Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ม.4 #หน่วยที่ 5.3 เล่ม 2 @ ปิโตรเลียม

ม.4 #หน่วยที่ 5.3 เล่ม 2 @ ปิโตรเลียม

Published by samphun2525, 2021-11-24 11:52:39

Description: แผน 5-3 โลกฯ ม.4 เล่ม 2

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 ปโิ ตรเลยี ม เวลา 5 ชัว่ โมง 1. ผลการเรยี นรู้ 3. อธิบายกระบวนการเกดิ และสำรวจแหล่งปโิ ตรเลยี มและถา่ นหนิ โดยใชข้ ้อมลู ทางธรณีวทิ ยา 4. อธิบายสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียมและถ่านหิน พร้อมนำเสนอการใช้ประโยชน์อย่าง เหมาะสม 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายกระบวนการเกดิ และสำรวจแหลง่ ปโิ ตรเลียม โดยใช้ขอ้ มูลทางธรณีวิทยาได้ (K) 2. อธบิ ายสมบตั ขิ องผลติ ภณั ฑ์ที่ไดจ้ ากปิโตรเลยี มได้ (K) 3. นำเสนอการใชป้ ระโยชน์จากผลิตภัณฑท์ ่ีได้จากปโิ ตรเลียมได้ (K) 4. ปฏิบตั ิกิจกรรมเพ่อื ศึกษาการเกิดปิโตรเลยี มได้ (P) 5. สนใจใฝ่รใู้ นการศกึ ษา (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้เู พมิ่ เตมิ สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ - ทรัพยากรปิโตรเลียมและถ่านหินเป็นทรัพยากร พิจารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา สิ้นเปลืองที่มีอยู่อย่างจำกัด ใช้แล้วหมดไป ไม่สามารถเกิดขึ้นทดแทนได้ในเวลาอันรวดเร็ว ทรัพยากรปิโตรเลียมและถ่านหินถูกนำมาใช้ใน อุตสาหกรรมท่ีสำคัญของประเทศ เช่น การ คมนาคม การผลิตไฟฟ้า และเช้ือเพลิงใน อุตสาหกรรมต่าง ๆ - การศึกษากระบวนการเกิดและการสำรวจแหล่ง ปิโตรเลียมและถ่านหินต้องใช้ความรู้พื้นฐาน ธรณีวิทยาหลายด้าน เช่น ตะกอนวิทยา การ ลำดับชั้นหิน ธรณีโครงสร้าง รวมท้ังวิธีการและ เทคนิคต่างๆ ที่เหมาะสม เพ่ือท่ีจะนำทรัพยากร มาใชไ้ ด้อยา่ งคมุ้ ค่าและยงั่ ยืน 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด 43

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม ปิโตรเลียมเป็นสารผสมท่ีมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึ่งอยู่ในรูปของ น้ำมันดบิ และแก๊สธรรมชาติ น้ำมันดิบมีลักษณะเป็นของเหลวข้นที่มีสีแตกต่างกันไปตามแหล่งที่พบ ส่วนใหญ่เป็นสีน้ำตาลหรือดำ มปี รมิ าณรอ้ ยละของคาร์บอนสูงกว่าแกส๊ ธรรมชาติ สว่ นแก๊สธรรมชาตมิ ีองค์ประกอบสว่ นใหญเ่ ป็นมีเทน 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี นิ ยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 2) ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 3) ทกั ษะการทดลอง 4) ทักษะการนำความร้ไู ปใช้ 5) ทกั ษะการสรปุ ลงความเห็น 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) ครตู ้ังคำถามกระตุน้ ความสนใจ โดยให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ระดมความคิดเพ่อื ตอบคำถาม ตัวอย่างเชน่ • นักเรียนคดิ วา่ ปโิ ตรเลียมเกดิ ขน้ึ ได้อยา่ งไร • การสำรวจปิโตรเลยี มทำไดอ้ ยา่ งไร • เรานำปโิ ตรเลยี มมาใช้ประโยชน์อยา่ งไรบา้ ง ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาเรื่อง การเกิดปิโตรเลียม และการสำรวจปิโตรเลียม จากใบความรู้ท่ี 5.1 หรือจากแหลง่ เรยี นรูต้ ่างๆ 44

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม 2. ครนู ำอภิปรายเพ่ือใหไ้ ดข้ ้อสรปุ จากการศึกษา อธบิ ายความรู้ (Explain) ครตู ั้งคำถามเพ่ือสรปุ ความรู้ทน่ี กั เรียนศกึ ษามา • ปิโตรเลียมเกดิ ข้ึนได้อย่างไร (แนวตอบ : ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของซากพืชซากสัตว์ในบริเวณใต้ ทะเลเป็นเวลานานภายใต้แรงดันและความร้อนสูง ทำให้เกิดการแยกสลายและเปลี่ยนสภาพ เปน็ น้ำมันดบิ หรอื แกส๊ ธรรมชาติแทรกอย่ใู นชั้นหินทม่ี ีรพู รุน) • การสำรวจปิโตรเลียมทำไดอ้ ยา่ งไร (แนวตอบ : การสำรวจปิโตรเลียมต้องใช้เทคโนโลยีและต้นทุนสูง ซึ่งประกอบด้วย 3 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ การสำรวจทางธรณวี ทิ ยา การสำรวจทางธรณีฟสิ กิ ส์ และการเจาะสำรวจ) ชั่วโมงท่ี 2 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพ่ือทำกิจกรรมเร่ือง หินปิดก้ันปิโตรเลียม จากหนังสือเรียน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.4 เล่ม 2 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้ข้อมูลท่ีได้ศึกษาจากใบความรู้ก่อนหน้านี้ ประกอบการอภิปราย ช่วั โมงท่ี 3 สำรวจคน้ หา (Explore) 1. แบ่งนักเรียนออกเปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่ เพื่อศกึ ษาแหล่งปิโตรเลยี มในประเทศไทย ดังน้ี - แหล่งปิโตรเลยี มบนบก - แหล่งปิโตรเลยี มในอา่ วไทยและทะเลอันดามัน 2. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุม่ อภปิ รายรว่ มกันเพ่ือให้ได้ข้อสรปุ อธบิ ายความรู้ (Explain) ครตู ้ังคำถามเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียน • ทรัพยากรปิโตรเลยี มแบง่ เป็นประเภทใดบ้าง (แนวตอบ : นำ้ มันดิบ และแก๊สธรรมชาติ) • จงยกตัวอยา่ งแหล่งปิโตรเลยี มทพ่ี บในประเทศไทย 45

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม (แนวตอบ : แหล่งฝาง แหล่งสิริกิติ์ แหล่งเพชรบูรณ์ แหล่งเอราวัณ แหล่งไพลิน แหล่ง บงกช แหลง่ สงขลา เป็นตน้ ) ชว่ั โมงท่ี 4 สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูกล่าวทบทวนความรู้ของนักเรียนเกี่ยวกับการแยกสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันด้วยวิธีการกลั่น ลำดับส่วน 2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน ศึกษาการกล่ันน้ำมันดิบ จากหนังสือเรียน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.4 เลม่ 2 หรือจากแหลง่ เรียนรอู้ ่นื ๆ แลว้ สรุปความรู้ อธบิ ายความรู้ (Explain) ครูต้ังคำถามเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียน • จงอธบิ ายหลักการกลนั่ ลำดับสว่ นนำ้ มนั ดบิ (แนวตอบ : การกล่ันลำดับส่วนน้ำมันดิบจะทำให้องค์ประกอบที่มีจุดเดือดต่ำควบแน่น เป็นของเหลวอยู่ตอนบนของหอกล่ัน ส่วนองค์ประกอบที่มีจุดเดือดสูงจะควบแน่นเป็น ของเหลวอย่ตู อนล่างของหอกลั่น) • จงยกตวั อย่างผลิตภณั ฑท์ ไ่ี ด้จากการกลนั่ ลำดับส่วนนำ้ มนั ดิบ (แนวตอบ : การกลั่นลำดับส่วนน้ำมันดิบจะได้ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แก๊สปิโตรเลียม แนฟทา เบา แนฟทาหนัก นำ้ มันก๊าด น้ำมนั ดเี ซล นำ้ มนั หลอ่ ลน่ื ไข นำ้ มันเตา บทิ ูเมน) ชวั่ โมงที่ 5 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ใหน้ กั เรียนแต่ละกล่มุ ศึกษาเพ่มิ เติมเร่ือง การแยกแก๊สธรรมชาติ จากใบความรทู้ ่ี 5.2 2. ครตู ้งั คำถามเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี นเรื่องการแยกแกส๊ ธรรมชาติ • แก๊สธรรมชาติท่ไี ด้จากการขดุ เจาะปโิ ตรเลียมมลี ักษณะอยา่ งไร 46

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม (แนวตอบ : ประกอบด้วยส่วนที่เปน็ ของเหลว เรยี กว่า แก๊สธรรมชาตเิ หลว และส่วนทเ่ี ป็น แกส๊ เรยี กว่า แก๊สธรรมชาติ) • กระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติมขี ้นั ตอนอยา่ งไร (แนวตอบ : เร่มิ จากการแยกส่วนประกอบท่ีไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนออกไปก่อน โดยผ่านกระบวนการ ได้แก่ กำจัดสารปรอท กำจัดแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และกำจดั ความช้นื ) 3. ให้นักเรียนศึกษาเร่ือง การใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วทำใบ งานที่ 5.4 เร่อื ง การใชป้ ระโยชนจ์ ากผลติ ภณั ฑ์ปิโตรเลียม 4. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายความรู้ทง้ั หมดเก่ียวกับเร่ืองปิโตรเลียม แลว้ มอบหมายให้นกั เรยี นแต่ ละคนเขียนผงั มโนทัศนส์ รปุ สาระสำคัญท้งั หมด ข้ันสรุป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ให้นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดใน แบบฝกึ หดั โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.4 เลม่ 2 2. ครตู รวจสอบผลการทำแบบฝกึ หัด 3. ครูประเมนิ การปฏบิ ัตกิ าร จากกจิ กรรม เร่อื ง หนิ ปิดกน้ั ปิโตรเลยี ม 4. ครปู ระเมนิ ผล โดยการสงั เกตการตอบคำถาม การรว่ มกนั ทำกิจกรรม 5. ครูวัดและประเมินการทำใบงานที่ 5.4 เรือ่ ง การใชป้ ระโยชน์จากผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลยี ม 7. การวดั และประเมินผล วิธกี าร เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมนิ - - - รายการวดั 7.1 การประเมินก่อนเรียน - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7.2 ประเมนิ ระหว่างการจัด กจิ กรรมการเรียนรู้ 1) ปโิ ตรเลียม - ตรวจใบงานท่ี 5.4 - ใบงานที่ 5.4 - แบบฝกึ หดั - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบประเมนิ ผังมโนทศั น์ - ตรวจผงั มโนทศั น์ 47

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม 2) การปฏบิ ตั ิการ - ประเมนิ การ - แบบประเมนิ - ระดับคุณภาพ 2 ปฏบิ ัตกิ าร การปฏิบัติการ ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2 ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2 4) พฤติกรรมการ การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ ทำงานกล่มุ - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมิน - ระดบั คุณภาพ 2 ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั คุณลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์ 5) คณุ ลักษณะ ในการทำงาน อนั พึงประสงค์ อนั พึงประสงค์ 8. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรียน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.4 เลม่ 2 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 5 ทรพั ยากรธรณี 2) ใบงานที่ 5.4 เรอื่ ง การใชป้ ระโยชน์จากผลิตภณั ฑ์ปโิ ตรเลียม 3) ใบความรู้ที่ 5.1 เรื่อง การเกดิ ปิโตรเลียมและการสำรวจปิโตรเลยี ม 4) ใบความรู้ท่ี 5.2 เรอื่ ง การแยกแก๊สธรรมชาติ 5) แบบฝึกหัด โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.4 เล่ม 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 ทรัพยากรธรณี 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องเรียน 2) หอ้ งสมดุ ใบความรู้ที่ 5.1 เรื่อง การเกดิ ปิโตรเลียม และการสำรวจปิโตรเลยี ม การเกดิ ปิโตรเลยี ม ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและสลายตัวของซากพืชซากสัตว์ที่คลุกเคล้าอยู่กับตะกอน ในช้ันกรวดทรายและโคลนตมใต้ผิวโลก ซงึ่ เมื่อเวลาผ่านไปนับล้านปีตะกอนน้ันจะจมตัวลงและ ถูกอัดด้วยความดันและความร้อนสูง ในสภาว4ะ8ที่มีปริมาณออกซิเจนจำกัด ตะกอนจึงสลายตัว กลายเป็นแก๊สธรรมชาติและนำ้ มนั ดบิ แทรกอยูร่ ะหวา่ งชนั้ หนิ ทีม่ รี ูพรนุ ปโิ ตรเลียมที่เกิดขึ้นในแหลง่ ตา่ งกนั จะมีปริมาณสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและปรมิ าณ

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม การสำรวจปิโตรเลยี ม การสำรวจหาแหล่งปิโตรเลยี มตอ้ งใช้เทคโนโลยีระดับสูงและต้นทนุ สูง ซ่ึงประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ดงั น้ี การสำรวจแหลง่ ปโิ ตรเลียม การสำรวจทางธรณวี ิทยา การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ การเจาะสำรวจ ท ำได้ โด ย ก ารท ำแ ผ น ที่ - ก า ร วั ด ค ว า ม เข้ ม ข อ ง จะทำให้ทราบถึงความยาก ภาพถา่ ยทางอากาศ และเก็บ สนามแม่เหล็กโลก จะบอก ง่ายของการขุดเจาะเพื่อนำ ตัวอย่างหิน ศึกษาลักษณะ ให้ทราบถึงขอบเขต ความ ปิโตรเลียมมาใช้ และบอกให้ ของหิน วิเคราะห์ซากพืช หนา ความกว้างของแอ่ง ท ร า บ ว่ า สิ่ ง ที่ กั ก เก็ บ อ ยู่ ใน ซากสัตว์ในหิน ผลการศึกษา และความลกึ ของชัน้ หิน แหล่งกักเก็บปิโตรเลียมเป็น จะช่วยให้คาดคะเนได้ว่ามี แก๊สธรรมชาติหรือน้ำมันดิบ โอกาสพบโครงสร้างและชนิด - การวัดความโน้มถ่วงของโลก แ ล ะ มี ป ริ ม าณ ม าก น้ อ ย ของหินที่เอ้ือต่อการกักเก็บ จะบอกให้ทราบถึงชนิดของ เพียงใด ช้ั น หิ น ใต้ ผิ ว โ ล ก ใน ร ะ ดั บ ต่ างๆ ซ่ึ งจ ะ ช่ วย ใน ก า ร กำหนดขอบเขตและรูปร่าง ของแอง่ ใตผ้ วิ ดนิ - การวัดค่าความไหวสะเทือน จ ะ บ อ ก ใ ห้ ท ร า บ ต ำ แ ห น่ ง 49

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม ใบความรู้ท่ี 5.2 เรอื่ ง การแยกแก๊สธรรมชาติ การแยกแก๊สธรรมชาติ แก๊สธรรมชาติที่ได้จากการขุดเจาะปิโตรเลียมประกอบด้วยส่วนที่เป็นของเหลว เรียกว่า แก๊ส ธรรมชาตเิ หลว (natural gas liquid) และส่วนทีเ่ ปน็ แก๊ส เรียกว่า แก๊สธรรมชาติ (natural gas) กระบวนการแยกแกส๊ ธรรมชาติ เร่มิ จากการแยกสารประกอบท่ไี ม่ใชส่ ารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนออกไปกอ่ น โดยผา่ นกระบวนการ ดงั นี้ 1. กำจดั สารปรอท เนอื่ งจากสารปรอททำให้ท่อแกส๊ ผุกร่อนได้ 2. กำจัดแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เน่ืองจาก แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์เปน็ แก๊สมีพิษ และมฤี ทธก์ิ ัดกร่อน สว่ นแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดอ์ าจ แข็งตัวแลว้ อดุ ตันท่อแก๊ส 3. กำจัดความชื้น เน่อื งจากความชืน้ หรือไอน้ำจะกลายเป็นน้ำแข็งอดุ ตนั ทอ่ แก๊ส ซึง่ การกำจัด ทำไดโ้ ดยกรองผ่านสารทม่ี รี ูพรนุ สูงและสามารถดูดซับน้ำออกจากแก๊สได้ เช่น ซิลกิ าเจล แก๊สธรรมชาติท่ีผ่านกระบวนการแยกสารประกอบท่ีไม่ใช่สารประกอบไฮโดรคาร์บอนออกไป แล้ว จะถูกสง่ ผ่านไปตามท่อสง่ แก๊สแลว้ ได้รบั การเพ่ิมความดันและลดอณุ หภมู ิ ซ่งึ แกส๊ จะเปลยี่ นสถานะไปเปน็ ของเหลว จากน้นั ถกู สง่ ไปยงั หอกลน่ั ลำดบั สว่ น 50

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม ใบงานท่ี 5.4 เรอ่ื ง การใชป้ ระโยชนจ์ ากผลติ ภณั ฑป์ ิโตรเลยี ม คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นสืบค้นขอ้ มูลการใช้ประโยชน์จากผลิตภณั ฑป์ โิ ตรเลยี ม แล้วเตมิ ขอ้ ความลงในแผนภาพ นำ้ มันดิบ การใชป้ ระโยชน์ จากผลติ ภณั ฑ์ปิโตรเลยี ม แกส๊ ธรรมชาติ 51

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม 52

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 ทรพั ยากรธรณี เฉลย แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม ใบงานที่ 5.4 เร่อื ง การใชป้ ระโยชน์จากผลิตภณั ฑ์ปิโตรเลียม คำชีแ้ จง : ให้นกั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มูลการใช้ประโยชนจ์ ากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลยี ม แลว้ เตมิ ขอ้ ความลงในแผนภาพ น้ำมนั ดิบ - แกส๊ ปโิ ตรเลียม : ทำสารเคมี วสั ดุสงั เคราะห์ เชอื้ เพลงิ แก๊สหงุ ตม้ - แนฟทาเบา : ทำสารเคมี ตวั ทำละลาย - แนฟทาหนัก : เช้อื เพลงิ ในเคร่อื งยนต์เบนซนิ - นำ้ มันกา๊ ด : เช้ือเพลงิ ในตะเกียงและเคร่ืองยนต์ไอพ่น - นำ้ มนั ดเี ซล : เชอ้ื เพลงิ ในเคร่ืองยนตด์ ีเซล - นำ้ มันหลอ่ ลน่ื : นำ้ มันหลอ่ ล่ืน น้ำมันเคร่อื ง การใช้ประโยชน์ จากผลิตภัณฑ์ปโิ ตรเลียม แก๊สธรรมชาติ - มีเทน : เชือ้ เพลงิ เพ่อื ผลิตกระแสไฟฟ้า - แก๊สธรรมชาติอดั (CNG) : เชื้อเพลงิ ในยานยนต์ - อเี ทนและโพรเพน : ใชใ้ นอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี - แกส๊ ปโิ ตรเลยี มเหลว (LPG) : เช้ือเพลิงในครวั เรียนและยานยนต์ - แกส๊ โซลนี (gasoline) : เชอ้ื เพลิงในเครื่องยนต์ดเี ซล - น้ำมันหล่อล่ืน (NGL) : นำไปทำน้ำมันเบนซิน และใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี 53

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 ทรพั ยากรธรณี ............................ แผนฯ ที่ 3 ปิ โตรเลยี ม ......................... ) 9. ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษาหรือผ้ทู ่ีได้รับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงชอ่ื ( ตำแหนง่ 10. บันทกึ ผลหลงั การสอน • ด้านความรู้ • ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน • ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ • ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ • ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หาของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล (ถ้าม)ี ) • ปญั หา/อปุ สรรค • แนวทางการแก้ไข 54


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook