกอบด้วย (๑) ประเภทกิจการ ๗.๓๑ กิจการพัฒนาพื้นที่เมืองอัจฉริยะ (๒) ประเภทกิจการ ๗.๓๒ กิจการ พฒั นาระบบเมอื งอจั ฉรยิ ะ ข้อเสนอแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะ “ฉะเชิงเทรา เมืองน่าอยู่ น่าเที่ยว น่าลงทุน” โดย สำนักงานเมือง อัจฉริยะ จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ผ่านความเห็นชอบจาก คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนและบริหารโครงการเมือง อัจฉริยะ ประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๖๔ วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๔ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สามารถ ส่งเสริมการลงทุนผ่านมาตรการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ตามประเภทกิจการ และเงื่อนไข ข้อกำหนด โดยข้อเสนอแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะ “แสนสุขสมาร์ตซิตี้” มีบริการระบบอัจฉริยะ/กิจกรรม/โครงการ (Solutions) จำนวน ๗ คือ (๑) ด้านสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) (๒) ด้านพลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) (๓) ด้านเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) (๔) ด้านบริหารภาครัฐอัจฉริยะ (Smart Governance) (๕) ด้านการเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ (Smart Mobility) (๖) ด้านพลเมืองอัจฉริยะ (Smart People) และ (๗) ดา้ นการดำรงชีวติ อจั ฉริยะ (Smart Living) รายละเอียดปรากฏดงั ตารางท่ี ๑ ผ่านการเห็นชอบจากคณะอนกุ รรมการขบั เคลอื่ นและบริหารโครงการเมืองอัจฉรยิ ะ วนั ท่ี ๒๓ กันยายน ๒๕๖๔ -หนา้ ๕ -

ตารางท่ี ๑ รายละเอียดบริการระบบอัจฉริยะ/กจิ กรรม/โครงการ (Solutions บรกิ ารระบบอัจฉรยิ ะ/กิจกรรม/โครงการ (Solutions) เทคโนโลยี ด้านสงิ่ แวดลอ้ มอัจฉรยิ ะ (Smart Environment) โครงการจัดการ Big Data คุณภาพน้ำ ▪ ระบบการจัดเกบ็ ข้อมูลคุณ ระดบั นำ้ (Sever ท่ศี นู ย์ EN ▪ Data Management และ D Analysis ▪ Mobile App. (App. Padriew Smart City โครงการตดิ ต้งั เครอื่ งวดั คณุ ภาพน้ำแบบออนไลน์ ▪ อปุ กรณ์ตรวจวัดคุณภาพนำ้ น้ำประกอบด้วยหัววัด multiparameter ▪ ชุดอปุ กรณเ์ กบ็ และรับสง่ ขอ้ โครงการจดั การข้อมูล Big data เพอื่ ใชต้ ัดสินใจและเฝา้ ระวังคุณภาพ ▪ ระบบการจดั เกบ็ ข้อมลู คณุ อากาศ (Sever ท่ีศนู ย์ ENIC) ▪ Data Management และ D Analysis ▪ Mobile App. (App. Padriew Smart City ผา่ นการเห็นชอบจา

s) ข้อเสนอแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะ “ฉะเชิงเทรา เมืองน่าอยู่ นา่ เทีย่ ว น่าลงทุน” ตัวชี้วดั (Output/Outcome) ณภาพน้ำและ ▪ บริหารจดั การคณุ ภาพนำ้ ใหอ้ ยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน สำหรบั การอปุ โภคบริโภค (WQI มากกวา่ ๖๑) NIC) ครอบคลมุ พน้ื ท่ตี ามระยะการดำเนินการ Data y) (ระยะที่ ๑) รอยตอ่ ระหวา่ งแหล่งน้ำธรรมชาตใิ นชมุ ชนและแม่นำ้ บางปะกง ในบรเิ วณ ต.ทา่ ขา้ ม อ.บางปะกง ำและระดับ (ระยะท่ี ๒) ตลอดระยะลำน้ำแม่น้ำบางปะกงทีผ่ า่ น อ.บางปะกง อมลู (ระยะท่ี ๓) ตลอดระยะลำน้ำแม่นำ้ บางปะกง ตง้ั แต่ อ.เมืองฉะเชิงเทรา - อ.บางปะกง ▪ ลดความเสยี หายในภาคเกษตรกรรม ดว้ ยผลคาดการณป์ รมิ าณนำ้ ในเขอื่ นและอา่ งเก็บน้ำได้ ลว่ งหนา้ อยา่ งนอ้ ย ๗ วนั ผ่าน App. ครอบคลุมพื้นทีท่ ัง้ หมดของโครงการ ▪ แจ้งเตือนเมือ่ มแี นวโน้มท่จี ะเกดิ วกิ ฤตทางทรพั ยากรนำ้ แกป่ ระชาชน ผา่ น App. ครอบคลมุ พ้ืนที่ ท้งั หมดของโครงการ ▪ ตดิ ต้ังอุปกรณต์ รวจวดั คุณภาพนำ้ -ระดบั น้ำ ครอบคลมุ พื้นทตี่ ลอดระยะลำน้ำแม่น้ำบางปะกง ซึง่ แบ่งดำเนินการเปน็ ระยะ (ระยะที่ ๑) ตดิ ตัง้ เครอื่ งตรวจวัดคุณภาพนำ้ ท้งั หมด ๖ สถานี ทเ่ี ปน็ รอยตอ่ ระหวา่ งแหลง่ นำ้ ธรรมชาติในชุมชนและแมน่ ำ้ บางปะกง ในบรเิ วณ ต.ทา่ ข้าม อ.บางปะกง (ระยะท่ี ๒) ติดตั้งเครอ่ื งตรวจวดั คุณภาพนำ้ ท้ังหมด ๗ สถานี ตลอดระยะลำนำ้ แม่น้ำบาง ปะกงที่ผา่ น อ.บางปะกง (ระยะที่ ๓) ติดต้งั เครื่องตรวจวัดคณุ ภาพน้ำ ทัง้ หมด ๒๐ สถานี ตลอดระยะลำน้ำแมน่ ้ำ บางปะกง ต้ังแต่ อ.เมอื งฉะเชิงเทรา - อ.บางปะกง ▪ ตรวจวัดคณุ ภาพนำ้ -ระดบั นำ้ แบบ Real time ครอบคลุมพน้ื ที่ตลอดระยะลำนำ้ แม่นำ้ บางปะกง ณภาพอากาศ หมายเหต:ุ เม่อื โครงการเสร็จจะมีการกำหนดตวั ชว้ี ดั หรอื มกี ารรายงานผลเรอื่ งคณุ ภาพนำ้ ตามมา ▪ บริหารจดั การคุณภาพอากาศ อยูใ่ นเกณฑด์ ี สามารถทำกจิ กรรมกลางแจง้ และการท่องเที่ยวได้ Data ตามปกติ (AQI น้อยกวา่ ๕๐) ครอบคลมุ พื้นที่ตามระยะการดำเนินการ y) (ระยะที่ ๑) พนื้ ท่ชี ุมชน อตุ สาหกรรมและโรงไฟฟ้า (ระยะ ๕ กโิ ลเมตร รอบเขตโรงไฟฟ้าบางปะกง) (ระยะที่ ๒) พนื้ ท่ีชมุ ชนและสวนสาธารณะ (ระยะท่ี ๓) พน้ื ท่ชี ุมชนโดยรอบนิคมอตุ สาหกรรมในจังหวัดฉะเชิงเทรา ากคณะอนุกรรมการขบั เคลื่อนและบริหารโครงการเมอื งอจั ฉริยะ วนั ท่ี ๒๓ กันยายน ๒๕๖๔ -หนา้ ๖ -

บรกิ ารระบบอัจฉรยิ ะ/กิจกรรม/โครงการ (Solutions) เทคโนโลยี โครงการตดิ ตง้ั เครอ่ื งวัดคณุ ภาพอากาศอัตโนมัติ ▪ อุปกรณ์ตรวจวดั คณุ ภาพอา Sensors) โครงการ Iconic Clean garden ▪ เคร่ืองกำจัดฝุ่นขนาดใหญ่ ( โครงการ Smart ECO transport ▪ ยานพาหนะพลังงานไฟฟา้ โครงการ Zero Waste ▪ เครอื่ งเปลีย่ นขยะเปียกในค ป๋ยุ ดว้ ยนวตั กรรมเทคโนโล ▪ โรงกำจัดขยะผลติ ไฟฟ้า โครงการ Smart Environment Innovation Center (ศูนย์ ENIC) ▪ ระบบติดตามคณุ ภาพส่ิงแว และอากาศ) ผา่ นการเห็นชอบจา

ากาศ (IoT ตัวช้วี ดั (Output/Outcome) ▪ แจง้ เตอื นเม่อื มแี นวโนม้ ที่คุณภาพอากาศจะผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน (AQI มากกว่า ๑๐๐) ผ่าน App. ครอบคลมุ พน้ื ทท่ี ้ังหมดของโครงการ ▪ ติดตง้ั อปุ กรณ์ตรวจวัดคณุ ภาพอากาศ ครอบคลมุ พื้นทไี่ มน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๗๐ ของพ้ืนท่ี ซึ่งแบง่ ดำเนนิ การเปน็ ระยะ (ระยะที่ ๑) พื้นที่ชุมชน อตุ สาหกรรมและโรงไฟฟา้ (ระยะ ๕ กโิ ลเมตรรอบเขตโรงไฟฟา้ บางปะกง) (ระยะท่ี ๒) พืน้ ที่ชุมชนและสวนสาธารณะ ในเขต อ. เมอื งฉะเชิงเทรา (ระยะท่ี ๓) พน้ื ทช่ี มุ ชนโดยรอบนิคมอตุ สาหกรรมในจงั หวัดฉะเชงิ เทรา ▪ ตรวจวดั คุณภาพอากาศแบบ real time ครอบคลุมพื้นที่ ชมุ ชนอุตสาหกรรมและโรงไฟฟ้า ชมุ ชน เมอื งและสวนสาธารณะ ชุมชนโดยรอบนคิ มอุตสาหกรรม (scrubber) หมายเหต:ุ เม่ือโครงการเสร็จจะมีการกำหนดตัวชว้ี ดั หรอื มกี ารรายงานผลเร่อื งคณุ ภาพอากาศ ตามมา ▪ ติดตง้ั เครอื่ งกำจัดฝนุ่ ขนาดใหญ่ (scrubber) ๕ เครื่องในพน้ื สวนสาธารณะ (EV) ครัวเรอื นเป็น (ครอบคลมุ ๒สวนสาธารณะในเขตอำเภอเมืองและท่าจอดเรือในอำเภอบางปะกง) ลยีชีวภาพ ▪ ลดปรมิ าณฝุ่นบริเวณพน้ื สวนสาธารณะ ใหค้ ุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑด์ ี สามารถทำกิจกรรม วดลอ้ ม (น้ำ กลางแจ้งและการท่องเทย่ี วได้ตามปกติ (AQI นอ้ ยกว่า ๕๐) ▪ แจ้งเตือนเมือ่ มแี นวโน้มท่คี ณุ ภาพอากาศจะผลกระทบต่อสขุ ภาพอนามัยของประชาชน (AQI มากกว่า ๑๐๐) ผ่าน App. ครอบคลมุ พนื้ ที่ทัง้ หมดของโครงการ ▪ นำรอ่ งให้หนว่ ยงานภาครัฐในจงั หวดั ฉะเชงิ เทรามีการใช้ยานพาหนะประเภทพลงั งานไฟฟ้า (EV) เพ่ิมขึน้ ๑๐% จากทม่ี ีอยูเ่ ดิม ▪ ลดการปลอ่ ย CO2 ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๓๐ ของเชอ้ื เพลงิ ตอ่ คัน ▪ ลดปรมิ าณขยะมูลฝอยตกค้างในพ้ืนที่ชมุ ชน ต.ท่าขา้ ม อ.บางปะกง ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๗๐ โดยขยะ ไร้มูลค่าจะถูกใช้เปน็ เช้ือเพลงิ ผลติ ไฟฟ้าต่อไป ▪ ลดปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซ CO2 มากกวา่ รอ้ ยละ ๑% ตอ่ ปขี องพ้ืนที่ชุมชน ต.ทา่ ข้าม อ.บางปะกง ▪ ประชาชนในพืน้ ชมุ ชน ต.ท่าขา้ ม อ.บางปะกง ท่ีสามารถจดั การขยะไดอ้ ย่างถูกวธิ ี ตามหลกั วชิ าการ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๗๐ ของครัวเรอื นทง้ั หมด ▪ ลดงบประมาณการจดั เก็บขยะในพ้นื ทช่ี มุ ชน ต.ท่าขา้ ม อ.บางปะกง มากกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ▪ ศนู ย์รวมฐานขอ้ มลู วิเคราะหข์ อ้ มลู รบั เรือ่ งร้องเรียน ประสานงาน และใหบ้ ริการนวตั กรรมและ ความรดู้ า้ นส่งิ แวดล้อม ๑ ศนู ย์ ากคณะอนุกรรมการขับเคลอ่ื นและบริหารโครงการเมอื งอจั ฉรยิ ะ วันที่ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๔ -หน้า ๗ -

บรกิ ารระบบอจั ฉรยิ ะ/กจิ กรรม/โครงการ (Solutions) เทคโนโลยี โครงการระบบเตือนภยั ชา้ งปา่ (Wild Elephant Alarm) ▪ ระบบวิเคราะห์และแสดงผ การบริหารจดั การสิ่งแวดล ▪ Mobile App. (App. Padrie City) ▪ กลอ้ งจบั ภาพโดยใชเ้ ซนเซอ เคลอ่ื นไหว ▪ Mobile App. (App. Padriew Smart City โครงการ CCS EPU (Chachoengsao Environmental Protection Unit) โครงการ G2P Project (Governance – People - Private Sector Project) ด้านพลงั งานอัจฉริยะ (Smart Energy) ▪ Solar Rooftop ▪ Smart Grid โครงการผลติ ไฟฟา้ จากพลังงานแสงอาทิตย์ แบบติดตงั้ บนหลังคา (Solar Rooftop) ▪ รถโดยสารสาธารณะพลังงา (EV-Bus) โครงการรถโดยสารสาธารณะ พลังงานไฟฟา้ (EV-Bus) ผ่านการเห็นชอบจา

ผลขอ้ มูล เพ่อื ตัวช้ีวดั (Output/Outcome) ล้อม ▪ นำเสนอข้อมลู และผลการวิเคราะห์ข้อมลู ด้านส่ิงแวดลอ้ ม ผา่ น App. ครอบคลมุ พืน้ ท่ที ั้งหมดของ ew Smart โครงการ อรจ์ บั การ ▪ ข้อมูลและผลวิเคราะห์เสน้ ทางการเคลือ่ นทีข่ องชา้ งปา่ บรเิ วณเขาอา่ งฤาไน ▪ ระบบการแจง้ เตอื นหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งและประชาชนในพน้ื ที่ ให้ทราบถงึ ภาวะความเส่ยี งเกย่ี วกบั y) การบกุ รุกของช้างปา่ แบบ real time ▪ ลดเหตกุ ารณ์ความเสียหายตอ่ พนื้ ทก่ี ารเกษตรและชวี ิตของประชาชนได้ไมน่ อ้ ยรอ้ ยละ ๑๐ จาก เหตกุ ารณ์ความเสยี หายทง้ั หมดเมือ่ เทียบกับปีกอ่ น ▪ ทมี CCS EPU จำนวน ๑ ทีม ▪ ลดปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มรอ้ ยละ ๑๐ เมอ่ื เทยี บกบั ปกี อ่ นหนา้ กลุ่มภาครัฐและภาคประชาชน: ▪ มีประชาชนเขา้ รว่ มกลุ่มเพ่อื การจัดการปัญหาส่งิ แวดล้อมอยา่ งนอ้ ย ๕๐ ครัวเรือน กลุ่มภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคอุตสาหกรรม: ▪ ภาคเอกชนและภาคอตุ สาหกรรมให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการต่าง ๆ ของคณะทำงานดา้ น สงิ่ แวดล้อมอัจฉรยิ ะ (Smart Environment) อย่างน้อย ๒๐ บรษิ ทั กลุ่มภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน และ ภาคอตุ สาหกรรม: ▪ มแี นวทางปฏบิ ตั ิ วธิ กี าร เครอื่ งมอื หรือเทคโนโลยีซึ่งมสี ว่ นช่วยในการดแู ลบริหารจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๑ อยา่ ง านไฟฟา้ ▪ ผลิตพลงั งานหมนุ เวียนในโรงงานอตุ สาหกรรมพ้นื อ.บางปะกง ได้ในสดั ส่วนมากกวา่ ร้อยละ ๕๐ ▪ บรหิ ารจดั การพลังงานดว้ ยโครงข่ายไฟฟ้าอจั ฉริยะ (Smart Grid) ▪ บรกิ ารรถโดยสารสาธารณะพลงั งานไฟฟา้ (EV-Bus) ครอบคลมุ การให้บรกิ ารในสัดส่วนมากกว่ารอ้ ย ละ ๕๐ ของเสน้ ภายในเขตเทศบาลเมือง และพื้นที่ใกล้เคียง ากคณะอนกุ รรมการขับเคล่อื นและบริหารโครงการเมืองอัจฉริยะ วันท่ี ๒๓ กันยายน ๒๕๖๔ -หน้า ๘ -

บริการระบบอจั ฉรยิ ะ/กจิ กรรม/โครงการ (Solutions) เทคโนโลยี โครงการเรอื โดยสารสาธารณะ พลังงานไฟฟ้า (E-Ferry) ▪ เรอื โดยสารสาธารณะพลงั ง (E-Ferry) โครงการรถจักรยาน พลังงานไฟฟ้า (E-Bike) ▪ รถจักรยานพลังงานไฟฟา้ ( โครงการเสาไฟอัจฉรยิ ะ (Smart Pole) ▪ เสาไฟอัจฉริยะ (Smart Pol ด้านเศรษฐกิจอจั ฉรยิ ะ (Smart Economy) ▪ การทำการเกษตรอจั ฉรยิ ะ โครงการ Intelligent Farm Management Farming) ▪ โปรแกรม Intelligent Farm Management System ▪ Mobile App. (App. Padriew Smart City ผ่านการเห็นชอบจา

งานไฟฟ้า ตวั ชี้วดั (Output/Outcome) ▪ บรกิ ารเรือโดยสารสาธารณะพลังงานไฟฟ้า (E-Ferry) ครอบคลุมการให้บริการในสดั สว่ นมากกว่า (E-Bike) รอ้ ยละ ๕๐ ของสถานที่ทอ่ งเทยี่ วท่ตี ั้งอยู่รมิ แมน่ ำ้ บางปะกงอยหู่ ลายแห่ง เชน่ le) - วัดโสธรวรารามวรวหิ าร - วัดสมานรตั นาราม - วดั ปากนำ้ โจ้โล้ - ตลาดน้ำบางคลา้ - ตลาดบา้ นใหม่ 100 ปี - ตลาดน้ำวดั บางกระเจ็ด - อุทยานพระพฆิ เนศ ▪ อตั ราการประหยัดพลงั งานมากกวา่ รอ้ ยละ ๔๐ เมือ่ เทียบกับยานพาหนะที่ใช้นำ้ มนั ▪ ลดปรมิ าณการปล่อยก๊าซ CO2 มากกวา่ รอ้ ยละ ๑% ตอ่ ปใี นเขตพ้นื ท่อี ำเภอเมอื ง อำเภอบางปะกง และอำเภอบางคล้า ▪ บริการรถจักรยานพลงั งานไฟฟ้า (E-Bike) ครอบคลมุ การให้บริการในสดั สว่ นมากกวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ของ สถานทท่ี ่องเที่ยวท่ตี งั้ อย่ใู นเขตเมืองชนั้ ในอยู่หลายแห่ง เชน่ - พิพธิ ภณั ฑ์เมืองฉะเชิงเทรา - ศาลหลักเมือง - กำแพงเมืองฉะเชิงเทรา - ชุมชนตลาดบ้านใหม่ ▪ อตั ราการประหยัดพลังงานมากกวา่ ร้อยละ ๔๐ เม่ือเทยี บกับยานพาหนะทีใ่ ช้นำ้ มนั ▪ ลดปริมาณการปล่อยก๊าซ CO2 มากกวา่ รอ้ ยละ ๑% ตอ่ ปีในเขตพ้ืนท่ีอำเภอเมอื ง ▪ ติดต้งั เสาไฟอัจฉริยะ (Smart Pole) จำนวน ๒๐๐ ต้น ภายในเขตเทศบาลเมือง ▪ ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าไดม้ ากกวา่ ระบบเดมิ ๕% (Smart ▪ โปรแกรม Intelligent Farm Management System ๑ โปรแกรม ▪ เพม่ิ รายไดข้ องประชากร โดยเฉพาะกลมุ่ เกษตรกร มากกวา่ ๒๕๐,๐๐๐ บาทตอ่ ปี โดยใชร้ ะบบการ m จัดการฟารม์ อจั ฉริยะ และสามารถจำหน่ายได้จรงิ ในพื้นทโ่ี ดยใชเ้ ทคโนโลยกี ารตลาดสมยั ใหม่ผ่าน y) App. ▪ เกิดผูป้ ระกอบการใหม่ทมี่ กี ารจดทะเบยี นธุรกจิ เพม่ิ ข้ึนร้อยละ ๑๐ ของผ้ปู ระกอบการในปจั จบุ นั ▪ เกดิ กลไกการเช่ือมโยงและความรว่ มมอื ดา้ นการพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการเกษตรใหเ้ กดิ ธรุ กิจที่สร้าง รายได้ใหก้ บั พ้นื ท่ีเพ่ิมข้ึนร้อยละ ๒๐ ของรายได้ในปจั จุบนั ากคณะอนุกรรมการขบั เคลอ่ื นและบรหิ ารโครงการเมอื งอัจฉรยิ ะ วนั ท่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๔ -หนา้ ๙ -

บรกิ ารระบบอัจฉรยิ ะ/กจิ กรรม/โครงการ (Solutions) เทคโนโลยี โครงการ Intelligent One Stop Service ▪ Mobile App. (App. Padriew Smart City โครงการตลาดอัจฉริยะต้นแบบ ▪ E-Payment (EDC) ด้านบริหารภาครัฐอจั ฉริยะ (Smart Governance) ▪ ระบบการบริหารจดั การโค พื้นฐานด้านดิจทิ ัลและ Bigd โครงการ Application Padriew Smart City (Mobile E-Gov) ตอ่ การดำเนินการธุรกจิ ตล ระบบหรอื อุปกรณส์ ำหรับก เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลครอบคลุม เป้าหมาย อำเภอสนามชยั เ สารคาม ▪ Mobile App. (App. Padriew Smart City โครงการ Citizens Academy @ Chachoengsao Smart City ▪ อบรมออนไลน์ผา่ นโปรแกร ▪ Website สำหรับการฝึกฝน ผา่ นการเห็นชอบจาก

y) ตัวชว้ี ดั (Output/Outcome) ▪ เพิ่มรายไดข้ องประชากร โดยเฉพาะผู้ประกอบการ มากกว่า ๒๕๐,๐๐๐ บาทตอ่ ปี โดยใช้ระบบ ครงการสรา้ ง data ทเี่ ออ้ื Intelligent One stop Service และสามารถจำหนา่ ยได้จรงิ ในพนื้ ที่ ลอดจน ▪ ผปู้ ระกอบการ/ธุรกจิ เกิดขึ้นในพ้นื ทไ่ี ตรมาสละ ๕ ราย โดยเป็นธุรกจิ ทเี่ น้นการสร้างรายได้บน การใช้ มพ้ืนที่ โครงสรา้ งพ้นื ฐานด้านดิจิทัล เขต, พนม ▪ เกดิ กลไกการเชอื่ มโยงและความรว่ มมือดา้ นการพัฒนาบุคลากรด้านอาหารให้เกิดธุรกจิ ทีส่ รา้ ง รายไดใ้ หก้ บั พ้ืนท่เี พ่มิ ข้ึนรอ้ ยละ ๒๐ ของรายไดใ้ นปัจจบุ นั ▪ เพมิ่ รายได้ของประชากร โดยเฉพาะผู้ประกอบการ มากกว่า ๒๕๐,๐๐๐ บาทตอ่ ปี โดยเขา้ ร่วม โครงการฯ y) ▪ ระบบบริการขอ้ มูลภาครฐั ๑ ระบบ (App. Padriew Smart City) รม Zoom ▪ ประชาชนเขา้ ถึงบรกิ ารขอ้ มลู ขา่ วสารผา่ นช่องทางดจิ ทิ ลั มากกวา่ ๑,๐๐๐ คนตอ่ สัปดาห์ นทักษะ ▪ ให้บริการภาครฐั ผา่ น App. ไดแ้ ก่ ๑) จองควิ ออนไลน์ ๒) รบั คำร้องดำเนินการ เชน่ การขนึ้ ทะเบียนคา้ ของเกา่ ๓) การแจ้งเรือ่ งรอ้ งเรยี นผา่ นศูนย์ดำรงธรรม ๔) ระบบการเตอื นภยั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ๕) แนะนำสถานทที่ อ่ งเที่ยวและอาหารข้ึนช่อื ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ๖) แนะนำขอ้ มูลภาษี ความรู้ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีเกษตร ฯลฯ ๗) ข้อมลู ด้านสขุ ภาพ ๘) บรกิ าร e-wallet ▪ สรา้ งกลุม่ Train the Trainer จำนวน ๕๐๐ คน เพื่อใหเ้ ป็นครแู กนนำทีม่ สี มรรถนะด้านการใช้ดิจทิ ลั ▪ ประชาชนในทกุ กลมุ่ อาชพี มากกวา่ ร้อยละ ๘๐ ได้รบั การอบรมครอบคลมุ กลุม่ ประชาชนดงั ตอ่ ไปน้ี กล่มุ ท่ี ๑ กลุ่มภาคการศึกษา กลมุ่ ท่ี ๒ กลุ่มพนกั งานภาครฐั กคณะอนกุ รรมการขบั เคล่ือนและบรหิ ารโครงการเมืองอจั ฉรยิ ะ วันท่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๔ -หนา้ ๑๐ -

บรกิ ารระบบอจั ฉรยิ ะ/กิจกรรม/โครงการ (Solutions) เทคโนโลยี โครงการศูนย์ดำรงธรรมเคล่อื นที่อยใู่ นมอื คุณ ▪ Web. App. ▪ Mobile App. (App. Padriew Smart City ดา้ นการเดินทางและขนส่งอจั ฉริยะ (Smart Mobility) โครงการจดั ตั้งศูนยบ์ ริหารการจราจรและควบคุมการเดินรถด้วยระบบ ▪ ศูนย์ควบคุมสัญญาณไฟจร GPS ▪ GPS Tracking ▪ Mobile application (DLT G โครงการจัดทำปา้ ยรถโดยสารอจั ฉรยิ ะ (Smart Bus Stop) ▪ ป้ายรถโดยสารอจั ฉริยะ (Io โครงการพฒั นาระบบการจา่ ยค่าโดยสารฯ ด้วยบตั รใบเดียว ▪ CCTV (8riew Easy Card) ▪ Internet Wi-Fi โครงการจดั ทำฐานข้อมลู ด้วยระบบขอ้ มลู อเิ ลก็ ทรอนิกส์เพอ่ื สนบั สนุน ▪ Mobile App. การปอ้ งกนั และลดอบุ ัตเิ หตุทางถนน (App. Padriew Smart City ด้านพลเมืองอจั ฉริยะ (Smart People) ▪ ระบบการจา่ ยค่าโดยสารฯ โครงการ Smart educational institution (Schools, University, เดียว (8riew Easy Card) Institutions) ▪ CCTV ▪ Server (ท่ี สนง.เมอื งอจั ฉรยิ ▪ Data Analysis ▪ Krungthai Digital Platform ▪ Mobile App. (Smart Educational Institu ผา่ นการเห็นชอบจาก

ตัวช้วี ดั (Output/Outcome) กลุ่มท่ี ๓ กลุ่มสถานประกอบการทุกขนาด กลุ่มท่ี ๔ กลุ่มเกษตรกร กลมุ่ ที่ ๕ กลมุ่ ประชาชนทวั่ ไป ▪ ประชาชนเขา้ ถึงการบริการขอ้ มลู ขา่ วสารผ่านชอ่ งทางดิจทิ ัลมากกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ▪ ความพึงพอใจของผูร้ บั บริการฯ มากกวา่ ร้อยละ ๖๐ y) ราจรอจั ฉรยิ ะ ▪ สดั สว่ นของเสน้ ทางขนสง่ สาธารณะท่ีมกี ารติดต้งั ระบบแบบ real time มากกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ การจราจรและระบบขนส่งของจังหวดั ฉะเชิงเทรา GPS) มากกว่าร้อยละ ๖๐ oT sensor) ▪ ดชั นรี ถตดิ ใหไ้ มเ่ กนิ ร้อยละ ๔๐ บรเิ วณถนนสายสำคญั ได้แก่ ถนนมรุพงษ์, ถนนมหาจกั รพรรดิ์ และ ถนนบางปะกง - ฉะเชิงเทรา ▪ ป้ายโดยสารอัจฉรยิ ะในเขตอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา โดยระยะแรกกำหนดให้มี ๕ จุด ▪ ความพงึ พอใจของประชาชนต่อการจราจรและระบบขนสง่ ของจงั หวัดฉะเชิงเทรา มากกว่าร้อยละ ๖๐ y) ดว้ ยบัตรใบ ▪ ความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ การจราจรและระบบขนส่งของจงั หวัดฉะเชงิ เทรา มากกว่าร้อยละ ๖๐ ▪ ความพึงพอใจของประชาชนต่อการจราจรและระบบขนสง่ ของจงั หวัดฉะเชิงเทรา ยะ) มากกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ▪ อตั ราผูเ้ สยี ชวี ติ จากอุบัติเหตุลดลงร้อยละ ๑๕ ของปกี ่อนหน้า m ▪ ผบู้ รหิ ารจากภาครฐั ผูบ้ ริหารเมอื งระดับท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาคสถาบันการศกึ ษา มแี นวทางใน การพฒั นาแผนงานบรู ณาการร่วมกนั อย่างน้อยหนว่ ยงานละ ๑ โครงการ ution) ▪ บคุ ลากรภาครัฐทตี่ อ้ งการศกึ ษาดา้ นการนำดจิ ทิ ัลเทคโนโลยีมาประยุกตใ์ ช้ในการวางแผน บรหิ าร จัดการและพัฒนาเมอื ง มีแนวทางในการหนุนเสรมิ ใหห้ นว่ ยงานพฒั นาดา้ นการศกึ ษาโดยใชด้ จิ ทิ ัล เทคโนโลยี กคณะอนุกรรมการขบั เคล่อื นและบรหิ ารโครงการเมืองอจั ฉริยะ วนั ท่ี ๒๓ กันยายน ๒๕๖๔ -หน้า ๑๑ -

บรกิ ารระบบอัจฉรยิ ะ/กจิ กรรม/โครงการ (Solutions) เทคโนโลยี โครงการ Digital Competence requires a Lifelong Learning approach (โครงการพัฒนาสมรรถนะด้านทกั ษะดิจิทลั จะต้องใชแ้ นว ทางการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต) โครงการ Chachoengsao Hackathon @ Smart City โครงการขยายผลตน้ แบบ Learning Space @Chachoengsao (Knowledge Center of Chacheongsao : KCC) สกู่ ารสรา้ งการ เรยี นรทู้ กุ พ้ืนทีข่ องจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ดา้ นการดำรงชวี ิตอจั ฉรยิ ะ (Smart Living) โครงการ Smart Digital Healthcare ผา่ นการเหน็ ชอบจาก

ตัวช้ีวดั (Output/Outcome) ▪ นกั เรยี นนักศึกษา และบุคลากรในถาบันการศึกษา เขา้ รว่ มโครงการจำนวน ๕,๐๐๐ คน ▪ ประชาชนทั่วไปท่สี นใจดา้ นดิจิทัลเทคโนโลยี เข้ารว่ มโครงการ จำนวน ๙๐๐ คน ▪ สัดส่วนจำนวนประชาชนมากกวา่ รอ้ ยละ ๗๐ ในพื้นท่ี มี Digital Literacy ▪ ฝึกอบรม (Upskill Reskill New-skill) ในหลักสตู รเพ่อื พัฒนาทักษะดา้ นการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยี ดิจิทลั ครอบคลุม ๕ กลุ่มประชากร (๑) ภาครฐั (สว่ นกลาง) : ขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั ของจงั หวดั จำนวนไมต่ ่ำกวา่ ๒๐๐ คน (๒) ภาคการศกึ ษา: บุคลากรด้านการศกึ ษา จำนวนไมต่ ำ่ กวา่ ๒,๐๐๐ คน (๓) ภาคประชาชน: บคุ ลากรภาคประชาชนท่วั ไป จำนวนไม่ตำ่ กว่า ๓๐๐ คน (๔) ภาคประชาชน (กลุ่มเกษตรกร): เกษตรกร จำนวนไมต่ ่ำกวา่ ๓๐๐ คน (๕) ภาคเอกชน: บคุ ลากรภาคธรุ กจิ และกลุม่ วสิ าหกิจชมุ ชน จำนวนไม่ต่ำกวา่ ๓๐๐ คน ▪ ผูบ้ ริหารจากภาครัฐ ผู้บริหารเมอื งระดบั ท้องถนิ่ ภาคเอกชน ภาคสถาบนั การศกึ ษา มแี นวทางใน การพฒั นาแผนงานบูรณาการร่วมกัน อย่างนอ้ ยหนว่ ยงานละ ๑ โครงการ ▪ นักเรยี นนกั ศกึ ษา และบุคลากรในถาบนั การศกึ ษา เขา้ ร่วมโครงการ จำนวนไมต่ ำ่ กวา่ ๒๐๐ คน ▪ ประชาชนทว่ั ไปท่ีสนใจด้านดจิ ิทัลเทคโนโลยี เข้ารว่ มโครงการ จำนวนไม่ตำ่ กวา่ ๓๐๐ คน ▪ สดั สว่ นจำนวนประชาชนมากกวา่ รอ้ ยละ ๗๐ ในพนื้ ท่ี มี Digital Literacy ▪ ผู้บรหิ ารจากภาครัฐ ผูบ้ รหิ ารเมอื งระดับท้องถิ่น ภาคเอกชน ภาคสถาบันการศกึ ษา มแี นวทางใน การพัฒนาแผนงานบูรณาการร่วมกัน อย่างนอ้ ยหนว่ ยงานละ ๑ โครงการ ▪ บคุ ลากรภาครัฐร่วมพฒั นากิจกรรมสร้างสรรคใ์ นพื้นท่ีท่สี ามารถกิจกรรมท่สี ่งเสริมการเรียนรู้ และ รว่ มพัฒนาหนุนเสรมิ การจดั การศกึ ษาใหก้ ับเด็กเยาวชนในพ้นื ที่ อยา่ งน้อย ๑ โครงการต่อเดือน ▪ นกั เรียนนักศกึ ษา และบุคลากรในถาบนั การศึกษา เขา้ รว่ มโครงการ จำนวนไมต่ ำ่ กวา่ ๑,๐๐๐ คน/เดอื น ▪ ประชาชนท่ัวไปที่สนใจด้านการพัฒนาการเรยี นรูข้ องเดก็ และเยาวชนในพ้ืนทแี่ ละร่วมสนับสนนุ ซง่ึ เขา้ ร่วมโครงการ จำนวนไม่ตำ่ กวา่ ๙๐๐ คน ▪ - สดั สว่ นจำนวนประชาชนมากกวา่ รอ้ ยละ ๗๐ ในพืน้ ท่ี มี Digital Literacy ▪ ประชาชนรบั ทราบและเข้าถงึ สทิ ธิขอ้ มูลพ้นื ฐานมากขน้ึ มากกวา่ รอ้ ยละ ๗๐ ของประชาชนทงั้ จงั หวดั กคณะอนกุ รรมการขับเคลอื่ นและบริหารโครงการเมอื งอจั ฉริยะ วนั ที่ ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๔ -หนา้ ๑๒ -

บริการระบบอัจฉรยิ ะ/กจิ กรรม/โครงการ (Solutions) เทคโนโลยี โครงการ Smart Digital Life, Community and Co-Working Space ผา่ นการเห็นชอบจาก

ตวั ช้ีวดั (Output/Outcome) ▪ ลดอตั ราผู้ขอเขา้ รบั การรกั ษาทโี่ รงพยาบาล เน่อื งจากประชาชนใหค้ วามสนใจ ใสใ่ จด้านสขุ ภาพมาก ย่งิ ข้นึ ทำใหภ้ าพรวมประชาชนมีสุขภาพทีด่ ีย่งิ ขึ้น ▪ - ประชาชนมีความพึงพอใจในบริการดา้ นสุขภาพและสาธารณสุขมากกวา่ ร้อยละ ๖๐ ▪ คา่ ดัชนสี ุขภาวะมากกวา่ ร้อยละ ๘๐ ต่อปี (ประเมนิ โดยแบบสำรวจของกระทรวงสาธารณสุข) ▪ ประชาชนใช้ Digital Data ผา่ น App. ไดเ้ ป็นประจำรอ้ ยละ ๖๐ ของประชาชนในจงั หวัด ▪ - ค่าดชั นสี ขุ ภาวะ > รอ้ ยละ ๘๐ ต่อปี (ประเมนิ โดยแบบสำรวจของกระทรวงสาธารณสุข) กคณะอนกุ รรมการขับเคล่ือนและบรหิ ารโครงการเมอื งอัจฉริยะ วันท่ี ๒๓ กนั ยายน ๒๕๖๔ -หน้า ๑๓ -