Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3.โครงสร้างอะตอม gifted

3.โครงสร้างอะตอม gifted

Published by samphun2525, 2020-10-21 06:47:58

Description: 3.โครงสร้างอะตอม gifted

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งอะตอม Atomic Structure อ.สมั พนั ธ์ อรณุ เจรญิ กจิ

ทกุ สิ่งรอบตวั เรามอี ะไรเป็ นองค์ประกอบบ้าง ทุกส่ิงรอบตวั เราล้วนมธี าตุเป็ นองค์ประกอบ  สารบางอย่างประกอบด้วยธาตชุ นิดเดยี ว เช่น เหลก็ (Fe) สังกะสี (Zn) แก๊สออกซิเจน (O2)  สารบางชนิดประกอบด้วยธาตุมากกว่า 1 ชนิด เช่น หินปูน (CaCO3) นํา้ (H2O) เกลอื แกง (NaCl)

ธาตุ (ELEMENT) สารบริสุทธ์ิทปี่ ระกอบด้วยอะตอมชนิดเดยี ว • หน่วยทเี่ ลก็ ทส่ี ุดของธาตซุ ่ึงยงั แสดง สมบัตขิ องธาตุน้ันได้

การศึกษาเกยี่ วกบั โครงสร้างอะตอม ดโิ มคริตสุ ดาลตนั ( Dalton ) ทอมสัน (Sir Josephn Jonh Thomson) & ออยเเกน โกลด์ชไตน์ (Eugen Goldstein) รัทเทอร์ฟอร์ด (Rutherford) นีล โบร์ (Neils Bohr) กล่มุ หมอก

ดโิ มคริตุส สิ่งของใดๆหรือสารใดๆประกอบด้วยอนุภาคทมี่ ขี นาดเลก็ ถ้าแบ่งต่อไปอกี จะได้อนุภาคทม่ี ขี นาดเลก็ ทสี่ ุด เรียกว่า อะตอม (Atom)

แบบจําลองอะตอมของดาลตนั

แบบจําลองอะตอมของดาลตัน สาระสําคญั มดี งั นี้ ธาตุประกอบดว้ ยอนุภาคเลก็ ๆท่ีเรียกวา่ อะตอม แบ่งแยก และทาํ ใหส้ ูญหายไม่ได้ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกนั มีสมบตั ิเหมือนกนั สารประกอบเกิดจากการรวมตวั ของอะตอมต้งั แต่ 2 ชนิด ข้ึนไป มีอตั ราส่วนการรวมตวั เป็นเลขง่ายๆ

แบบจําลองอะตอมของดาลตนั

สาระสําคญั ของดาลตนั ไม่สอดคล้องกบั หลกั ฐานและผลการ ทดลองในเวลาต่อมา อะตอมสามารถแบ่งแยกได้ เพราะมีการคน้ พบ อนุภาคมลู ฐาน (e p n) ธาตุชนิดเดียวกนั อาจมีสมบตั ิแตกต่างกนั เช่น อะตอมของ ธาตุชนิดเดียวกนั อาจมีมวลต่างกนั เพราะมีไอโซโทป

THOMSON

การศึกษาเกย่ี วกบั อะตอมของทอมสัน ศึกษาการนาํ ไฟฟ้ าของแก๊ส ปกติแกส๊ ไม่นาํ ไฟฟ้ า ถา้ ลดความดนั ใหต้ ่าํ มากๆ และเพิ่มความต่างศกั ยใ์ หส้ ูงๆ แก๊สจะนาํ ไฟฟ้ าได้ หลอดรัวสีแคโทด

หลอดรังสีแคโทด Cathode ray tube

เพม่ิ สนามแม่เหลก็ ไฟฟ้ า เกดิ จดุ สว่างทฉี่ ากเรืองแสงโดยเบนเข้าหาข้วั บวก สรุปว่า รังสีแคโทดประกอบด้วยอนุภาคทม่ี ี ประจุไฟฟ้ าลบ

ทอมสันทาํ การทดลองต่อ เปลย่ี นแก๊สและโลหะแคโทด พบว่า  ได้ผลการทดลองเช่นเดิม เกดิ จุดสว่างเบนเข้าหาข้วั บวกท่ี ฉากเรืองแสง  หาค่าประจุต่อมวล (e/m) เท่ากบั 1.76 × 108 c/g สรุปว่า อะตอมทุกอะตอมมีอนุภาคทม่ี ีประจลุ บเป็ น องค์ประกอบ เรียกว่า อิเล็กตรอน ( Electron ; e , e- )

ออยแกน โกลด์สไตน์ (EUGEN GOLDSTEIN)

การทดลองของออยเเกน โกลด์ชไตน์ อะตอมทวั่ ไปเป็ นกลางทางไฟฟ้ า (ประจบุ วกเท่ากบั ประจุ ลบ) เช่ือว่าภายในอะตอมต้องมปี ระจุบวกอกี โกลด์ชไตน์ ทาํ การทดลองเพมิ่ เตมิ จากทอมสันดงั นี้ เพมิ่ ฉากเรืองแสงด้านหลงั ข้ัวแคโทด ดงั รูป



ผลการทดลองพบว่า มีจุดสวา่ งท้งั 2 ขา้ งของฉากเรืองแสง มีรังสีจากข้วั แอโนดมาท่ีข้วั แคโทด ใส่สนามแม่เหลก็ ไฟฟ้ าท้งั สองดา้ น แลว้ ทาํ การทดลอง พบวา่

มรี ังสีทเี่ ดนิ ทางมาจากข้ัวแอโนดไปยงั ข้วั แคโทดเบนเข้าหา ข้ัวลบ เรียกรังสีบวกหรือรังสีแคแนล สรุปว่า ในอะตอมประกอบด้วยอนุภาคทม่ี ปี ระจุบวกด้วย

แบบจําลองอะตอมของทอมสัน : THOMSON’S MODEL อะตอมเป็นรูปทรงกลมประกอบดว้ ยเน้ืออะตอมซ่ึงมี ประจุบวกและอิเลก็ ตรอนซ่ึงมีประจุลบกระจายอยทู่ วั่ ไป

RUTHERFORD EXPERIMENT พิสูจนแ์ บบจาํ ลองของทอมสนั





Rutherford’s MODEL “อะตอมประกอบดว้ ยนิวเคลียสอยตู่ รงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเลก็ มากแต่มีมวลมากและมีประจุบวก ส่วนอิเลคตรอนซ่ึงมีประจุลบ และมีมวลนอ้ ยมาก วิ่งอยรู่ อบๆนิวเคลียส”

เจมส์ แชดวกิ (JAMES CHADWICK) : การค้นพบนิวตรอน

อิเลก็ ตรอนมีมวลนอ้ ยมาก มวลของอะตอมจึงควรเป็นมวลของนิวเคลียส (มวลของ โปรตอนท้งั หมด) แต่พบวา่ มวลของโปรตอนท้งั หมดในอะตอมน้อยกว่า มวลของอะตอม นิวเคลียสน่าจะมีอนุภาคอื่นท่ีเป็นกลางทางไฟฟ้ า

ยงิ อนุภาคแอลฟาไปท่ีอะตอมของธาตุต่างๆ พบวา่ นิวเคลียสมีอนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้ าเรียกวา่ นิวตรอน (Neutron: n) สรุป อะตอมประกอบด้วย อนภุ าคมลู ฐาน คือ อิเลก็ ตรอน โปรตอน และ นิวตรอน

ตารางแสดงอนุภาคมูลฐานของอะตอม Particle Electric Charge Mass (g) Relative Mass Electron -1 9.1096 x 10-28 1/1836 Proton + 1 1.6726 x 10-24 1 Neutron 0 1.6749 x 10-24 1

ดงั น้ัน อะตอมประกอบด้วย

เลขอะตอม เลขมวล และสัญลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ เลขอะตอม(atomic number, Z) เลขแสดงจาํ นวนโปรตอนหรือประจุบวกในนิวเคลียส เลขมวล(mass number, A) ผลบวกของจาํ นวนโปรตอนกบั นิวตรอน จะได้ A = Z + n โดยที่ n เป็ นจาํ นวนนิวตรอน Note อะตอมทเ่ี ป็ นกลางทางไฟฟ้ า จะมจี าํ นวนโปรตอน เท่ากบั อเิ ลคตรอน

สัญลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ Atomic Symbol A = mass number Z = atomic number X = symbol of element

Example 

ไอโซโทป : Isotopes อะตอมของธาตชุ นิดเดยี วกนั ทมี่ เี ลขมวล(นิวตรอน) ต่างกนั Atom of the same element with the same number of protons and electrons but different number of neutrons. เช่น 11H = hydrogen  21H = deuterium  31H = tritium

Carbon : C  126C 136C 146C Can write in different way  C – 12 C – 13 C – 14  12C 13C 14C  The isotopes with more neutrons will be heavier.  Sometimes the isotopes maybe radioactive.

ไอโซบาร์ : Isobar อะตอมของธาตุต่างชนิดกนั แต่มเี ลขมวลเท่ากนั Atom of the different element with the same mass number Example  146C 147 N

ไอโซโทน : ISOTONE อะตอมของธาตุต่างชนิดกนั แต่มีจาํ นวนนิวตรอนเท่ากนั Atom of the different element with the same number of neutrons For example  3919K 4020 Ca

ไอออน (ION) อะตอมทมี่ ปี ระจุไฟฟ้ า  Na+ O2- Ca2+ F- ไอออนบวก (cation) อะคอมทมี่ ปี ระจไุ ฟฟ้ าบวก เนื่องจากอะตอมเสีย e  Na+ เสีย 1 e  Ca2+ เสีย 2 e

ไอออนบวก (anion) อะตอมทม่ี ปี ระจุไฟฟ้ าลบ เนื่องจาก อะตอมรับ e  F- รับ 1 e  O2- รับ 2 e

Test yourself An atom is electrically neutral. Why is this so? The atomic number of Iron is 26 and its mass number is 56  How many protons and electrons does an Iron atom have?  How many neutrons does an Iron atom have?

An atom of sodium has 11 protons and 12 neutrons. Write and atomic symbol for the sodium atom. The atomic symbol for aluminium is written as 2713 Al  What is tis atomic number & mass number?  How many electrons should an Aluminium atom have?

 K มีเลขมวล 39 มี p และ e เท่ากบั 19 n = 20 ธาตุ K มี เลขอะตอมเท่าใดและมีสญั ลกั ษณ์นิวเคลียร์อยา่ งไร 2412Mg2+ มีอนุภาคมลู ฐานและเลขอะตอมเท่าใด

NEILS BOHR experiment อธิบายวา่ อิเลคตรอนอยรู่ อบนิวเคลียสอยา่ งไร ศึกษาจากสเปกตรัมของสารประกอบ

สเปกตรัม(SPECTRUM)ของแสงขาว

สเปกตรัมของสาร

สีของสเปกตรัมหรือสีของเปลวไฟเกดิ ขนึ้ ได้อย่างไร สภาวะปกติสภาวะพ้ืน(E1 = Ground state)  อิเลก็ ตรอนจะเคล่ือนท่ีอยใู่ นบริเวณที่มีผลรวมของ พลงั งานศกั ย์ ( พลงั งานท่ีเกิดจากการดึงดูดระหวา่ ง อิเลก็ ตรอน - โปรตอน ) และพลงั งานจลน์ ( พลงั งานเน่ืองจากการเคล่ือนท่ีของ อิเลก็ ตรอน )ต่าํ สุด

เมอื่ ให้พลงั งานแก่อะตอม อิเลก็ ตรอนจะมีพลงั งานในสถานะถกู กระตุน้ (E2 = Excited state) คือ e จะมีพลงั งานสูงกวา่ ปกติ อะตอมจะพยายามปรับตวั เองใหเ้ ขา้ อยใู่ นสถานะพ้ืน โดยการคายพลงั งานออกมาในรูปของแสงที่มีความถี่ เฉพาะตวั (แสงสีต่างๆที่ตามองเห็น)