Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินงานการศึกษาตามอัธยาศัย 2564

รายงานผลการดำเนินงานการศึกษาตามอัธยาศัย 2564

Published by worakan.rasri, 2021-12-28 03:55:42

Description: รายงานผลการดำเนินงานการศึกษาตามอัธยาศัย 2564

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนินงาน

คานา รายงานน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือรายงานผลการดาเนินงานการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงาน กศน.จังหวัดหนองคาย ภายใต้นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน ของสานักงาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยปรากฏผลการดาเนินงานตามเป้าหมายผลผลิต/ ผลลัพธ์ของโครงการอย่างเป็นรูปธรรม กลุ่มเป้าหมายได้รับบริการกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกลไกการศึกษา ตลอดชวี ติ ในรปู แบบของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ภายใตโ้ ครงการ/กิจกรรม ซึ่งจะเป็น ร่องรอยหลักฐานของการทางาน ท่ีจะแสดงให้เห็นประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการทางาน ในขณะเดียวกนั ผูบ้ รหิ ารทั้งระดบั สูง และหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง การจัดทารายงานฉบบั นส้ี าเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ไปด้วยดี ขอขอบคุณผู้สนับสนุนกลุ่มส่งเสริม การศึกษาตามอัธยาศัย คณะทางาน บรรณารักษ์ เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานห้องสมุดและเจ้าหน้าท่ีทุกท่าน ทาให้ รายงานฉบับนี้สมบูรณ์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจและสามารถเผยแพร่ต่อ สาธารณชนได้ กลมุ่ สง่ เสรมิ การศึกษาตามอัธยาศยั สานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย

สารบญั หนา้ สารบัญ ส่วนที่ 1 บทนา 1 จุดเนน้ การดาเนนิ งานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. 1 1. นอ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาส่กู ารปฏบิ ัติ 1 2. สง่ เสริมการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ สาหรบั ประชาชนท่เี หมาะสมกับทุกชว่ งวยั 1 3. พฒั นาหลกั สูตร ส่ือ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรยี นรู้และรปู แบบ การจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ ในทกุ ระดับ ทุกประเภท 1 4. บรู ณาการความรว่ มมอื ในการส่งเสรมิ สนับสนุน และจัดการศึกษา และการเรียนรใู้ ห้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ 1 5. พัฒนาศกั ยภาพและประสิทธิภาพในการทางานของบุคลากร กศน. 2 6. ปรับปรงุ และพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารจดั การองคก์ ร ปจั จัยพน้ื ฐาน 2 ในการจัดการศึกษา และการประชาสัมพนั ธ์สรา้ งการรับรตู้ ่อสาธารณะชน การจัดการศกึ ษาและการเรียนรใู้ นสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 2 (COVID - 19) ของสานักงาน กศน 1. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ 3 2. ดา้ นหลกั สูตร ส่ือ รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล งานบริการทาง 5 วชิ าการ และการประกันคุณภาพการศึกษา 3. ดา้ นเทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษา 6 4. ดา้ นโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ หรอื โครงการอันเกีย่ วเน่ืองจากราชวงศ์ 6 5. ด้านการศกึ ษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ พ้นื ทเี่ ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ และพืน้ ท่ีบริเวณชายแดน 7 6. ดา้ นบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วน 7 ขอ้ มูลพ้นื ฐานสานักงาน กศน.จงั หวัดหนองคาย 9 ส่วนท่ี 2 ผลการดาเนินงานตามนโยบายและจุดเน้น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 การศกึ ษาตาม 12 อธั ยาศัย นโยบายเรง่ ด่วน 12 - ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ตน้ แบบ กศน.ใน 5 ภมู ิภาค Co-learning Space 12 - การปรบั ปรุงจดั การอ่านเคลือ่ นท่ี (รถห้องสมดุ เคลือ่ นท่ี) โครงการพฒั นาห้องสมุดประชาชน 26 เคลื่อนที่ ภาระกิจต่อเน่อื ง 28 - ห้องสมดุ ประชาชน 28 - บา้ นหนังสือชุมชน 29 - หอ้ งสมุดเคล่ือนทสี่ าหรบั ชาวตลาด 31 - หอ้ งสมดุ ประชาชนเคลอ่ื นท่ี 36 - แหล่งเรียนรแู้ ละภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น 41 คณะผูจ้ ดั ทา 46

ส่วนที่ 1 บทนา จดุ เนน้ การดาเนินงานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งาน กศน. 1. น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาสูก่ ารปฏบิ ตั ิ 1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธิตและเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ทั้งดิน น้า ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ์ต่าง ๆ และส่งเสรมิ การใช้พลังงานทดแทนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 1.2 จดั ให้มี “หนึง่ ชุมชน หนึง่ นวัตกรรมการพัฒนาชุมชน” เพื่อความกนิ ดี อยู่ดี มงี านท้า 1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมท้ังปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดท่ีถูกต้องด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม มีทัศนคติท่ดี ีต่อบ้านเมือง และเป็นผู้มีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผ่านกิจกรรมการ พัฒนา ผูเ้ รยี นโดยการใชก้ ระบวนการลกู เสอื และยุวกาชาด 2. สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาและการเรียนรูต้ ลอดชวี ิตสาหรับประชาชนทีเ่ หมาะสมกบั ทกุ ช่วงวัย 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท้า ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ผูร้ ับบริการ และสามารถออกใบรับรองความรู้ความสามารถเพอ่ื นา้ ไปใช้ในการพัฒนาอาชพี ได้ 2.2 ส่งเสรมิ และยกระดับทักษะภาษาอังกฤษให้กบั ประชาชน (English for ALL) 2.3 สง่ เสริมการเรยี นการสอนที่เหมาะสมสา้ หรบั ผทู้ ่เี ขา้ ส่สู งั คมสูงวยั อาทิ การฝกึ อบรมอาชีพ ท่ีเหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลักสูตร การดูแลผสู้ งู วยั โดยเนน้ การมีส่วนร่วมกบั ภาคีเครอื ข่ายทุกภาคส่วนในการเตรียมความพร้อมเข้าสสู่ งั คมสูงวัย 3. พัฒนาหลกั สูตร สือ่ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และรูปแบบ การจัดการศึกษา และการเรียนรู้ ในทุกระดับ ทุกประเภท เพือ่ ประโยชน์ตอ่ การจัดการศึกษาทเี่ หมาะสม กับทุกกลุ่มเป้าหมาย มีความทันสมัย สอดคล้องและพร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปัจจุบัน ความต้องการ ของผู้เรียน และ สภาวะการเรยี นรู้ในสถานการณต์ ่าง ๆ ท่ีจะเกดิ ขึน้ ในอนาคต 3.1 พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Leaming Platform ท่ีรองรับ DEEP ของ กระทรวงศกึ ษาธิการ และชอ่ งทางเรียนรรู้ ปู แบบอื่น ๆ ทั้ง Online On-site และ On-air 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพ่ือให้ สามารถ “เรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งทั่วถงึ ทกุ ท่ี ทกุ เวลา” 3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบ อิเล็กทรอนิกส์ (E-exam) 4. บรู ณาการความรว่ มมือในการส่งเสริม สนับสนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอย่าง มีคณุ ภาพ 4.1 ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ัง ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชีพท่ีเป็นอัตลักษณ์และบริบทของ ชุมชน สง่ เสรมิ การตลาดและขยายชอ่ งทางการจา้ หน่ายเพือ่ ยกระดบั ผลิตภณั ฑ/์ สนิ คา้ กศน.

4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งในส่วนกลาง และ ภมู ภิ าค 5. พัฒนาศกั ยภาพและประสิทธภิ าพในการทางานของบคุ ลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ให้กับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังพัฒนา ครูให้มีทักษะ ความรู้ และความช้านาญในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรู้และการจัดการเรียน การสอนเพ่ือฝกึ ทักษะ การคดิ วิเคราะหอ์ ย่างเป็นระบบและมีเหตุผล เปน็ ขัน้ ตอน 5.2 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพใน การท้างานร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการท้างาน 6. ปรบั ปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารจัดการองค์กร ปัจจัยพืน้ ฐานในการจัดการศกึ ษา และ การประชาสัมพนั ธ์สร้างการรับรู้ตอ่ สาธารณะชน 6.1 เร่งผลกั ดนั ร่างพระราชบญั ญัตสิ ง่ เสรมิ การเรียนรู้ พ.ศ. ... ใหส้ ้าเร็จ และปรับโครงสร้างการบริหาร และอตั ราก้าลังใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทการเปลีย่ นแปลง เร่งการสรรหา บรรจุ แต่งตั้งทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ 6.2 น้านวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการท้างานและข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษาท่ีทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดต้ังศูนย์ข้อมูลกล าง กศน. เพ่อื จัดท้า ข้อมูล กศน. ทงั้ ระบบ (ONE ONIE) 6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟ้ืนฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงาน สถานศึกษา และแหล่งเรยี นร้ทู กุ แห่ง ให้สะอาด ปลอดภัย พรอ้ มให้บรกิ าร 6.4 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนท่ัวไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ/กิจกรรม ด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ ของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านส่ือรูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/ มหกรรม วชิ าการ กศน. การจัดการศกึ ษาและการเรียนร้ใู นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสานกั งาน กศน. จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562 สง่ ผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้ ออกประกาศและมมี าตรการเฝ้าระวังเพ่ือป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรัสดังกล่าว อาทิ ก้าหนดให้มี การ เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใช้อาคารสถานท่ีของโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุก ประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการท้ากิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจ้านวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การก้าหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการ เรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึง การสื่อสารแบบทางไกลหรือด้วยวิธอี ิเลก็ ทรอนกิ ส์ ในส่วนของส้านักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการด้าเนินงานใน ภารกจิ ต่อเนื่องต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวติ ประจ้าวัน และการจัดการเรียนรู้เพ่ือรองรับการชีวิตแบบปกติ วิถีใหม่ (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความส้าคัญกับการด้าเนินงานตามมาตรการ การป้องกัน การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุก 2

ประเภท หากมีความจ้าเปน็ ตอ้ งมาพบกลุ่ม หรอื อบรมสัมมนา ทางสถานศกึ ษาต้องมีมาตรการป้องกันที่เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผู้รับบริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่าง บคุ คล เนน้ การใช้สือ่ ดิจิทลั และเทคโนโลยอี อนไลน์ในการจัดการเรียนการสอน ภารกจิ ต่อเน่ือง 1. ด้านการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโดยด้าเนินการให้ ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียน การสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอเพ่ือเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษา ที่มีคุณภาพโดยไม่เสีย ค่าใชจ้ ่าย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัด การศึกษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน ทั้งด้านหลกั สตู รรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สือ่ และนวตั กรรม ระบบการวดั และประเมินผล การเรียน และระบบการใหบ้ รกิ ารนกั ศกึ ษาในรปู แบบอืน่ ๆ 4) จัดให้มกี ารประเมินเพ่อื เทียบระดบั การศกึ ษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ท่ีมีความ โปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่ก้าหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 5) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพ่อื เปน็ สว่ นหนึง่ ของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกัน และ แก้ไขปัญหายาเสพติดการแข่งขันกีฬา การบ้าเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา และการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม พร้อมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนน้ากิจกรรมการบ้าเพ็ญประโยชน์ อ่นื ๆ นอกหลักสูตรมาใช้เพิ่มชั่วโมงกิจกรรมใหผ้ ูเ้ รียนจบตามหลักสูตรได้ 1.2 การส่งเสรมิ การรู้หนังสอื 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน ทัง้ ส่วนกลางและสว่ นภูมภิ าค 2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียนเครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการด้าเนินงาน การ สง่ เสริมการรู้หนังสอื ที่สอดคล้องกบั สภาพและบริบทของแต่ละกล่มุ เปา้ หมาย 3) พฒั นาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะการจัด กระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้หนังสือใน พนื้ ทีท่ ม่ี คี วามต้องการจ้าเป็นเป็นพเิ ศษ 4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การพฒั นาทกั ษะการรูห้ นังสือใหก้ บั ประชาชนเพอื่ เปน็ เคร่ืองมอื ในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ของประชาชน 3

1.3 การศกึ ษาต่อเน่ือง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานท้าอย่างยั่งยืน โดยให้ความส้าคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานท้าในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือ การบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพ ของแต่ละพืน้ ที่ มคี ณุ ภาพไดม้ าตรฐานเปน็ ทีย่ อมรับ สอดรบั กับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนา ประเทศ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน การพัฒนา หนึ่งต้าบลหน่ึงอาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรีเม่ียม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึง การส่งเสริมและจัดหาช่องทางการจ้าหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการก้ากับ ติดตาม และรายงานผล การจัดการศกึ ษาอาชีพ เพือ่ การมงี านท้าอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนื่อง 2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ที่สอดคล้องกับความต้องการจ้าเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการด้ารงชีวิต ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเอง ให้อยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ้าวันได้ อย่างมี ประสทิ ธิภาพ และเตรียมพร้อมส้าหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี สมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเน้ือหาส้าคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพ่ือการป้อง การการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมที่พึง ประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ ชีวิต การจดั ตงั้ ชมรม/ชุมนุม การอบรมส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ เปน็ ต้น 3) จดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลกั สตู รและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณา การในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพื้นที่ เคารพความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันสร้างกระบวนการจิต สาธารณะ การสร้างจิตส้านึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ี ความเป็นพลเมือง ที่ดีภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม การเป็นจิตอาสา การบ้าเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการ บริหารจัดการน้า การรับมือกับ สาธารณภัย การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม การชว่ ยเหลือซ่ึงกันและกันในการพัฒนา สังคมและชมุ ชนอยา่ งย่งั ยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตใน รูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างม่ันคง และมีการบริหาร จัดการ ความเส่ียงอย่างเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสคู่ วามสมดลุ และยงั่ ยนื 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศัย 1) พัฒนาแหล่งการเรยี นรทู้ ี่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทเ่ี ออื้ ตอ่ การอ่านและพัฒนาศักยภาพ การ เรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนา กศน. ต้าบล ห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง เครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคล่ือนท่ี ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์ 4

เพอื่ จดั กจิ กรรม ส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างทั่วถึง สมา้่ เสมอ รวมทงั้ เสริมสรา้ งความพร้อมในด้านบุคลากร สือ่ อปุ กรณ์เพ่ือสนบั สนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรม เพ่อื สง่ เสริมการอา่ น อย่างหลากหลายรูปแบบ 2) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงศิลปะวิทยาการประจ้า ท้องถ่ิน โดยจัดท้าและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาท่ีเน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง บันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทาง วิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ท่ีบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทง้ั ระดับภมู ภิ าค และระดับโลกเพ่อื ให้ประชาชนมีความรู้และสามารถน้าความรู้และทักษะไป ประยุกต์ใช้ในการด้าเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีเป็นไปอย่าง รวดเร็วและรนุ แรง (Disruptive Changes) ไดอ้ ย่าง มีประสิทธิภาพ 3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ เพ่ือส่งเสริม การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พพิ ิธภัณฑ์ ศนู ย์เรียนรู้ แหล่งโบราณคดี วดั ศาสนาสถาน หอ้ งสมุด รวมถงึ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ เป็นต้น 2. ดา้ นหลักสูตร สื่อรูปแบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวดั และประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และ การประกันคุณภาพการศกึ ษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้และกจิ กรรมเพอื่ ส่งเสรมิ การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ หลกั สตู รท้องถน่ิ ทส่ี อดคลอ้ งกับสภาพบริบทของพ้นื ทแ่ี ละความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและชมุ ชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกส์และส่ืออ่ืน ๆ ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กลมุ่ เปา้ หมายทั่วไปและกลมุ่ เป้าหมายพเิ ศษ เพอ่ื ให้ผเู้ รียนสามารถเรยี นรไู้ ดท้ กุ ที่ ทุกเวลา 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรียนรู้ ด้วย ระบบหอ้ งเรยี นและการควบคมุ การสอบรปู แบบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพ่ือให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง มีการประชาสัมพนั ธใ์ หส้ าธารณชนไดร้ ับรแู้ ละสามารถเขา้ ถงึ ระบบการประเมนิ ได้ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานให้ได้มาตรฐานโดยการน้าแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใช้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การ วัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอัธยาศัย รวมท้ังให้มีการน้าไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ บริบทอย่างตอ่ เนื่อง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คณุ ภาพภายในที่สอดคล้องกบั บริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพ่ือพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก 5

โดยพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั ถึงความส้าคญั ของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ด้าเนินการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งต่อเนือ่ งโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัด ให้มี ระบบสถานศึกษาพ่ีเลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด ส้าหรับสถานศึกษาท่ียังไม่ได้เข้ารับการประเมิน คุณภาพ ภายนอก ใหพ้ ัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาใหไ้ ด้คุณภาพตามมาตรฐานทก่ี ้าหนด 3. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา 3.1 ผลติ และพัฒนารายการวทิ ยแุ ละรายการโทรทศั นเ์ พื่อการศึกษาเพ่ือให้เช่ือมโยงและตอบสนอง ต่อ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทาง การศึกษา ส้าหรบั กลุม่ เปา้ หมายตา่ ง ๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองให้รู้เท่าทัน ส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานท้า รายการตวิ เข้มเติมเต็มความรู้ รายการ รายการท้ากินก็ได้ ท้าขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานี วทิ ยโุ ทรทศั นเ์ พอื่ การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอรเ์ นต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อ่ืน ๆ เพื่อ ส่งเสริม ให้ครู กศน. น้าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและ การออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดย ขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นท่ีทั่วประเทศและเพ่ิมช่องทาง ให้สามารถรบั ชมรายการโทรทัศน์ได้ท้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมท่ี จะ รองรบั การพฒั นาเป็นสถานวี ทิ ยุโทรทัศน์เพอื่ การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพ่ือให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง อินเทอร์เน็ต และรปู แบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี และ Tablet รวมท้ังส่ือ Offline ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพื่อใหก้ ลุ่มเป้าหมายสามารถเลอื กใช้บริการเพื่อเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ได้ตามความตอ้ งการ 3.5 ส้ารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอย่างต่อเนื่องเพ่ือน้าผล มาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของ ประชาชนได้อยา่ งแท้จริง 4. ด้านโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอนั เกี่ยวเนือ่ งจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การดา้ เนนิ งานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชด้าริหรือโครงการ อัน เก่ยี วเน่ืองจากราชวงศ์ 4.2 จดั ท้าฐานขอ้ มูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ท่ีสนองงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด้าริ หรอื โครงการอนั เก่ยี วเน่ืองจากราชวงศ์เพอื่ นา้ ไปใชใ้ นการวางแผน การติดตามประเมินผลและการพัฒนางานได้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการด้าเนินงานเพ่ือสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ เพื่อให้เกดิ ความเข้มแข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง”เพ่ือให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหนา้ ทที่ ่ีก้าหนดไวอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ 6

4.5 จดั และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ให้สอดคลอ้ งกบั วถิ ชี ีวติ ของประชาชนบนพืน้ ท่ีสูงถ่ินทุรกันดาร และพื้นทชี่ ายขอบ 5. ดา้ นการศึกษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ พ้ืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษและพนื้ ท่ีบริเวณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายรวมทั้งอตั ลักษณ์และความเปน็ พหุวฒั นธรรมของพืน้ ท่ี 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเน่ืองเพื่อให้ ผเู้ รยี นสามารถน้าความรูท้ ไ่ี ด้รับไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จริง 3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นักศึกษา กศน.ตลอดจนผ้มู าใชบ้ ริการอย่างทว่ั ถงึ 5.2 พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการจัดท้าแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และ บรบิ ทของแต่ละจังหวัดในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 2) จัดท้าหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาด ให้เกิด การพฒั นาอาชพี ได้ตรงตามความต้องการของพืน้ ท่ี 5.3 จัดการศกึ ษาเพือ่ ความม่ันคงของศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชด้าริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ส้าหรับประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวิธกี ารเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย 2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนน้าด้าน อาชพี ทีเ่ น้นเร่ืองเกษตรธรรมชาตทิ ่สี อดคลอ้ งกับบรบิ ทของชุมชนชายแดน ใหแ้ กป่ ระชาชนตามแนวชายแดน 6. ดา้ นบุคลากรระบบการบรหิ ารจัดการ และการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคสว่ น 6.1 การพฒั นาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง ท้ังก่อนและระหว่าง การด้ารงต้าแหน่งเพ่ือให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงานให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานต้าแหน่ง ให้ตรงกับ สายงาน ความช้านาญ และความตอ้ งการของบคุ ลากรสามารถปฏิบตั งิ านและบริหารจัดการการด้าเนินงานของ หนว่ ยงานและ สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมท้ังส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเลื่อน ต้าแหน่ง หรอื เล่อื นวทิ ยฐานะโดยเนน้ การประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ์ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จ้าเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ในสถานศกึ ษา 3) พัฒนาหัวหน้า กศน.ต้าบล/แขวงให้มีสมรรถนะสูงข้ึน เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ต้าบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อ้านวย ความสะดวกในการเรียนรเู้ พอ่ื ให้ผูเ้ รียนเกดิ การเรียนร้ทู มี่ ีประสิทธิภาพอยา่ งแทจ้ ริง 7

4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ ได้ อย่างมีคุณภาพโดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดท้าแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และประเมนิ ผล และการวจิ ยั เบื้องต้น 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมีความเปน็ มืออาชพี ในการจัดบริการส่งเสริมการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตของประชาชน 6) สง่ เสรมิ ให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ บริหาร การดา้ เนนิ งานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 7) พฒั นาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถท้าหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอธั ยาศัยได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน และ ต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพในการท้างาน รว่ มกันในรูปแบบทห่ี ลากหลายอยา่ งตอ่ เน่ืองอาทิ การแขง่ ขนั กฬี า การอบรมเชงิ ปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการท้างาน 6.2 การพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานและอัตรากาลงั 1) จัดทา้ แผนการพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานและดา้ เนนิ การปรบั ปรงุ สถานท่ีและวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความ พร้อมในการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ 2) สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบริหารอัตราก้าลังที่มีอยู่ทั้งในส่วนท่ีเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เป็นไปตามโครงสร้างการบริหารและกรอบอัตราก้าลัง รวมทั้งรองรับกับบทบาทภารกิจตามท่ี กา้ หนดไว้ ใหเ้ กิดประสิทธิภาพสงู สดุ ในการปฏบิ ัตงิ าน 3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อน้ามาใช้ ในการปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานให้มีความพร้อมส้าหรับด้าเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย และการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้สา้ หรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ อย่างเป็น ระบบเพือ่ ให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถน้าไปใช้เป็นเคร่ืองมือส้าคัญในการบริหาร การวางแผน การปฏิบัตงิ าน การติดตามประเมนิ ผล รวมทัง้ จดั บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่าง มปี ระสทิ ธิภาพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการก้ากับ ควบคุม และเร่งรัด การเบกิ จ่ายงบประมาณให้เปน็ ตามเป้าหมายทีก่ า้ หนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานข้อมลู รวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เชื่อมโยง กนั ทว่ั ประเทศ สามารถสบื คน้ และสอบทานไดท้ นั ความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ ผู้เรียน และการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ 4) ส่งเสริมใหม้ กี ารจัดการความรใู้ นหนว่ ยงานและสถานศึกษาทุกระดบั รวมทง้ั การศกึ ษาวิจัย เพื่อ สามารถน้ามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการด้าเนินงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และ ชุมชนพรอ้ มทั้งพฒั นาขดี ความสามารถเชงิ การแขง่ ขนั ของหน่วยงานและสถานศึกษา 8

5) สรา้ งความร่วมมอื ของภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคสว่ น ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมท้ังในประเทศ และ ต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความ รว่ มมอื ในการส่งเสริม สนบั สนนุ และจัดการศึกษาและการเรียนร้ใู ห้กบั ประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ 6) ส่งเสริมการใช้ระบบส้านักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการ ลา ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใชห้ ้องประชมุ เปน็ ตน้ 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤตมิ ิชอบ บริหารจดั การบนข้อมลู และหลกั ฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสมั ฤทธิม์ ีความโปร่งใส 6.4 การกากับ นเิ ทศตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล 1) สร้างกลไกการก้ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการด้าเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยให้เช่ือมโยงกบั หนว่ ยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่ายทง้ั ระบบ 2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการก้ากับ ติดตามและ รายงานผลการนา้ นโยบายสู่การปฏบิ ัติ ใหส้ ามารถตอบสนองการด้าเนินงานตามนโยบายในแต่ละเร่ืองได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ 3) ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร และสอ่ื อื่น ๆ ที่เหมาะสม เพ่ือการก้ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค้ารับรองการปฏิบัติราชการประจ้าปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในค้ารับรองการปฏิบัติราชการประจ้าปี ของ สา้ นักงาน กศน.ให้ดา้ เนินไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธกี าร และระยะเวลาท่กี า้ หนด 5) ให้มีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อ้าเภอ/เขต และต้าบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ข้อมูลพ้ืนฐานสานกั งาน กศน.จงั หวดั หนองคาย ส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหนองคาย ปัจจุบันตั้งอยู่ เลขท่ี 37 หมู่ 10 ถนนบริเวณศูนย์ราชการ ต้าบลโพธ์ิชัย อ้าเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย รหัสไปรษณีย์ 43000 สังกัดส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส้านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ บริหารงานโดย นายปุณณรัตน์ ศรีทาพุฒ ผอู้ า้ นวยการสา้ นักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย ภายใต้วสิ ัยทศั น์ “คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวติ อยา่ งมคี ุณภาพ สามารถดา้ รงชีวติ ทีเ่ หมาะสมกบั ชว่ งวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จ้าเป็นในโลกศตวรรษที่ 21” ด้าเนินงานตามโครงสร้างภารกิจ 7 กลุ่มงานได้แก่ กล่มุ อ้านวยการ กลุ่มยุทธศาสตร์และการพัฒนา กลุ่มส่งเสริมการศึกษานอกระบบ กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตาม อัธยาศัย กลุ่มส่งเสริมภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา และกล่มุ ตรวจสอบภายใน 9

สถานศึกษาและแหล่งเรยี นรู้ จา้ นวน (แหง่ ) สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ 9 62 กศน.อ้าเภอ 76 กศน.ตา้ บล 1 ศูนย์การเรยี นชมุ ชน 8 1 ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั 62 62 หอ้ งสมดุ ประชาชนอา้ เภอ 62 หอ้ งสมุดการรถไฟเพื่อประชาชน จานวน (คน) ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาประชาธิปไตยและการเลือกต้งั ต้าบล 30 ศนู ยด์ ิจิทัลชุมชน 2 ศูนยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงและทฤษฎีใหม่ 9 14 ข้อมูลบุคลากร 5 2 ประเภทบคุ ลากร 147 17 1. ข้าราชการรวมท้งั หมด 14 ผ้บู ริหารหนว่ ยงาน 116 ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา (กศน.อา้ เภอ) 66 ข้าราชการครู 245 บุคลากรทางการศึกษา 10 2. ลกู จ้างประจา้ รวมทั้งหมด 3. พนักงานราชการรวมทง้ั หมด นกั วิชาการ ครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น ครู กศน.ต้าบล 4. พนกั งานจา้ งเหมาบริการรวมทงั้ หมด รวมท้ังสิน้

โครงสรา้ งการปฏบิ ตั ิงานของสานกั งาน กศน.จังหวดั หนองคาย บคุ ลากรปฏบิ ตั ิงานในสานกั งาน ผู้อานวยการ กล่มุ ตรวจสอบภายใน กศน.จงั หวดั หนองคาย มจี านวน สานกั งาน กศน.จังหวัดหนองคาย งานบรหิ ารความเสย่ี ง 28 คน รองผู้อานวยการ งานตรวจสอบการเงนิ บญั ชี พสั ดุ สานักงาน กศน.จงั หวัดหนองคาย กลุ่มนเิ ทศติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา นางเสมอแข เสตฐา กล่มุ ยทุ ธศาสตรแ์ ละ กลุ่มสง่ เสรมิ การศกึ ษา กลุ่มสง่ เสรมิ ภาคเี ครือขา่ ย การพัฒนา ตามอัธยาศัย และกิจการพิเศษ นกั วชิ าการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ นายบัวลม เจยี ระวาปี กล่มุ อานวยการ กล่มุ บรหิ ารการเงนิ กลมุ่ สง่ เสรมิ การศึกษา นักวชิ าการศึกษาชานาญการ นอกระบบ นายสมาน มงคลนา กลมุ่ บรหิ ารพัสดุและ ครูชานาญการ สินทรัพย์ 11

ส่วนท่ี 2 ผลการดาเนินงานตามนโยบายและจุดเน้น ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 การศึกษาตามอธั ยาศยั นโยบายเร่งดว่ น 1.ศนู ย์การเรยี นรู้ต้นแบบ กศน.ใน 5 ภมู ภิ าค Co-learning Space สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคายได้ดาเนินการจัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co – Learning Space) พื้นท่ดี าเนินงานศนู ยก์ ารเรยี นรู้ต้นแบบ (Co Learning Space) ได้แก่ ห้องสมุดประชาชนจังหวัดหนองคาย เป็น พน้ื ท่ีการให้บรกิ าร ตงั้ อย่คู ุ้มหายโศก ถนนมีชยั อาเภอเมือง จงั หวดั หนองคาย 43000 โทร. 042-412488 ลกั ษณะอาคาร เป็นอาคารชั้นเดียวตดิ พ้นื มเี นอื้ ที่ 1 ไร่ 2 งาน 775 ตารางวา สารสนเทศห้องสมุดประชาชนจงั หวดั หนองคาย สารสนเทศห้องสมดุ - ส่อื หนังสอื จานวน 16,488 เลม่ - จานวนสมาชกิ ทง้ั หมด จานวน 4,072 คน - สือ่ E-Book จานวน 42 เล่ม องค์ประกอบเพอื่ การให้บรกิ ารศนู ยก์ ารเรยี นรู้ต้นแบบ ( Co – Learning Space ) ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) มีพ้ืนที่ให้บริการการเรียนรู้ร่วมกันท่ีตอบสนองความ ต้องการของผู้รับบริการทุกช่วงวัย ดงั นี้ 1. โซนทที่ างาน หรือประชุม (Co – Working Zone) 2. โซนทสี่ ่งเสริมการอ่าน ค้นคว้าขอ้ มูล สือ่ (Learning Zone) 3. โซนกิจกรรม (Activities Zone) 4. โซนคอมพิวเตอร์ ศนู ย์ภาษา หอ้ งภาพยนตร์ (Multimedia Zone and Language Center) 5. โซนพกั ผ่อน (Relax Zone) 6. โซนกาแฟ (Coffee Zone) การใหบ้ ริการศูนยก์ ารเรียนร้ตู ้นแบบ (Co -Learning Space) ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co -Learning Space)มีการให้บริการการเรียนรู้ตามอัธยาศัยสาหรับ ผูร้ ับบรกิ ารทกุ ช่วงวยั เพอ่ื เปดิ โอกาสให้เรียนรไู้ ด้อยา่ งเสมอภาคเทา่ เทยี มกนั อยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ เชน่ 1. ให้บริการห้องประชุมกลุ่มย่อย ห้องปฏิบัติงานกลุ่ม ห้องสอนเสริมนอกเวลาเรียน ห้องสอน ภาษาตา่ งประเทศ หรอื กิจกรรมอ่นื ๆ ตามความเหมาะสม 2. ให้บริการ การค้นคว้าหาความรู้ท้ัง on line ด้วยส่ือ/อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ กศน. บริการ ONIE E-Librarye -bookการบริการสืบค้นข้อมูลความรู้ผ่าน Applicationด้วยอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง เป็น การใหบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ ตลอด 24 ชว่ั โมง และบรกิ ารในรูป off lineเป็นการใหบ้ ริการห้องสมุดด้วยรปู แบบปกติ

3. ให้บรกิ ารหอ้ งหรอื พ้ืนทจี่ ัดกจิ กรรมสาหรับกลุ่มเป้าหมายทกุ ชว่ งวัย เพื่อบริการบุคคลภายนอก หรือ กิจกรรมที่ห้องสมุดจัดขึ้น อาจจัดไว้ภายในอาคารหรือบริเวณภายนอกรอบ ๆ อาคาร โดยกิจกรรมต้องไม่ รบกวนผู้ใช้บริการศูนย์การเรียนรู้ในส่วนอื่น ๆ และต้องเป็นกิจกรรมที่ไม่ขัดต่อขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมอันดี งามของท้องถ่ิน น้นั ๆ 4. บริการห้องคอมพิวเตอร์ ห้องเรียนภาษา ห้องภาพยนตร์ เพื่อการเรียนการสอน การทางาน การเรียนรู้ เพอื่ สนบั สนนุ การเรยี นการสอนทง้ั ในและนอกระบบโรงเรยี น หรอื เพ่อื ความบันเทงิ อน่ื ๆ ฯลฯ 5. พน้ื ทพ่ี ักผอ่ น (Relax Zone) บริการพื้นทเี่ พือ่ การพกั ผ่อนนง่ั เล่น พบปะพูดคุยอ่านหนังสือ หรือเพื่อ พกั คอย มีบรกิ าร wifi ฟรี อนิ เทอรเ์ นต็ 6. มมุ กาแฟ (Coffee Zone) จดั เปน็ พื้นท่ีสาหรับนัง่ พักผอ่ นสบาย ๆ เพ่ืออ่านหนังสือ จิบกาแฟ และมี บริการจาหน่ายอาหารว่างและเคร่ืองด่ืม หรือจาหน่ายผลผลิตจากการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ของ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co -Learning Space) และแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ อาจจัดไว้ภายในอาคาร หรือพ้ืนท่ี ภายนอกอาคาร โซนตา่ งๆ ในศนู ยก์ ารเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) 13

โซนต่างๆ ในศนู ย์การเรยี นรตู้ ้นแบบ (Co - Learning Space) 14

โซนต่างๆ ในศนู ย์การเรียนรตู้ ้นแบบ (Co - Learning Space) 15

โซนต่างๆ ในศนู ย์การเรยี นรตู้ ้นแบบ (Co - Learning Space) 16

แหล่งเรียนรศู้ นู ยเ์ ศรษฐกิจพอเพยี ง 17

กจิ กรรมภายในศนู ย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ Co-learning space - กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน E-LIBRARY ออนไลน์ Hibrary แอปพลเิ คช่นั ห้องสมุดออนไลน์ ยมื คืนออนไลน์ ไดท้ กุ ทีท่ ี่ต้องการ 18

กจิ กรรมสวนสมุนไพรใกล้ตวั เพ่ือสุขภาพ ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมร้จู ักสมนุ ไพรใกล้ตวั แต่ละชนิดและการนาไปใช้ท่ีถูกต้อง 19

กจิ กรรมการเรยี นรู้ การพบั กุหลาบจากใบเตย เพ่ิมรายได้ เพ่ิมความรู้ สชู่ ุมชน 20

กิจกรรมการเรยี นรู้ การทากาแฟดรปิ เพ่ิมรายได้ เพมิ่ ความรู้ สชู่ ุมชน 21

กิจกรรมการเรยี นรู้ การทาการบูรหอม เพ่มิ รายได้ เพ่ิมความรู้ สชู่ ุมชน 22

กิจกรรมการเรยี นรู้ การทาพิมเสน เพมิ่ รายได้ เพ่ิมความรู้ สชู่ ุมชน 23

กจิ กรรมการเรียนรู้ การทาชาเขียวนมสด เพมิ่ รายได้ 24

กิจกรรมการเรยี นรู้ ตระไครห้ อมไลย่ ุง เพิ่มรายได้ เพ่ิมความรู้ สชู่ ุมชน 25

2. การปรับปรงุ จัดการอา่ นเคลื่อนท่ี (รถห้องสมดุ เคลอื่ นท)ี่ โครงการพฒั นาห้องสมุดประชาชนเคลอ่ื นท่ี สานักงาน กศน.จังหวัดหนองคายได้ดาเนินการโครงการพัฒนาห้องสมุดเคล่ือนท่ีเพื่อขยายผล การสง่ เสริมการอ่านการเรยี นรูต้ ามอธั ยาศัย ในลักษณะของหอ้ งสมดุ ประชาชนเคล่ือนที่ ให้ครอบคลุมพ้ืนที่มาก ยงิ่ ขน้ึ ทั้งเชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพ ระยะเวลาดาเนินโครงการ ตลุ าคม 2563 – มนี าคม 2564 กจิ กรรม - ยางยดื เพื่อสุขภาพ - แซนวสิ ห่มผ้า - ไอติมหลอดโบราณ - ดอกไมข้ องขวัญ - DIY ผา้ เช็ดหนา้ ขอ้ มูลการจดั ใหบ้ ริการสง่ เสริมการอ่านการเรียนรูต้ ามอธั ยาศัย ในลกั ษณะห้องสมดุ ประชาชน เคลื่อนทภ่ี ายใต้ช่ืองาน/โครงการ/กจิ กรรมต่างๆ ดังนี้ ที่ ชอื่ งาน/โครงการ/กจิ กรรม งาน งานเดิม จานวน ผู้รับบริการเฉลย่ี ระดับความพงึ พอใจของผู้รบั บริการ หมาย ใหม่ (เคยทา) (ครงั้ , แห่ง) (คน/ครง้ั /แหง่ ) (โดยเฉล่ีย) เหตุ 1 รถหอ้ งสมุดเคล่ือนท่ี  8 ครั้ง 100 คน มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่สี ดุ - - 2 รถสง่ เสริมการอา่ นเคลื่อนที่   1 ครง้ั 100 คน 3 ห้องสมดุ เคลอื่ นที่สาหรบั ชาว  - - ตลาด 9 ครง้ั 900 คน 4 จงั หวัดเคลื่อนท่ี   5 อาเภอเคลอื่ นที่/อาเภอยม้ิ  6 อ่นื ๆ (ระบุ) ............................ รวม 26

ภาพกจิ กรรม การใหบ้ รกิ ารส่งเสรมิ การอา่ นการเรยี นร้ตู ามอัธยาศยั 27

ภาระกิจต่อเนอ่ื ง ประกอบด้วย ห้องสมดุ ประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ห้องสมุดเคล่อื นทีส่ าหรับชาวตลาด ห้องสมดุ ประชาชนเคลื่อนท่ี แหลง่ เรียนรูแ้ ละภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น หอ้ งสมดุ ประชาชน จานวนสมาชกิ ห้องสมุดประชาชนประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ไตรมาส 1-4 จานวนท้งั สนิ้ 15,158 คน จานวนผ้ใู ชบ้ ริการภายในและภายนอกห้องสมุดประชาชนประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ไตรมาส 1-4 เปา้ หมาย 21,000 คน ดาเนินการได้ 44,162 คน 28

บ้านหนังสอื ชุมชน จานวนบ้านหนังสือชุมชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 มีจานวน 296 แห่ง ดาเนินการขับเคล่ือน โดยใชก้ จิ กรรมส่งเสริมการอ่านหลากหลายรูปแบบ โดยความร่วมมอื ระหว่าง กศน.ตาบลและอาสาสมัคร กศน. ทั้ง 62 แห่ง จานวนผใู้ ชบ้ รกิ ารบ้านหนังสือชุมชนประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ไตรมาส 1-4 รายงานในระบบ DMIS 29

ภาพกิจกรรม สง่ เสริมการอา่ นบา้ นหนังสือชุมชน 30

ห้องสมดุ เคล่ือนที่สาหรบั ชาวตลาด ห้องสมุดสาหรับชาวตลาด ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ไตรมาส 1-4 มีจานวนหอ้ งสมุดสาหรับ ชาวตลาดตน้ แบบ จานวน 3 แหง่ ตลาดถาวร จานวน 27 แหง่ ตลาดนัด จานวน 7 แห่ง เปา้ หมายทงั้ ปี 3,700 คน ดาเนนิ การได้ 28,723 คน สรปุ จานวนหอ้ งสมดุ สาหรับชาวตลาด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงาน กศน.จังหวดั หนองคาย ท่ี ชื่อสถานศึกษา ตลาดถาวร ตลาดนัด ตลาดตน้ แบบ อ่ืนๆ รวมทงั้ ส้ิน (แห่ง) หมายเหตุ 1 กศน.อ.เมืองหนองคาย 17 1. ตลาดบ้านหนองสองห้อง 1. ตลาดท่าเสด็จ 2 กศน.อ.โพนพสิ ยั 3 กศน.อ.ทา่ บ่อ 2. ตลาดบา้ นปะโค 4 กศน.อ.เฝา้ ไร่ 3. ตลาดชมุ ชนเนนิ พระเนาว์ 5 กศน.อ.รัตนวาปี 6 กศน.อ.สงั คม 4. ตลาดบ้านนาคลอง 7 กศน.อ.ศรีเชียงใหม่ 8 กศน.อ.สระใคร 5. ตลาดบา้ นสรา้ งพอก 9 กศน.อ.โพธิ์ตาก 6. ตลาดบา้ นหนองเดดิ รวม 7. ตลาดบ้านศรีเจรญิ 8. ตลาดบ้านนาเหลา่ 9. ตลาดหสั ดี 10. ตลาดสีกาย 11. ตลาดบ้านหนิ โงม 12. ตลาดบ้านเก่านอ้ ย 13. ตลาดบา้ นเดอื่ 14. ตลาดตาบลหาดคา 15. ตลาดชมุ ชนดอนแดงเหนอื 16. ตลาดท่าเรอื 1.ตลาดนัดโรงแรมราชา 1.ตลาดนัดบา้ นทงุ่ 3 หลวง 1 7 2.ตลาดนัดบ้านผอื 2 - 1.ตลาดบา้ นเดื่อ 2 3 1. ตลาดสดเทศบาลเฝ้าไร่ 1.ตลาดนัดอาเภอเฝา้ 1.ตลาดหนา้ 1 1 2. ตลาดสดตาบลวงั หลวง ไร่ ธนาคาร ธกส. 37 แห่ง 3. ตลาดสดตาบลหนองหลวง 4. ตลาดสดตาบลนาดี 5. ตลาดสดตาบลอดุ มพร 1.ตลาดรัตนวาปี 1.ตลาดนัดเปงจาน 1.ตลาดเทศบาลสงั คม 1.ตลาดนัด 5 ค่า 1.ตลาดประชารัฐ 1.ตลาดนัดบา้ นหม้อ 1.ตลาดคนเดนิ หนองปลาปาก ลานเบิ่งเวยี ง 1.ตลาดบ้านสระใคร - 1.ตลาดสดบา้ นดอนไผ่ - 27 แห่ง 7 แหง่ 2 แหง่ 1 แหง่ 31

การดาเนนิ งาน “หอ้ งสมดุ เคลื่อนที่สาหรับชาวตลาด” ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 มีท้งั ......51...... แห่ง ดงั นี้ รายละเอยี ดขอ้ มลู “หสม.เคล่ือนทีส่ าหรบั ชาวตลาด” ปี 2564 ชือ่ – สกุล จัด ณ จัด ณ อน่ื ๆ รวม จานวน รายช่ือ (ผอ.กศน.อาเภอ) ที่ ชอื่ อาเภอ ตลาด ตลาด (แหง่ ) ทั้งสิ้น ผรู้ บั บรกิ าร เจ้าภาพหลัก ถาวร นัด (แหง่ ) เฉลีย่ ผสู้ นับสนุน (แหง่ ) (แหง่ ) (คน/วัน/ ครั้ง) 1 เมอื ง นางนริ มล หนองเหล็ก 17 - - 17 70 รา้ น ณ ตลาด หนองคาย นางมณฑาทพิ ย์ เสยยงคะ ทา่ เสดจ็ 2 โพนพิสยั นางจามรี ภเู มฆ กศน.ตาบล 3 ท่าบ่อ 5 5 - 10 200 เทศบาล ต.โพนพิสัย 7 - - 1 386 ผนู้ าชมุ ชน เทศบาล อบต. รพ.สต. 4 รตั นวาปี น.ส.กฤตวรรณ สรรพอาษา 3 - - 3 125 อบต. 5 ศรีเชียงใหม่ นางชลธชิ า โคตรชมภู - -- - - งดออกให้บริการ 6 สงั คม นางประภาพรรณ ชาแสน 3 - - 3 300 อบต. 7 เฝ้าไร่ นายทวีศกั ดิ์ สทุ ธศรี 33 6 320 เทศบาล ต.เฝา้ ไร่ อบต.วงั หลวง 8 สระใคร นางสาวธนสรณ์ ธนุ ันทา - 3 - 3 50 - 9 โพธ์ิตาก นายบณุ ย์ มีวิชา รวม 8 - - 8 320 - 46 11 - 51 32

ภาพกิจกรรม หอ้ งสมุดเคล่ือนท่สี าหรบั ชาวตลาด 33

ภาพกิจกรรม หอ้ งสมุดเคล่ือนท่สี าหรบั ชาวตลาด 34

ภาพกิจกรรม หอ้ งสมุดเคล่ือนท่สี าหรบั ชาวตลาด 35

หอ้ งสมุดประชาชนเคลอื่ นท่ี ห้องสมุดประชาชนเคล่ือนท่ี ภายใต้โครงการจัดกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านสัญจร ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2564 เปน็ การดาเนินงานร่วมกันระหว่าง สานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย และ กศน.อาเภอ ทุกแห่ง โดยมีรถห้องสมุด (รถโมบาย) ร่วมกับห้องสมุดประชาชนขับเคล่ือนในการจัดกิจกรรมการอ่านของ ประชาชนในรปู แบบต่างๆ ผลักดันให้เกิดห้องสมุดสู่การเปน็ ห้องสมุดเสมือนจริงตน้ แบบ จานวนผใู้ ชบ้ รกิ ารรถห้องสมุดเคลื่อนท่ี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ไตรมาส 1-4 เป้าหมาย 6,000 คน ดาเนินการ 32 ครง้ั 3,538 คน คิดเป็น 58.96% 36

ภาพกิจกรรม “รถห้องสมดุ เคลอื่ นที่” ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 37

ภาพกิจกรรม “รถห้องสมดุ เคลอื่ นที่” ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 38

ภาพกิจกรรม “รถห้องสมดุ เคลอื่ นที่” ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 39

ภาพกิจกรรม “รถห้องสมดุ เคลอื่ นที่” ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 40

แหลง่ เรียนรแู้ ละภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ประกอบด้วย แหลง่ เรียนรู้ จานวน 79 แห่ง และภมู ิปัญญาท้องถ่ิน จานวน 113 คน 41

42

43

44

45

คณะผ้จู ดั ทา ทปี่ รกึ ษา ผ้อู านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวัดหนองคาย นายปณุ ณรัตน์ ศรีทาพฒุ รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จงั หวดั หนองคาย นางสาวปาริชาติ ไชยสถิตย์ หัวหนา้ กลุ่มสง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศัย นางเสมอแข เสตฐา นกั วิชาการศกึ ษา คณะผู้รวบรวม เรียบเรียง บรรณารกั ษ์ นางสาววรกาญจน์ ราศรี นางสาวจันทญิ า ชมภูจันทร์ หวั หนา้ กลมุ่ สง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศยั พสิ จู น์อักษร นักวชิ าการศกึ ษา นางเสมอแข เสตฐา จัดพิมพ/์ จดั รูปเล่ม นางสาววรกาญจน์ ราศรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook