1.บิดาแห่งวชิ าเศรษฐศาสตร์คือใคร ก. อริสโตเติล ข. อดมั สมิท ค. มาร์โค โปโล ง. จอห์น ลอ็ ก
1.ตอบ ก อดมั สมิท ไดร้ ับการยกยอ่ งใหเ้ ป็นบิดาแห่งวชิ าเศรษฐศาสตร์ โดยแต่ง หนงั สือสาคญั เร่ือง ความมงั่ คงั่ แห่งชาติ (The Wealth of Nations)
2.ข้อความใดให้ความหมายของวชิ า เศรษฐศาสตร์ถูกต้องทส่ี ุด ก. วชิ าที่เก่ียวกบั การซ้ือขายสินคา้ และบริการ ข. วชิ าที่เกี่ยวกบั การสนองตอบต่อความตอ้ งการ ของสมาชิกในสงั คม ค. วชิ าที่เก่ียวกบั เศรษฐกิจและการเมือง ง. วชิ าที่เก่ียวกบั การจดั สรรทรัพยากรใหเ้ กิด ประโยชนอ์ ยา่ งคุม้ ค่า
2. ตอบ ง. วิชา เศรษฐศาสตร์เป็นวชิ าท่ีศึกษาถึงการจดั สรรทรัพยากรท่ีมี อยอู่ ยา่ ง จากดั เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการอนั ไม่สิ้นสุดของ มนุษยอ์ ยา่ งมีประสิทธิภาพใหเ้ กิด ประโยชนส์ ูงสุด หรืออาจ กล่าวไดว้ า่ เศรษฐศาสตร์เป็นวชิ าท่ีใหค้ วามสาคญั กบั การ จดั สรรทรัพยากรใหเ้ กิดประโยชน์ อยา่ งคุม้ ค่านนั่ เอง
3.การศึกษาพฤตกิ รรมของผู้บริโภค พฤตกิ รรม ของผู้ผลติ จดั อยู่ในขอบข่ายสาขาวชิ า เศรษฐศาสตร์ในข้อใด ก. เศรษฐศาสตร์ระดบั ประเทศ ข. เศรษฐศาสตร์ระหวา่ งประเทศ ค. เศรษฐศาสตร์จุลภาค ง. เศรษฐศาสตร์มหภาค
3. ตอบ ค. เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาถึง พฤติกรรมทางเศรษฐกิจใน ส่วนยอ่ ยระดบั บุคคล หรือองคก์ รธุรกิจหน่วยใดหน่วยหน่ึง ดงั น้นั การศึกษาพฤติกรรมของผบู้ ริโภคในการซ้ือสินคา้ และบริการจึงเป็น การศึกษาถึง พฤติกรรมทางเศรษฐกิจในส่วนยอ่ ยระดบั บุคคล
4.ข้อใดไม่ใช่ ทุนตามความหมายของทรัพยากร ทางเศรษฐศาสตร์ ก. เคร่ืองจกั ร ข. โรงงาน ค. เงินตรา ง. อุปกรณ์การผลิต
4. ตอบ ค. เงินตราไม่ใช่ทุน เป็นเพียงเครื่องมือที่ผผู้ ลิตนาไปซ้ือปัจจยั การผลิตมา ใชผ้ ลิตสินคา้ และบริการ ผลตอบแทนจากการลงทุน คือ ดอกเบ้ีย
5.ผู้ทร่ี วบรวมปัจจยั การผลติ คือใคร ก. ผผู้ ลิต ข. ผปู้ ระกอบการ ค. ผบู้ ริโภค ง. ผใู้ ชแ้ รงงาน
5. ตอบ ข. ผปู้ ระกอบการคือผรู้ วบรวมปัจจยั การผลิต ไดแ้ ก่ ท่ีดิน แรงงาน และ ทุน มาผลิตเป็นสินคา้ และบริการ
6.การจัดสรรทรัพยากรที่มีจากดั ไม่สอดคล้องกบั ความต้องการทไ่ี ม่จากดั ของมนุษย์ จะทาให้เกดิ อะไรขนึ้ ก. การขาดทุน ข. ความขาดแคลน ค. สินคา้ ลน้ ตลาด ง. การกกั ตุนผลผลิต
6. ตอบ ข. ความ ขาดแคลนเกิดจากการจดั สรรทรัพยากรที่มีอยอู่ ยา่ งจากดั ไม่ สมดุลหรือไม่ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการที่ไม่จากดั ของมนุษย์ หรือ กล่าวง่ายๆ คือ ทรัพยากรมีไม่เพียงพอต่อความตอ้ งการใช้ จึงทาใหเ้ กิด ความขาดแคลน ซ่ึงความขาดแคลนน้ี บางประเภทอาจเป็นการ ขาด แคลนถาวร เช่น ท่ีดิน เพราะไม่สามารถหามาเพ่มิ ไดอ้ ีก เป็นตน้
7.นายดามเี วลาว่างช่วงเยน็ เหลือพอทจี่ ะทางาน บ้าน แต่เม่ือเพ่ือนมาชวนไปเล่นกฬี า เขาจึงเลือกท่ี จะไปกบั เพื่อน จะเกดิ อะไรขนึ้ ถ้าคดิ ในทาง เศรษฐศาสตร์ ก. ค่าเสียโอกาส ข. ค่าสูญเปล่า ค. การใชท้ รัพยากรไม่คุม้ ค่า ง. การเสียประโยชน์
7. ตอบ ก. ค่าเสียโอกาสเป็น มูลค่าสูงสุดของผลประโยชนท์ ่ีจะไดจ้ ากทางเลือกที่ ตอ้ ง สละไป ซ่ึงบางคร้ังไม่สามารถท่ีจะวดั ออกมาเป็นตวั เงินได้ ในที่น้ี ค่าเสียโอกาสของนายดา คือ การไม่ไดท้ างานบา้ น เพราะเขามีเวลา จากดั จึงไม่สามารถทาท้งั งานบา้ นและเล่นกีฬาไปพร้อมกนั ได้ จึงตอ้ ง เลือกทาอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง
8.ข้อความใดตรงกบั ความหมายของการบริโภค ในทางเศรษฐศาสตร์มากทส่ี ุด ก. การซ้ือสินคา้ มาใชใ้ นครัวเรือน ข. การรับประทานอาหารใหเ้ พยี งพอกบั ความ ตอ้ งการ ค. การรับฟังข่าวสารผา่ นสื่อส่ิงพิมพแ์ ละโทรทศั น์ ง. การใชส้ ินคา้ และบริการเพ่อื สนองความ ตอ้ งการของมนุษย์
8. ตอบ ง. การบริโภคในทาง เศรษฐศาสตร์ หมายถึง การใชป้ ระโยชน์จากสินคา้ และบริการเพื่อนามาตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์ ซ่ึงค่าใชจ้ ่าย ในการบริโภคภาคครัวเรือนกระตุน้ ใหเ้ กิดการผลิต การลงทุน การจา้ ง งาน และการสร้างรายไดป้ ระชาชาติ
9.ข้อความใดแสดงถึงลกั ษณะของการบริโภค แบบยง่ั ยืน ก. เอกใชถ้ ุงผา้ เวลาไปซ้ือของ ข. ณฐั เปิ ดไฟไวร้ อบบา้ นในเวลากลางคืน ค. กรเปิ ดน้ารดตน้ ไมท้ ุกเชา้ เยน็ แมจ้ ะมีฝนนตก ง. พทั เปล่ียนโทรศพั ทม์ ือถือบ่อยๆ เพื่อความ ทนั สมยั
9. ตอบ ก. การบริโภคแบบยง่ั ยนื คือ การรู้จกั เลือกบริโภคในสิ่งที่เป็นประโยชน์ แก่ตนเองแลว้ ยงั ตอ้ งมีความประหยดั ไม่ก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดลอ้ ม ตลอดจนมีขอ้ เสียท่ีเกิดจากการ บริโภคนอ้ ยที่สุด ดงั น้นั การที่เอกใชถ้ ุงผา้ นอกจากช่วยประหยดั การใชท้ รัพยากรแลว้ ยงั ช่วย รักษาสิ่งแวดลอ้ มดว้ ย
10.ข้อใดไม่ใช่หลกั การบริโภคท่ดี ี ก. สุดาซ้ืออาหารมารับประทานพออิ่ม ข. ปราณีซ้ือเส้ือกนั หนาวตวั ใหม่ในฤดูหนาวน้ี ค. มณีวลั ยซ์ ้ือโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่รุ่นใหม่ท่ีโฆษณา วา่ มีความทนั สมยั สูง ง. กรรณิการ์นาขา้ วที่เหลือมาทาเป็นขา้ วตงั ไว้ รับประทานเป็นอาหารวา่ ง
10. ตอบ ค. ขอ้ ก ข และ ง ตรงกบั หลกั การบริโภคท่ีดี ที่เนน้ ถึงความจาเป็น ประโยชน์ และประหยดั ส่วนขอ้ ค แสดงถึงการบริโภคสินคา้ ฟ่ มุ เฟื อยตามแฟชน่ั ซ่ึงเสียเงิน มากเกินความจาเป็ น
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: