Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์-n

รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์-n

Published by Ton Na, 2020-11-18 22:17:56

Description: รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์-n

Search

Read the Text Version

โครงงานคอมพวิ เตอร์ อาเซียน น่ารู้ (ASEAN to know) โดย ๑. นายอัศจรรย์ จนั อุป เลขท่ี ๑๐ ๒. นางสาวกุลยา ศิรสิ ม เลขที่ ๓๗ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔/๘ โรงเรียนกัลยาณวัตร สังกดั สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๒๕ ครทู ีป่ รกึ ษาโครงงาน คณุ ครูอำนาจ พรหมใจรักษ์ รายงานฉบับนเี้ ป็นส่วนประกอบของกิจกรรมการเรยี นรู้รายวชิ า ว31103 วิทยาการคำนวณ กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ฯ สาขา คอมพิวเตอร์ โรงเรยี นกลั ยาณวตั ร สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๕

(ก) โครงงาน เรื่อง อาเซยี น น่ารู้ (ASEAN to know) ประเภทโครงงาน โครงงานเพ่อื ส่งเสริมทกั ษะการเรียนรู้ ครทู ป่ี รึกษาโครงงาน คุณครูอำนาจ พรหมใจรักษ์ ผจู้ ัดทำโครงงาน ๑. นายอัศจรรย์ จนั อปุ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๔/๘ ๒. นางสาวธกุลยา ศิรสิ ม ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๔/๘ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ บทคัดยอ่ โครงงานการพฒั นาสอ่ื การเรียนรู้ชิ้นน้ี มวี ัตถุประสงค์ ๑.เพอ่ื ออกแบบและสรา้ งแอปพลิเคชัน่ เพ่ือ ส่งเสรมิ ทักษะการเรียนรใู้ นเรื่อง ความรู้พ้นื ฐานเกยี่ วกับ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน ในชือ่ โครงงาน อาเซียน นา่ รู้ (ASEAN to know) เพ่ือใชก้ ับ Smart Phone หรือ Tablet ท่ใี ชร้ ะบบปฏบิ ตั ิการ Android ๒.ผูท้ ดลอง ไดร้ ับความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองความรู้พนื้ ฐานเก่ยี วกับ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซยี น กลุ่มเปา้ หมายทใ่ี ชใ้ นการทดลองสอ่ื การเรียนรู้ อาเซียน นา่ รู้ “(ASEAN to know)” ทีเ่ กิดจากการ พัฒนาโครงงาน ในครงั้ น้ี ได้แก่ บุคคลท่ีอายุไมต่ ่ำกวา่ ๗ ปี ในจงั หวดั ขอนแกน่ จำนวน ๔๐ คน ผลการทดลอง เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี หัวข้อทม่ี ีคา่ เฉลยี่ น้อยท่สี ดุ คือ เสียงทใ่ี ช้ประกอบในแอปพลเิ คชนั่ มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๓ ซง่ึ อยใู่ นระดบั ดี หัวข้อทมี่ ีคา่ เฉลยี่ สงู สดุ คอื สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ ไดค้ ่าเฉล่ียเทา่ กับ ๔.๒๘ ซึ่งอย่ใู นระดบั ดเี ชน่ กัน และความพงึ พอใจโดยรวม ตอ่ ส่อื การเรยี นรู้ อาเซยี น นา่ รู้ “(ASEAN to know)” อยู่ในระดับท่ดี ี โดยมีค่าเฉล่ยี เท่ากบั ๔.๒๒

(ข) กิตตกิ รรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สอ่ื การเรยี นรู้ อาเซยี น น่ารู้ “(ASEAN to know)” นีส้ ำเร็จลลุ ่วงขนึ้ ได้ โดยไดร้ ับความชว่ ยเหลอื อยา่ งดยี ิ่งจากคุณครูอำนาจ พรหมใจรกั ษ์ คณุ ครูทีป่ รึกษาโครงงานทีไ่ ด้ใหค้ ำ เสนอแนะ แนวคดิ และให้ความรใู้ นการจดั ทำโครงงานคอมพิวเตอร์ ตลอดจนการแก้ไขขอ้ บกพร่องตา่ ง ๆ มา โดยตลอดจนโครงงานน้ีเสร็จสมบรู ณ์ ผศู้ ึกษาจงึ ขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูง และขอขอบคุณคณะเพื่อน รว่ มห้อง ม.๔/๘ ท่ใี หก้ ำลงั ใจ และข้อมูลในการทำรูปเลม่ โครงงานอีกดว้ ย ท้ายสุดนค้ี ณะผู้จดั ทำหวังเป็นอย่างย่งิ วา่ โครงงานคอมพวิ เตอรเ์ รื่อง สอื่ การเรยี นรู้ “อาเซยี น น่ารู้ “(ASEAN to know)” จะเป็นประโยชนต์ ่อการศึกษาค้นคว้าและผทู้ ่ีสนใจในเร่ือง๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน ต่อไป คณะผ้จู ดั ทำ

สารบญั ค บทคดั ย่อ หนา้ กติ ตกิ รรมประกาศ ก สารบัญ ข สารบัญภาพ ค สารบัญตาราง จ บทท่ี ๑ บทนำ ฉ ๑ ทมี่ าและความสำคัญของโครงงาน ๑ วตั ถุประสงค์ ๑ ขอบเขตของโครงงาน ๑ แผนการดำเนนิ งาน ๒ ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ ๓ บทท่ี ๒ เอกสารทเ่ี ก่ยี วข้อง ๓ สาขาวชิ าและสาระสำคญั ของการเรียนรวู้ ิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔ ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซียน ๕ MIT App Inventor ๖ บทท่ี ๓ วิธีการจดั ทำโครงงาน ๗ วัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมอื หรอื โปรแกรมท่ีใช้ในการสรา้ งแอพพลิเคชั่น ๗ ขนั้ ตอนการดำเนินงาน ๗ บทที่ ๔ ผลการดำเนินงาน ๙ ผลการออกแบบและสรา้ งแอพพลเิ คชั่น ๙ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ โครงงานคอมพิวเตอร์ ๑๒

สารบญั (ต่อ) ง บทท่ี ๕ สรุปการดำเนินงาน หน้า สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ๑๔ ข้อเสนอแนะ ๑๔ ๑๔ บรรณานกุ รม ๑๕ ภาคผนวก ๑๖ ๑๗ คู่มอื การใช้งาน ๒๒ ข้อเสนอโครงงาน

สารบญั ภาพ จ ภาพที่ ๑ รปู ภาพตวั อย่างโปรแกรม MIT App Inventor หนา้ ภาพท่ี ๒ ภาพการทำหนา้ หลักของแอพพลิเคชนั่ ๕ ภาพที่ ๓ ภาพการทำหนา้ อื่นๆของแอพพลเิ คช่นั ๖ ภาพท่ี ๔ ไอคอนแอปพลิเคชันสอ่ื การเรยี นรู้“อาเซียนนา่ รู้ (ASEAN to know)” ๖ ภาพที่ ๕ หนา้ หลักของแอพพลิเคชัน่ ๙ ภาพที่ ๖ หน้าเนอ้ื หาส่อื การเรยี นรู้ ๑๐ ภาพท่ี ๗ หนา้ เขา้ สู่แบบฝึกหัด ๑๐ ภาพที่ ๘ หน้าตวั อยา่ งแบบฝึกหัด ๑๑ ภาพที่ ๙ หนา้ สรปุ ผลคะแนน ๑๑ ๑๒

ฉ สารบญั ตาราง หนา้ ตารางที่ ๑ แผนการดำเนนิ งานของโครงงาน ๒ ตารางที่ ๒ แสดงผลค่าเฉล่ียเลขคณิตการประเมินความพึงพอใจสื่อการเรียนรู้ “อาเซียน นา่ ร”ู้ ๑๓

๑ บทท่ี ๑ บทนำ ๑.๑ ทมี่ าและความสำคญั ของโครงงาน อาเซียน คือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations หรือ ASEAN) มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมและร่วมมือในเรื่อง สันติภาพ, ความมั่นคง, เศรษฐกิจ, องค์ ความรู้, สังคมวฒั นธรรม บนพน้ื ฐานความเทา่ เทยี มกนั และผลประโยชนร์ ว่ มกันของประเทศสมาชิก ซึ่งในปจั จบุ ันบทบาทความสำคัญของสมาคมอาเซียนภายในสือ่ การเรียนรู้ทุกระดับปีการศกึ ษาไดถ้ ูก ลดต่ำลงตามระยะเวลา ส่งผลให้เด็กและเยาวชนขาดการรับรู้ในเร่อื งของสมาคมอาเซียน และอาจหลงลมื ใน ความสำคญั ของสมาคมอาเซียนภายในอนาคตได้ ทางคณะผ้จู ดั ทำไดต้ ระหนักถึงปัญหาท่เี กดิ ขึน้ จงึ ไดท้ ำการสรา้ งส่ือการเรยี นรู้ เรื่อง “อาเซยี น นา่ รู้(ASEAN to know)” จากโปรแกรม MIT App Inventor โดยจะเนน้ ใหเ้ ป็นแอปพลเิ คช่นั ทช่ี ว่ ยใหผ้ ศู้ กึ ษา สามารถทำความเขา้ ใจองคป์ ระกอบพืน้ ฐานของประเทศตา่ ง ๆ ในสมาคมอาเซยี นไดง้ า่ ยยง่ิ ขนึ้ จงึ ได้มีการ ออกแบบลกั ษณะใหม้ ีรูปแบบที่และลูกเลน่ นา่ สนใจ เพ่อื ลดความน่าเบือ่ ใหแ้ ก่ผใู้ ช้แอปพลิเคชั่น ๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ออกแบบและสรา้ งแอปพลิเคช่นั เพ่อื สง่ เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู้ในเร่ือง ความรู้พน้ื ฐานเกยี่ วกับ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน ในช่ือโครงงาน อาเซยี น นา่ รู้ (ASEAN to know) เพื่อใช้กบั Smart Phone หรอื Tablet ท่ีใชร้ ะบบปฏบิ ัตกิ าร Android ๒. ผทู้ ดลองได้รบั ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกบั ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซียน ๑.๓ ขอบเขตของโครงงาน การออกแบบและพฒั นาโปรแกรมเพื่อสง่ เสริมทักษะการเรยี นรเู้ รื่อง ความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกับ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยใชโ้ ปรแกรม MIT App inventor ในการสรา้ งแอปพลิเคชั่น และไฟล์ Apk. สำหรบั ตดิ ต้ังในระบบปฏบิ ตั ิการ Android กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการทดลองแอปพลิเคชั่น อาเซียนน่ารู้ (ASEAN to know) ท่ีเกดิ จากการพัฒนาโครงงานในครงั้ นี้ไดแ้ ก่ บุคคลท่ีอายุไมต่ ำ่ กวา่ ๗ ปี ในจังหวดั ขอนแกน่ จำนวน ๓๐ คน

๒ ๑.๔ แผนการดำเนินงาน ตารางที่ ๑ แผนการดำเนนิ งานของโครงงาน ระยะเวลาการดำเนินงาน ข้ันตอนการดำเนนิ งาน ๒๘ ต.ค. - ๕ ๖ พ.ย. - ๕ พ.ย. ๑๓ พ.ย. - ๑๘ พ.ย. ๒๕๖๓ ๒๕๖๓ พ.ย. ๒๕๖๓ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ ๑.คดิ หวั ข้อโครงงานนำเสนออาจารยท์ ่ปี รกึ ษา ๒.ศึกษาคน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกบั การสร้างโปรแกรมเพอ่ื สง่ เสรมิ ทักษะการเรยี นรู้ ๓.จดั ทำโครงงานคอมพิวเตอรเ์ สนอ อาจารย์ทป่ี รกึ ษา ๔.ออกแบบโปรแกรมเพือ่ สง่ เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู้ หนา้ หลกั เน้ือหา แบบฝึกหัด ฯลฯ ๕.สรา้ งโปรแกรมเพือ่ ส่งเสรมิ ทักษะการเรียนรู้เร่อื ง ความร้พู ื้นฐานเกี่ยวกบั ๑๐ ประเทศสมาชิก อาเซยี น เป็นไฟล์ Apk. เพื่อใชบ้ นระบบปฏบิ ตั ิการ Android ๖.ตรวจสอบการทำงานของโปรแกรมเพื่อส่งเสริม ทกั ษะการเรยี นรเู้ รอ่ื ง ความรู้พ้นื ฐานเกย่ี วกับ ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซียน และแกไ้ ขข้ อ้ ผิดพลาด ๗.นำโปรแกรมเพ่ือส่งเสริมทักษะการเรยี นรู้เรื่อง ความรพู้ ืน้ ฐานเกยี่ วกับ ๑๐ ประเทศสมาชิก อาเซียน ไปสอบถามข้อเสนอแนะจาก อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา ๘.ปรับปรงุ แกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งตามที่อาจารยท์ ี่ ปรกึ ษาเสนอแนะเพ่มิ เติม ๙.ทดสอบใชน้ ำโปรแกรมเพ่อื ส่งเสริมทกั ษะการ เรียนรเู้ รอ่ื ง ความรพู้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั ๑๐ประเทศ สมาชกิ อาเซียน ในชอื่ โครงงาน อาเซียน นา่ รู้ (ASEAN to know) และ รวบรวมข้อมูลความพึงพอใจของกลุ่มตวั อยา่ ง หลงั ทดลองใช้แอปพลเิ คช่ัน ๑๐.ทำเอกสารสรปุ รายงานโครงงาน

๓ ๑.๕ ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับ ๑. โปรแกรมสง่ เสรมิ ทักษะการเรียนรู้\"อาเซียน นา่ ร(ู้ ASEAN to know)\" สามารถใชบ้ นระบบปฎบิ ตั ิการ Android ได้จรงิ ๒. ผ้ทู ดลองได้รับความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั ความรู้พืน้ ฐานเก่ียวกับ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซยี น

๔ บทท่ี ๒ เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง การจดั ทำโครงงานพัฒนาแอปพลิเคชั่น “อาเซียน น่ารู้ (ASEAN to know)” โดยใช้ โปรแกรม MIT App Inventor ผจู้ ัดทำไดศ้ ึกษาจากเอกสารที่เกย่ี วข้องตามรายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี ๑. สาระและมาตรฐานการเรยี นรวู้ ิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒. ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ๓. MIT App Inventor ๑. สาขาวิชาและสาระสำคญั ของการเรยี นรวู้ ชิ าสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาขาวชิ า หลักสตู รแกนกลางอาเซยี น กำหนดใหจ้ ัดการเรียนรเู้ รอื่ งอาเซยี นใน ๗ สาขาวชิ า ได้แก่ ๑) ประวัตศิ าสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ (History and Social Studies) ๒) วิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ (Science and Mathematics) ๓) หน้าทพ่ี ลเมืองและจริยศาสตร์ (Civic and Moral Education) ๔) ภาษาและวรรณกรรม (Languages and iterature) ๕) ศลิ ปะ (Arts) ๖) สขุ ศึกษาและพลศึกษา (Health and Physical Education) ๗) เทคโนโลยี (Technology) สาระสำคญั สาระสำคญั ของการเรียนร้ขู องหลักสตู รแกนกลางอาเซียน จะเน้นใน ๕ ประเด็น ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั เป้าหมายทีร่ ะบไุ ว้ในแผนการจดั ตั้งประชาคมสงั คมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN –Cultural Community: ASCC) และรองรบั Roadmap for an ASEAN Community ๑) การรจู้ กั อาเซยี น (Knowing ASEAN) ๒) การตระหนักถึงคุณค่าของอัตลักษณแ์ ละความหลากหลาย (Valuing Identity and Diversity) ๓) การเช่อื มโยงโลกและท้องถิน่ (Connecting Global and Local) ๔) การส่งเสริมความเสมอภาคและยตุ ิธรรม (Promoting Equity and Justice) ๕) การทำงานรว่ มกนั เพ่ืออนาคตท่ียั่งยืน (Working together for a Sustainable Future)

๕ ๒. ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแหง่ เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ (Association of South East AsianNations) ประกอบด้วย ๑๐ ประเทศ เป้าหมายของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพ่ือส่งเสรมิ ความเขา้ ใจอันดีต่อกันระหวา่ งประเทศในภมู ิภาค ธำรงไวซ้ ่ึงสนั ติภาพเสถียรภาพ และความมัน่ คงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางด้านเศรษฐกิจ การพฒั นาทางสงั คมและวฒั นธรรมการกินดีอย่ดู ขี องประชาชนบนพืน้ ฐานของความเสมอภาคและ ผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชกิ ได้แก่ กัมพชู า ไทย บรไู น พม่า ฟลิ ิปปินส์ มาเลเซยี ลาว เวยี ดนาม สงิ คโปร์ และอินโดนเี ซีย ๓. MIT App Inventor App Inventor เป็นเคร่อื งมือท่ใี ช้สำหรบั สร้างแอพพลิเคชันสำหรบั สมารท์ โฟนและแท็บเลต็ ทเ่ี ปน็ ระบบปฏบิ ัติการ Android ซ่ึงบรษิ ัท Google ร่วมมอื กบั MIT พฒั นาโปรแกรม App inventor ข้นึ ต่อมา Google ถอนตัวออกมาและยกให้ MIT พัฒนาต่อเอง โดยเนน้ กล่มุ ผู้ใชด้ ้านการศกึ ษา ในนาม MIT App inventor โดยใชห้ ลักการคลา้ ยๆ กบั Scratch แตซ่ บั ซอ้ นกวา่ โดยลกั ษณะการเขยี นโปรแกรมแบบ Visual Programming คอื เขยี นโปรแกรมด้วยการต่อบล็อกคำสงั่ เนน้ การออกแบบเพ่ือแกป้ ัญหา (problem solving) ดว้ ยการสรา้ งโปรแกรมท่ีผู้เรียนสนใจ บนโทรศัพท์มอื ถือสมารท์ โฟน App Inventor servers เป็นเครอ่ื งท่ีใหบ้ ริการและเก็บงานโปรเจกตา่ งๆ ท่ผี ู้ใช้สร้างขึน้ มา ผูใ้ ช้ พัฒนาโปรแกรมมอื ถอื Android โดยสรา้ งโปรเจกและเขียนโปรแกรมบนเวบ็ เบราว์เซอร์ ทีเ่ ชื่อมต่อไปยงั App Inventor servers เมอื่ ไดโ้ ปรแกรมมา กส็ ามารถทดสอบกับโปรแกรมมือถือจำลอง (Android emulator) หรือโทรศพั ท์มือถือ Android จริงๆ ภาพท่ี ๑ รูปภาพตวั อยา่ งโปรแกรม MIT App Inventor

๖ ภาพท่ี ๒ ภาพการทำหนา้ หลกั ของแอพพลเิ คชัน่ ภาพท่ี ๓ ภาพการทำหนา้ อ่นื ๆ ของแอพพลเิ คช่นั

๗ บทท่ี ๓ อุปกรณ์และวิธีการดำเนินงาน โครงงานคอมพวิ เตอร์ เรอื่ ง แอพพลเิ คช่ันส่อื การเรยี นรู้ อาเซยี น น่ารู้ (ASEAN to know) คณะ ผจู้ ัดทำโครงงานมีวิธีการดำเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอน ดังต่อไปน้ี ๓.๑ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างแอพพลเิ คชั่น ๑) เครือ่ งคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คพร้อมเชอื่ มต่อระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต - ระบบปฏบิ ัติการ : Windows 10 PRO 64 bit. - หนว่ ยประมวลผล : AMD Ryzen 7 4700U (4M Cache, up to 4.0Hz) - ความเรว็ : 4.0 GHz - RAM 8 GB ๒) โทรศัพท์มอื ถือระบบปฏิบัติการ Android ๓) MIT App Inventor สำหรับใช้ในการสร้างแอพพลเิ คชั่น ๓.๒ ข้ันตอนการดำเนินงาน แบง่ เปน็ ๒ ขั้นตอน คือ ข้นั ตอนที่ ๑ การสร้างสอื่ การเรียนรู้ช่ือ “อาเซียน นา่ รู้” มีรายละเอยี ดการสรา้ ง ดงั ต่อไปน้ี ๑) คดิ หัวขอ้ โครงงานเพื่อนำเสนออาจารย์ทปี่ รึกษา ๒) ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกบั การสร้างโปรแกรมเพื่อสง่ เสรมิ ทักษะการเรียนรู้ ๓) จดั ทำโครงงานคอมพิวเตอรเ์ สนออาจารย์ท่ปี รึกษา ๔) ออกแบบโปรแกรมเพื่อสง่ เสริมทักษะการเรียนรู้ หน้าหลัก เน้ือหา แบบฝึกหดั ฯลฯ ๕) สรา้ งโปรแกรมเพ่ือสง่ เสริมทักษะการเรียนรู้เรอื่ ง ความรู้พืน้ ฐานเกย่ี วกบั ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซียน เปน็ ไฟล์ Apk. เพอื่ ใชบ้ นระบบปฏบิ ัตกิ าร Android ๖) ตรวจสอบการทำงานของโปรแกรมเพอื่ ส่งเสรมิ ทักษะการเรียนรู้เรอ่ื ง ความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกับ ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น และแกไ้ ข้ข้อผิดพลาด ๗) นำโปรแกรมเพื่อสง่ เสรมิ ทักษะการเรยี นรู้เร่ือง ความรู้พืน้ ฐานเก่ยี วกับ ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ไปสอบถามข้อเสนอแนะจากอาจารย์ทปี่ รึกษา

๘ ๘) ปรับปรงุ แก้ไขข้อบกพร่องตามท่ีอาจารย์ทป่ี รกึ ษาเสนอแนะเพ่ิมเติม ๙) ทดสอบใช้นำโปรแกรมเพื่อสง่ เสริมทกั ษะการเรียนรู้เร่อื ง ความรู้ พื้นฐานเกีย่ วกับ ๑๐ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ในชื่อโครงงาน อาเซียน นา่ รู้ (ASEAN to know) และรวบรวมขอ้ มลู ความพึงพอใจของ กลุม่ ตัวอย่างหลังทดลองใช้แอปพลิเคช่ัน ๑๐)ทำเอกสารสรุปรายงาน ข้นั ตอนที่ ๒ การทดลองใช้แอพพลเิ คช่ันส่ือการเรียนรู้ “อาเซยี น น่ารู้” มีขั้นตอนการทดลอง ดังต่อไปนี้ ๑. นำสื่อการเรยี นรู้ อาเซยี น นา่ รู้ ไปทดลองใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงไดแ้ ก่ บุคคลทอี่ ายุไมต่ ่ำกว่า ๗ ปี ใน จงั หวดั ขอนแก่นจำนวน ๔๐ คน ๒. กอ่ นการทดลองมีการแนะนำวิธกี ารใช้แอพพลเิ คช่นั สอ่ื การเรียนรู้ “อาเซียน นา่ รู้” ๓. ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายทำการประเมินความพึงพอใจในแอพพลิเคชั่นส่ือการเรียนรู้ อาเซยี น น่ารู้ โดยใช้ แบบสอบถามความคิดเหน็ แบบมาตราสว่ นประเมนิ คา่ (Rating scale) โดยมีการใหค้ ะแนนเปน็ ๕ ระดบั ซึ่งมีเกณฑ์ประเมนิ ดงั นี้ ๕ หมายถึง มีความคดิ เห็นวา่ ขอ้ ความน้นั มีความพงึ พอใจในระดบั ดีมาก ๔ หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ ว่าขอ้ ความน้นั มีความพึงพอใจในระดับดี ๓ หมายถึง มีความคิดเหน็ วา่ ขอ้ ความนั้นมคี วามพึงพอใจในระดบั ปานกลาง ๒ หมายถึง มคี วามคดิ เห็นว่าข้อความนน้ั มคี วามพงึ พอใจในระดับน้อย ๑ หมายถึง มีความคิดเห็นว่าข้อความนัน้ มีความพึงพอใจในระดับปรบั ปรุง ได้กำหนดเกณฑก์ ารแปลความหมาย ดงั น้ี ๔.๕๐ - ๕.๐๐ หมายถงึ มคี วามพอใจในระดบั ดีมาก ๓.๕๑ - ๔.๔๙ หมายถงึ มีความพอใจในระดับดี ๒.๕๑ – ๓.๔๙ หมายถงึ มีความพอใจในระดับปานกลาง ๑.๕๑ - ๒.๔๙ หมายถงึ มีความพอใจในระดบั น้อย ๑.๐๐ - ๑.๕๐ หมายถึง มีความพอใจในระดับปรับปรุง ๔. นำผลการประเมินความพึงพอใจกลมุ่ เปา้ หมายมาวเิ คราะห์หาคา่ เฉลย่ี เลขคณติ เพื่อหาค่าระดบั ความ พึงพอใจในการใช้แอพพลเิ คชั่นส่อื การเรียนรู้ “อาเซียน นา่ รู้” ๕. เอกสารสรปุ รายงานโครงงานและเผยแพร่

๙ บทที่ ๔ ผลการดำเนนิ งาน การออกแบบและพัฒนาสื่อการเรยี นรู้ในครงั้ น้ี เพ่ือสง่ เสรมิ ทักษะการเรยี นรู้ เรื่อง 10 ประเทศ อาเซยี น ในรูปแบบของสื่อการเรียนรู้โดยใช้โปรแกรม MIT App inventor เพือ่ สร้างการเรยี นรู้ “อาเซียนน่ารู้ (ASEAN to know)”และทำให้ตวั แอปพลเิ คชัน สามารถใช้งานในระบบ Android ได้ และ เพ่ือ สรา้ งแอพพลิเคชน่ั ท่ีให้ความรู้ความเขา้ ใจในเรื่อง 10 ประเทศอาเซยี นมากข้ึน มผี ลการดำเนนิ โครงงานดังนี้ ๔.๑ ผลการออกแบบและสร้างแอพพลเิ คชน่ั ผลการออกแบบและสร้างแอปพลเิ คชันพัฒนาส่ือการเรยี นรเู้ พือ่ ส่งเสรมิ ทักษะการเรียนรู้ เรือ่ ง 10 ประเทศอาเซียน ในรปู แบบของสื่อการเรียนรู้ “อาเซียนน่ารู้ (ASEAN to know)” ท่ีเกิดจากการออกแบบ และการสร้างสื่อการเรียนรู้ในครั้งน้ี ๑) แอปพลเิ คชนั พฒั นาสอ่ื การเรียนรู้“อาเซยี นน่ารู้ (ASEAN to know)” ภาพท่ี ๔ ไอคอนแอปพลเิ คชัน สือ่ การเรยี นรู้“อาเซียนนา่ รู้ (ASEAN to know)”

๑๐ ๒) หนา้ หลักของแอปพลเิ คชันพฒั นาส่ือการเรียนรู้“อาเซียนนา่ รู้ (ASEAN to know)” ภาพท่ี ๕ หน้าหลกั ของแอพพลิเคชน่ั ๓) สว่ นของเนอื้ หาส่ือการเรียนรู้ ภาพที่ ๖ หน้าเนอ้ื หาสอ่ื การเรยี นรู้

๑๑ ๔) สว่ นของแบบฝึกหัดของสื่อการเรยี นรู้ ภาพที่ ๗ หน้าเขา้ สแู่ บบฝึกหัด ๕)สว่ นของตวั อย่างแบบฝึกหดั ภาพที่ ๘ หน้าตวั อยา่ งแบบฝึกหดั

๑๒ ๖)ส่วนของหนา้ สรุปคะแนนแบบฝึกหดั ภาพท่ี ๙ หนา้ สรุปผลคะแนน ๔.๒ ผลการประเมินความพึงพอใจต่อโครงงานคอมพิวเตอร์ การสร้างแอพพลิเคชั่นพัฒนาเกมเพื่อสง่ เสรมิ ทักษะการเรยี นรู้ เรื่อง คำศัพทภ์ าษาองั กฤษ ในรปู แบบ ของส่ือการเรยี นรู้ “อาเซียน น่ารู้ (ASEAN to know)” ผจู้ ัดทำโครงงานได้ออกแบบแบบสอบถามการประเมนิ ความพงึ พอใจในการใข้งานของกลุ่มเปา้ หมาย โดยมคี รูท่ีปรกึ ษาโครงงานเป็นผตู้ รวจสอบหาประสทิ ธภิ าพของ แบบประเมนิ

๑๓ ตารางที่ ๒ แสดงผลค่าเฉลี่ยเลขคณติ การประเมนิ ความพงึ พอใจสื่อการเรยี นรู้ “อาเซียน น่ารู้ (ASEAN to know)” รายการประเมนิ คา่ เฉลี่ย ความพึงพอใจ ๑. ความรู้ทีไ่ ดร้ บั จากการใชแ้ อปพลิเคชนั ๔.๑๘ ดี ๒. ประสทิ ธิภาพของแอปพลิเคชัน ๔.๒๓ ดี ๓. เสยี งที่ใช้ประกอบในแอปพลเิ คชนั ๔.๑๓ ดี ๔. องคป์ ระกอบต่างๆของแอปพลิเคชนั ๔.๑๘ ดี ๕. ความถูกตอ้ งของเน้ือหาในแอปพลเิ คชัน ๔.๓๐ ดี ๖. สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นชีวิตจริงได้ ๔.๒๘ ดี ๔.๒๒ ดี รวม จากตารางท่ี ๒ พบวา่ เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อพบวา่ สว่ นใหญ่อย่ใู นระดับดี หวั ขอ้ ท่ีมีคา่ เฉลีย่ นอ้ ย ทีส่ ุด คือ เสียงท่ีใช้ประกอบในแอปพลเิ คชนั มีค่าเฉลีย่ เท่ากบั ๔.๑๓ ซึ่งอย่ใู นระดบั ดี หวั ขอ้ ท่ีมีคา่ เฉล่ยี สงู สดุ คือ สามารถนำความรู้ไปใช้ในชวี ติ จรงิ ไดค้ า่ เฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๘ ซง่ึ อยูใ่ นระดับดีเช่นกัน และความพึงพอใจ โดยรวมต่อสื่อการเรียนรู้ อาเซยี น นา่ รู้ “(ASEAN to know)” อยใู่ นระดับทดี่ ี โดยมีค่าเฉลย่ี เท่ากับ ๔.๒๒

๑๔ บทที่ ๕ สรุปการดำเนินงานและอภิปรายผลการดำเนินงาน การสรา้ งแอพพลเิ คชัน่ พัฒนาสอ่ื การเรยี นรู้เพือ่ สง่ เสริมทักษะการเรยี นรู้ เรื่อง 10 ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ในรูปแบบของส่อื การเรยี นรู้ “อาเซียน นา่ รู้ (ASEAN to know)” สามารถสรปุ ผลการดำเนินงานได้ ดังน้ี สรปุ ผลการดำเนินงาน การสรา้ งแอพพลเิ คชน่ั พัฒนาเกมเพือ่ ส่งเสริมทกั ษะการเรยี นรู้ เร่อื ง 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน ใน รูปแบบของสื่อการเรยี นรู้ “อาเซียน น่ารู้ (ASEAN to know)” สรา้ งโดยใชโ้ ปรแกรม MIT App Inventor ใน รูปแบบไฟล์ Apk เพอ่ื ให้สามารถใช้งานบนโทรศัพทม์ ือถือหรืออุปกรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ในระบบปฏบิ ัติการแอน ดรอยดไ์ ด้ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจในการใช้แอพพลิเคช่ันสือ่ การเรยี นรู้ “อาเซยี น น่ารู้ (ASEAN to know)” จำนวน ๔๐ คน พบวา่ เมือ่ พิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า ส่วนใหญอ่ ยู่ในระดบั ดี หวั ขอ้ ที่มีค่าเฉล่ียนอ้ ย ท่ีสุด คอื เสียงที่ใชป้ ระกอบในแอปพลิเคชนั มคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ ๔.๑๓ ซ่งึ อยูใ่ นระดับดี หวั ข้อที่มีค่าเฉล่ยี สูงสดุ คือ สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตจรงิ ได้คา่ เฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๘ ซึง่ อย่ใู นระดับดีเช่นกัน และความพึงพอใจ โดยรวมต่อส่ือการเรียนรู้ อาเซยี น นา่ รู้ “(ASEAN to know)” อย่ใู นระดบั ทดี่ ี โดยมคี ่าเฉล่ียเทา่ กับ ๔.๒๒ สรุปได้วา่ โครงงานการพัฒนาส่ือการเรียนรเู้ พ่ือส่งเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู้ เร่ือง 10 ประเทศสมาชิก อาเซียน ในรปู แบบของส่อื การเรียนรู้ “อาเซยี น น่ารู้ (ASEAN to know)” สามารถพฒั นาความรู้ และทักษะ ในการจดจำข้อมูลพ้ืนฐานของ 10 ประเทศสมาชิกอาเซยี น พรอ้ มทง้ั ใหผ้ ใู้ ช้ไดร้ ับความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องของ 10 ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ข้อเสนอแนะ ๑) ในการพฒั นาแอปพลิเคชั่นเพ่ือสง่ เสริมทักษะการเรยี นรู้ เร่ือง 10 ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ใน รปู แบบของแอปพลเิ คชน่ั “อาเซียน นา่ รู้ (ASEAN to know)” มีข้อมลู ต่างๆของแตล่ ะประเทศมากย่ิงขึ้น ๒) การสร้างแอพพลเิ คช่ันสื่อการเรยี นรู้ เร่อื ง 10 ประเทศสมาชกิ อาเซียน ในรูปแบบของสื่อการ เรยี นรู้ “อาเซียน น่ารู้ (ASEAN to know)” มีลูกเล่นตา่ งๆ และเสยี งดนตรีประกอบท่ีสามารถใหค้ วามนา่ สนใจ แก่ผทู้ ดลองใช้มากย่ิงขน้ึ

๑๕ บรรณานุกรม YouTube. (๒๕๖๒, ตุลาคม ๒๗). สอนใช้ Wix แบบฉบับด่วน ๆ [วิดีโอ], สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๖๓. จาก https://www.youtube.com/watch?v=Re0H3mHiQZA YouTube. (๒๕๖๒, กนั ยายน ๒๕). MIT App Inventor2: สรา้ งแอพสอนคำศัพท์ (ep. 1/3) [วิดีโอ], สบื ค้นเมอื่ วันท่ี ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/HoMc2zYASuM YouTube. (๒๕๖๒, กันยายน ๒๖). MIT App Inventor2: สร้างแอปสอนคำศัพท์ (ep. 2/3) [วิดโี อ], สืบค้นเมือ่ วนั ท่ี ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/UA8ioVEwskw YouTube. (๒๕๖๒, กนั ยายน ๒๖). MIT App Inventor2: สรา้ งแอพสอนคำศัพท์ (ep. 3/3) [วดิ โี อ], สบื ค้นเม่ือวนั ที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/PI7Tx_fMsLw (๒๕๖๑, กันยายน ๒๗). ประเทศอาเซยี น ๑๐ ประเทศ ทค่ี ุณควรรู้จัก [ออนไลน์], สบื ค้นเมอ่ื วันท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://www.sanook.com/money/69225/ (๒๕๕๖, กันยายน ๒๑). ความรู้เก่ยี วกบั อาเซยี น [ออนไลน์], สบื ค้นเม่อื วันที่ ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm

๑๖ ภาคผนวก

๑๗ ค่มู อื การใชง้ าน แอพพลิเคชน่ั สื่อการเรยี นรู้ อาเซียนนา่ รู้ (ASEAN to know) โดย เลขท่ี ๑๐ เลขท่ี ๓๗ ๑. นายอศั จรรย์ จันอุป ๒. นางสาวกลุ ยา ศริ ิสม ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ โรงเรียนกัลยาณวตั ร สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๒๕

๑๘ การเขา้ ใช้แอพพลเิ คชั่นสอ่ื การเรียนรู้ อาเซยี นนา่ รู้ (ASEAN to know) ๑. ติดตงั้ โปรแกรม ASEAN_to_know.apk ลงบนโทรศัพท์มือถือ Android ๒. เปดิ แอพพลเิ คชั่น ASEAN

๑๙

๒๐

๒๑

๒๒ แบบฟอรม์ ขอ้ เสนอโครงงาน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ ชือ่ โครงงาน(ภาษาไทย) อาเซยี น น่ารู้ ชอ่ื โครงงาน(ภาษาอังกฤษ) ASEAN to know ประเภทโครงงาน โปรมแกรมเพื่อส่งเสริมทกั ษะการเรียนรู้ ผูจ้ ัดทำโครงงาน ๑.นายอศั จรรย์ จนั อปุ เลขที่ ๑๐ ๒.นางสาวกุลยา ศริ สิ ม เลขท่ี ๓๗ อาจารยท์ ีป่ รึกษาโครงงาน คุณครู อำนาจ พรหมใจรักษ์ ระยะเวลาการดําเนินงาน ๒๑ ตุลาคม – ๑๗ พฤษจกิ ายน ๒๕๖๓

๒๓ หลักการและเหตุผล ปจั จบุ ันนป้ี ระเทศสว่ นใหญ่ในโลกมกี ารรวมตวั จัดกลุม่ กนั เพือ่ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางเศรษฐกิจ การ พัฒนาสังคมและวฒั นธรรม ซึ่งในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้มีการจดั ต้งั สมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชีย ตะวนั ออกเฉยี งใต้(Association of South East Asian Nations) หรอื ในนาม ASEAN โดยมสี มาชกิ ท้ังหมด ๑๐ ประเทศได้แก่ กมั พูชา ไทย บรไู น พม่า ฟิลิปปนิ ส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซยี ในฐานะทปี่ ระเทศไทยเป็นหนึง่ ในสมาชิก เราจึงจะตอ้ งมกี ารเรียนรวู้ ฒั นธรรมตา่ งๆ ของประเทศสมาชิก ทางผู้พฒั นาจึงไดเ้ ล็งเห็นถึงประโยชน์ของเทคโนโลยใี นดา้ นการศึกษา เราจึงไดน้ ำมาพฒั นาเป็น แอปพลิเคชั่นเพ่ือสง่ เสริมทักษะการเรียนรู้ขน้ึ ในช่ือวา่ \"อาเซียน น่ารู้ (ASEAN to know)\" โดยเนอ้ื หาจะ ครอบคลุมความรู้พนื้ ฐานของ ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ไมว่ า่ จะเปน็ ในเร่อื งของ ธงชาติ เมืองหลวง ภาษา สกุลเงิน การนบั ถือศาสนา ระบอบการปกครอง และคำทักทาย เปน็ ต้น วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพ่อื ออกแบบและสร้างแอปพลิเคช่นั เพอื่ สง่ เสรมิ ทกั ษะการเรียนรู้ในเรื่อง ความรู้พื้นฐานเก่ียวกบั ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน ในชื่อโครงงาน อาเซยี น นา่ รู้ (ASEAN to know) เพ่ือใชก้ ับ Smart Phone หรือ Tablet ท่ีใช้ระบบปฏบิ ตั ิการ Android ๒. ผทู้ ดลองไดร้ บั ความรู้ ความเข้าใจในเรอ่ื งความรู้พืน้ ฐานเก่ยี วกับ ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซียน วิธกี ารดาํ เนินงาน ๑) คิดหัวข้อโครงงานเพ่ือนำเสนออาจารย์ทป่ี รึกษา ๒) ศึกษาค้นควา้ รวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั การสร้างโปรแกรมเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ ๓) จดั ทำโครงงานคอมพวิ เตอรเ์ สนออาจารย์ทปี่ รึกษา ๔) ออกแบบโปรแกรมเพ่ือส่งเสริมทักษะการเรยี นรู้ หน้าหลัก เนอื้ หา แบบฝกึ หดั ฯลฯ ๕) สร้างโปรแกรมเพื่อสง่ เสริมทักษะการเรียนรู้เรื่อง ความรพู้ ื้นฐานเกี่ยวกบั ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น เปน็ ไฟล์ Apk. เพือ่ ใชบ้ นระบบปฏิบตั กิ าร Android ๖) ตรวจสอบการทำงานของโปรแกรมเพือ่ สง่ เสริมทักษะการเรียนรู้เร่ือง ความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกบั ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซยี น และแก้ไข้ข้อผดิ พลาด ๗) นำโปรแกรมเพ่ือสง่ เสรมิ ทักษะการเรียนรู้เร่ือง ความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกบั ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซียน ไปสอบถามข้อเสนอแนะจากอาจารยท์ ป่ี รึกษา ๘) ปรับปรงุ แก้ไขข้อบกพร่องตามท่อี าจารย์ทป่ี รกึ ษาเสนอแนะเพ่ิมเตมิ

๒๔ ๙) ทดสอบใชน้ ำโปรแกรมเพ่ือสง่ เสรมิ ทกั ษะการเรียนรู้เรอื่ ง ความรู้ พน้ื ฐานเก่ียวกบั ๑๐ประเทศสมาชกิ อาเซียน ในช่อื โครงงาน อาเซียน น่ารู้ (ASEAN to know) และรวบรวมขอ้ มูลความพงึ พอใจของกลุ่ม ตวั อย่างหลังทดลองใช้แอปพลิเคช่ัน ๑๐)ทำเอกสารสรุปรายงานโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน การออกแบบและพฒั นาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนร้เู รื่อง ความรู้พื้นฐานเกีย่ วกับ ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยใชโ้ ปรแกรม MIT App inventor ในการสร้างแอปพลิเคชั่น และไฟล์ Apk. สำหรับตดิ ตั้งในระบบปฏบิ ตั ิการ Android กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการทดลองแอปพลิเคชนั อาเซยี นนา่ รู้ (ASEAN to know) ท่ีเกิดจากการพฒั นาโครงงานในคร้งั น้ีไดแ้ ก่ บุคคลที่อายุไมต่ ำ่ กวา่ ๗ ปี ในจังหวดั ขอนแก่นจำนวน ๔๐ คน

๒๕ แผนการดําเนนิ งาน ตารางที่ ๑ แผนการดำเนินงานของโครงงาน ข้นั ตอนการดำเนินงาน ระยะเวลาการดำเนนิ งาน ๑.คดิ หัวขอ้ โครงงานนำเสนออาจารย์ทป่ี รกึ ษา ๒๘ ต.ค. - ๕ ๖ พ.ย. - ๕ พ.ย. ๑๓ พ.ย. - ๑๘ ๒.ศกึ ษาค้นควา้ รวบรวมข้อมลู เกี่ยวกับ พ.ย. ๒๕๖๓ ๒๕๖๓ พ.ย. ๒๕๖๓ การสร้างโปรแกรมเพือ่ สง่ เสริมทักษะการเรียนรู้ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ ๓.จดั ทำโครงงานคอมพวิ เตอรเ์ สนอ อาจารย์ทป่ี รึกษา ๔.ออกแบบโปรแกรมเพอ่ื ส่งเสรมิ ทกั ษะการเรียนรู้ หนา้ หลัก เนื้อหา แบบฝกึ หดั ฯลฯ ๕.สรา้ งโปรแกรมเพ่ือส่งเสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู้เรอ่ื ง ความรู้พนื้ ฐานเกี่ยวกับ ๑๐ ประเทศสมาชิก อาเซยี น เปน็ ไฟล์ Apk. เพือ่ ใชบ้ นระบบปฏิบัติการ Android ๖.ตรวจสอบการทำงานของโปรแกรมเพือ่ ส่งเสรมิ ทักษะการเรยี นรเู้ ร่อื ง ความรู้พ้ืนฐานเกีย่ วกบั ๑๐ ประเทศสมาชิกอาเซียน และแกไ้ ข้ขอ้ ผิดพลาด ๗.นำโปรแกรมเพ่อื สง่ เสรมิ ทกั ษะการเรยี นรู้เรือ่ ง ความร้พู นื้ ฐานเกี่ยวกับ ๑๐ ประเทศสมาชิก อาเซยี น ไปสอบถามข้อเสนอแนะจาก อาจารย์ที่ปรกึ ษา ๘.ปรบั ปรงุ แกไ้ ขข้อบกพร่องตามทอ่ี าจารยท์ ี่ ปรกึ ษาเสนอแนะเพ่มิ เติม ๙.ทดสอบใชน้ ำโปรแกรมเพ่อื สง่ เสรมิ ทักษะการ เรยี นรเู้ รื่อง ความรู้พืน้ ฐานเกยี่ วกบั ๑๐ประเทศ สมาชิกอาเซยี น ในช่อื โครงงาน อาเซียน นา่ รู้ (ASEAN to know) และ รวบรวมข้อมูลความพงึ พอใจของกลุ่มตวั อย่าง หลังทดลองใช้แอปพลิเคช่ัน ๑๐.ทำเอกสารสรปุ รายงานโครงงาน

๒๖ ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ ๑. โปรแกรมสง่ เสรมิ ทักษะการเรียนรู้ \"อาเซียน น่ารู้ (ASEAN to know)\" สามารถใชบ้ นระบบปฎบิ ัติ การ Android ไดจ้ ริง ๒. ผ้ทู ดลองไดร้ บั ความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั ความรพู้ ื้นฐานเกี่ยวกบั ๑๐ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น เอกสารอ้างอิง YouTube. (๒๕๖๒, ตุลาคม ๒๗). สอนใช้ Wix แบบฉบับด่วน ๆ [วิดีโอ], สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://www.youtube.com/watch?v=Re0H3mHiQZA YouTube. (๒๕๖๒, กันยายน ๒๕). MIT App Inventor2: สรา้ งแอพสอนคำศัพท์ (ep. 1/3) [วิดีโอ], สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/HoMc2zYASuM YouTube. (๒๕๖๒, กันยายน ๒๖). MIT App Inventor2: สรา้ งแอปสอนคำศัพท์ (ep. 2/3) [วิดโี อ], สืบค้นเม่อื วันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/UA8ioVEwskw YouTube. (๒๕๖๒, กนั ยายน ๒๖). MIT App Inventor2: สร้างแอพสอนคำศัพท์ (ep. 3/3) [วดิ ีโอ], สืบคน้ เมื่อวนั ที่ ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://youtu.be/PI7Tx_fMsLw (๒๕๖๑, กันยายน ๒๗). ประเทศอาเซยี น ๑๐ ประเทศ ทีค่ ุณควรรจู้ กั [ออนไลน์], สืบค้นเม่ือวันท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก https://www.sanook.com/money/69225/ (๒๕๕๖, กันยายน ๒๑). ความรเู้ กี่ยวกับอาเซยี น [ออนไลน์], สืบค้นเมอื่ วันท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๖๓. จาก http://www.lampangvc.ac.th/lvcasean/page_asean.htm ผลการพจิ ารณา อนุมตั ิ ปรบั ปรงุ ลงชอ่ื .......................................... (อำนาจ พรมใจรัก) ครูท่ปี รกึ ษาโครงงาน

๒๗ แบบสำรวจความพงึ พอใจ โคงงานคอมพวิ เตอร์ แอปพลเิ คชัน่ อาเซยี น น่ารู้ (ASEAN to know) แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงคเ์ พ่ือสำรวจความพงึ พอใจของโครงงานคอมพวิ เตอร์ แอปพลเิ คชน่ั อาเซยี น น่ารู้ (ASEAN to know) คำช้แี จง :เขยี นเคร่ืองหมาย √ ลงในช่องระดับความพงึ พอใจตามความเปน็ จริง ( ๕=มากที่สุด ๔=มาก ๓=ปานกลาง ๒=น้อย ๑=ปรับปรงุ ) หวั ข้อการประเมิน ระดับความพึงพอใจ ๕๔๓๒๑ ๑. ความร้ท่ีได้รบั จากการใช้แอปพลิเคชัน่ ๒. ประสิทธภิ าพของแอปพลเิ คชน่ั ๓. เสยี งทใี่ ชป้ ระกอบในแอปพลิเคช่นั ๔. องคป์ ระกอบต่างๆของแอปพลิเคชั่น ๕. ความถกู ต้องของเนื้อหาในแอปพลิเคช่ัน ๖. สามารถนำความรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตจรงิ ได้ ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………..


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook